สาขาวิชา | (n) field, Example: คณะมนุษยศาสตร์มีสาขาวิชาต่างๆ มากมายที่น่าสนใจศึกษา, Count Unit: สาขา, Thai Definition: วิชาที่แยกย่อยออกไปจากวิชาหลัก |
สาขาวิชา | (n) program |
มหาวิทยาลัย | (มะหาวิดทะยาไล) น. สถาบันอุดมศึกษาที่มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลายสาขาวิชา หรือหลายกลุ่มสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา ปริญญา และประกาศนียบัตรบัณฑิตแก่ผู้สำเร็จการศึกษา รวมทั้งดำเนินการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ. |
วัดผล | ก. ทดสอบเพื่อวัดเชาวน์ ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ บุคลิกภาพ เป็นต้น โดยใช้วิธีการแบบใดแบบหนึ่ง เช่น การเรียนรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ จำเป็นจะต้องวัดผลอย่างสม่ำเสมอ. |
สอบความถนัด | ก. ทดสอบดูว่ามีความถนัดหรือความสามารถในทางใดบ้าง, ทดสอบดูว่ามีความถนัดในสาขาวิชาที่ต้องการเข้าศึกษาหรือในงานที่จะต้องทำหรือไม่. |
discipline | ๑. วินัย๒. สาขาวิชา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Subject specialist | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
emeritus professor | ศาสตราจารย์กิตติคุณ, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ, ตำแหน่งที่แต่งตั้งจากอาจารย์ประจำ ผู้เคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความรู้ ความสามารถและความชำนาญเป็นพิเศษ และพ้นจากตำแหน่งไปโดยไม่มีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณในสาขาวิชาที่ศาสตราจารย์นั้นมีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นเกียรติยศได้ <p>ศาสตราจารย์ผู้นี้อาจสอนในมหาวิทยาลัยต่อไปก็ได้ แต่ไม่ใช่ศาสตราจารย์ที่ต่ออายุราชการ บางมหาวิทยาลัยจะปรากฏชื่อศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณแยก จากศาสตราจารย์ธรรมดาในคู่มือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา <p>การเรียกชื่อศาสตาราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณนั้นขึ้นอยู่กับ พระราชบัญญัติของแต่ละมหาวิทยาลัย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกว่า ศาสตราจารย์กิตติคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียกว่า ศาสตราจารย์เกียรติคุณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
mechanics | กลศาสตร์, วิชาฟิสิกส์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุซึ่งอยู่นิ่งหรือกำลังเคลื่อนที่ กลศาสตร์แบ่งเป็น 2 สาขาวิชา คือ พลศาสตร์ และ สถิตยศาสตร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
International Organization for Standardization, ISO | องค์กรระหว่างประเทศพื่อการมาตรฐาน, องค์กรที่มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานในสาขาวิชาต่าง ๆ เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
สาขาวิชา | [sākhāwichā] (n) EN: field ; discipline ; area FR: domaine [ m ] ; discipline [ f ] |
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
college | (n) วิทยาลัย, See also: โรงเรียนเฉพาะสาขาวิชา, Syn. institute, campus |
elective | (n) วิชาเลือก, See also: สาขาวิชาที่เปิดให้เลือก |
encyclopedia | (n) สารานุกรม, See also: หนังสือที่รวมความรู้หลายสาขาวิชา |
entomology | (n) สาขาวิชาหนึ่งทางสัตววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับแมลง, See also: กีฏวิทยา |
hygrometry | (n) สาขาวิชาที่เกี่ยวกับการวัดความชื้นของอากาศ |
interdisciplinary | (adj) ซึ่งรวมกันสองสาขาวิชาขึ้นไป, See also: แบบสหวิทยาการ |
liberal arts | (n) ศิลปศาสตร์, See also: การศึกษาที่เน้นทางพื้นฐานทางวัฒนธรรม เช่น สาขาวิชาวรรณคดี ปรัชญา ภาษา ประวัติศาสตร์ เป็ |
multidisciplinary | (adj) หลากหลายสาขาวิชา |
psychiatry | (n) จิตเวช, See also: สาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการรักษาผู้ที่มีปัญหาทางจิต, Syn. psychopathology, psychiatrics |
semantics | (n) สาขาวิชาหนึ่งทางภาษาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของความหมาย, See also: อรรถศาสตร์, Syn. semasiology, semiology |
subject | (n) สาขาวิชา, See also: วิชา, Syn. course of study |
supervisor | (n) หัวหน้าอาจารย์ในแต่ละวิชา, See also: หัวหน้าอาจารย์ในสาขาวิชา, Syn. provost, teacher |
ics | (suf) เกี่ยวกับสาขาวิชา |
area | (แอ'เรีย) n. พื้นที่, เนื้อที่, อาณาบริเวณ, เขต, สาขาวิชา, Syn. section, space, field, zone |
art 2 | (อาร์ทฺ) n. ศิลป, ฝีมือ, อุบาย, เล่ห์กระเท่ห์, เล่ห์เหลี่ยม, ความสามารถ, หลักการหรือวิธีการของการเรียนรู้, ความเชี่ยวชาญในกิจกรรมของมนุษย์, สาขาวิชาที่เกี่ยวกับศิลปศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, Syn. skill, craft, Ant. artlessness, guilelessness |
computer science | วิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์ |
concentration | (คอนเซินเทร'เชิน) n. ความเข้มข้น, ระดับความเข้มข้น, ความตั้งอกตั้งใจ, ภาวะที่เข้มข้น, สิ่งที่เข้มข้น, การรวมพล, ความใส่ใจในสาขาวิชาหนึ่ง, Syn. convergence, mass, Ant. scattering |
cosmology | (คอซมอล'ละจี) n. จักรวาลวิทยา, สาขาวิชาดาราศาสตร์ที่เกี่ยวกับโครงสร้างและการกำเนิดของจักรวาล, See also: cosmologic adj. ดูcosmology cosmological adj. ดูcosmology cosmologist n. ดูcosmology |
discipline | (ดิส'ซะพลิน) n. วินัย, ระเบียบวินัย, การฝึกฝน, การลงโทษ, สาขาวิชา, ศิลปปฎิบัติ, วินัยทางศาสนา vt. ฝึกฝน, ทำให้มีวินัย, ลงโทษ, แก้ไข., See also: discipliner n., Syn. order |
dynamics | (ไดแนม'มิคซฺ) n. สาขาวิชากลศาสตร์ที่เกี่ยวกับความเคลื่อนที่และความสมดุลของระบบการเคลื่อนที่, แรงผลักดัน, พลศาสตร์, ลักษณะหรือประวัติการเปลี่ยนแปลง, การเจริญเติบโตและการพัฒนา, การแปรผันและระดับสูงต่ำของเสียงดนตรี |
multidisciplinary | (มัลทิดิส'ซะพลินนะรี) adj. ซึ่งประกอบด้วยหลายสาขาวิชา |
philosophy | (ฟิลอส'ซะฟี) n. ปรัชญา, ระบบปรัชญา, หลักปรัชญา, ระบบหลักการ, สาขาวิชาทั้งหมด (ยกเว้นแพทยศาสตร์, วิชากฎหมาย และศาสนศาสตร์) , ธรรมะ, วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ, จริยศาสตร์, ความรักวิชาอย่างคลั่งไคล้ |
polytechnic | (พอลลีเทค'นิค) adj., n. (โรงเรียน) หลายสาขาวิชาที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี. |
study | (สทัด'ดี) n. การศึกษา, การเรียน, การค้นคว้า, การดูหนังสือ, การพิเคราะห์พิจารณา, การสืบสวนสอบสวน, การวิจัย, สิ่งที่ศึกษา, สิ่งที่ค้นคว้า, รายงานการค้นคว้า, สาขาวิชา, ความมานะบากบั่น, การทดลองวาดหรือประพันธ์, ห้องค้นคว้า, เพลงฝึกซ้อม, สิ่งที่ใช้ฝึกฝนการเรียน. vi. ศึกษา |
subject | (ซับ'จิคทฺ) n. เรื่อง, กรณี, ประเด็น, บัญหา, ข้อ, หัวข้อ, สาขาวิชา, สาเหตุ, มูลเหตุ, ประชากร, ข้า, ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน, ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา, ผู้รับการทดสอบ, (ไวยากรณ์) ประธานประโยค, (ปรัชญา) ตัวหลัก, ตัวของตัวเอง. adj. ภายใต้การควบคุม, เปิดเผย, อยู่ในสังกัด, อยู่ในความควบคุม, |
area | (n) พื้นที่, เขต, เนื้อที่, บริเวณ, สาขาวิชา |
oceanography | [โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org) |
polymath | [โพลีแม็ธ] (n) คือผู้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ในการใช้อย่างเป็นทางการเท่าใดนักจะหมายถึงผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญสูง นักวิทยาศาสตร์สมัยโบราณมักจะเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” โดยมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบัน ผู้รู้รอบด้านมีความหมายต่างจากคำว่าอัจฉริยบุคคล (ข้อมูลแปลจาก wikipedia.org) |
Studienfach | (n) |das, pl. Studienfächer| สาขาวิชาที่ศึกษา, คณะที่ศึกษา, Syn. der Studiengang |