สามัญชน | น. คนธรรมดาที่มิใช่เจ้า. |
ขรัวตา | น. สามัญชนที่เป็นตาของพระองค์เจ้าที่เป็นพระราชโอรสพระราชธิดา. |
ขรัวยาย | น. สามัญชนที่เป็นยายของพระองค์เจ้าที่เป็นพระราชโอรสพระราชธิดา. |
โดยเสด็จ | ติดตามพระมหากษัตริย์ ซึ่งผู้ติดตามเป็นพระบรมวงศานุวงศ์หรือสามัญชน, ใช้ว่า ตามเสด็จ ก็มี. |
ตามเสด็จ | ก. ติดตามพระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศ์ ซึ่งผู้ติดตามเป็นสามัญชน |
ตามเสด็จ | ติดตามพระมหากษัตริย์ ซึ่งผู้ติดตามเป็นพระบรมวงศานุวงศ์หรือสามัญชน, ใช้ว่า โดยเสด็จ ก็มี เช่น พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการตามเสด็จไปในกระบวนเสด็จพระราชดำเนินยังไทรโยค. |
นักสนม | น. ภรรยาที่เป็นสามัญชนของพระมหากษัตริย์ ซึ่งไม่ใช่เจ้าจอม เจ้าจอมมารดา หรือพระภรรยาเจ้า. |
บริจาริกา | (บอริ-) น. หญิงรับใช้, ประกอบกับคำ บาท เป็น บาทบริจาริกา หมายถึง ภรรยาที่เป็นสามัญชนของพระมหากษัตริย์ กรมพระราชวังบวร และเจ้าฟ้า, ที่ตัดใช้ว่า บริจา ก็มี เช่น บาทบริจา ทารบริจา อรรคบริจา, หรือตัดใช้ว่า บริจาริก ก็มี. |
บาทบริจาริกา | (บาดบอริ-) น. ภรรยาที่เป็นสามัญชนของพระมหากษัตริย์ กรมพระราชวังบวร และเจ้าฟ้า. |
ประชาชน, ประชาราษฎร์ | น. พลเมือง, สามัญชนทั่ว ๆ ไปที่ไม่ใช่ข้าราชการ พ่อค้า หรือนักบวช ในความว่า ข้าราชการ พ่อค้า และประชาชน. |
ปุถุชน | น. คนที่ยังมีกิเลสหนา, สามัญชน, ผู้ที่มิได้เป็นพระอริยบุคคล. |
ผ้าโยง | น. แถบผ้าที่โยงจากปากโกศหรือหีบศพของสามัญชน ใช้สำหรับคลี่ทอดไปยังพระสงฆ์เมื่อทอดผ้าบังสุกุล. |
พระองค์เจ้า | น. สกุลยศสำหรับพระราชโอรสหรือพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ซึ่งประสูติแต่เจ้าจอมมารดา, สกุลยศสำหรับพระโอรสหรือพระธิดาในสมเด็จเจ้าฟ้าที่พระมารดาเป็นพระองค์เจ้า, สกุลยศสำหรับพระโอรสหรือพระธิดาในพระองค์เจ้าที่ประสูติแต่พระมารดาซึ่งเป็นพระองค์เจ้า, อิสริยยศสำหรับหม่อมเจ้าหรือสามัญชนที่ได้รับสถาปนา. |
ภูษาโยง | น. แถบผ้าที่โยงจากปากโกศหรือหีบศพของหลวงสำหรับคลี่ทอดไปยังพระสงฆ์เมื่อทอดผ้าสดับปกรณ์, ใช้ว่า พระภูษาโยง แก่พระมหากษัตริย์จนถึงพระองค์เจ้า และใช้ว่า ภูษาโยง แก่หม่อมเจ้า รวมทั้งผู้ได้รับพระราชทานเกียรติยศตามเกณฑ์ที่ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ และผู้ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานเป็นกรณีพิเศษ ส่วนสามัญชนทั่วไปใช้ว่า ผ้าโยง. |
มหาฤกษ์ | (-เริก) น. ชื่อเพลงไทย มี ๒ ทาง คือ ทางไทย เป็นเพลงอัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ ปรากฏในเรื่องทำขวัญ และทางฝรั่ง, ใช้เป็นเพลงเกียรติยศของข้าราชการทุกชั้น ที่ต่ำกว่าชั้นพระบรมวงศ์ตลอดจนถึงสามัญชน เพื่อใช้ในเวลาอวยพรซึ่งกันและกันในงานพิธีมงคลฤกษ์ต่าง ๆ. |
โลกียวัตร | น. ความเป็นไปของสามัญชน. |
สามแหยม | น. เรียกปอยผมที่แบ่งออกเป็น ๓ ส่วนเพื่อเตรียมโกนจุก (ใช้แก่พระองค์เจ้าลงมาถึงสามัญชน). |
หญ้าแพรก | สามัญชน ในความว่า ช้างสารชนกัน หญ้าแพรกก็แหลกลาญ. |
หม่อม | ภรรยาที่เป็นสามัญชนของกรมพระราชวังบวรสถานมงคล เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หรือหม่อมเจ้า, หม่อมห้าม ก็เรียก |
หม่อมเจ้า | น. สกุลยศของพระโอรสหรือพระธิดาในสมเด็จเจ้าฟ้า ซึ่งประสูติแต่มารดาที่เป็นหม่อมเจ้าหรือสามัญชน, สกุลยศของพระโอรสหรือธิดาในพระองค์เจ้า. |
อดิเรก, อดิเรก- | (อะดิเหฺรก, -เหฺรกกะ-) น. ชื่อพรพิเศษที่พระสงฆ์ชั้นพระราชาคณะถวายพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์หรือสามัญชนที่ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ในคำว่า ถวายอดิเรก. |
อาตมภาพ, อาตมา ๑ | (-พาบ, อาดตะมา) ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด สำหรับพระภิกษุสามเณรพูดกับคฤหัสถ์ ทั้งที่เป็นเจ้านายหรือสามัญชน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. |
อิสริยยศ | (อิดสะริยะยด) น. ยศที่พระมหากษัตริย์ทรงสถาปนาเจ้านายให้สูงขึ้น เนื่องจากได้ปฏิบัติราชการแผ่นดิน มีความดีความชอบ เช่น สถาปนาพระองค์เจ้าขึ้นเป็นเจ้าฟ้า สถาปนาหม่อมเจ้าขึ้นเป็นพระองค์เจ้า, ยศอันยิ่งใหญ่ที่สามัญชนได้รับสถาปนาขึ้นเป็นเจ้า. |
อี ๑ | น. คำประกอบคำอื่นบอกให้รู้ว่าเป็นเพศหญิงหรือสัตว์ตัวเมีย เช่น อีสาว อีเหมียว, คำประกอบหน้าชื่อผู้หญิงที่มีฐานะตํ่ากว่า, คำใช้ประกอบหน้าชื่อผู้หญิงแสดงความดูหมิ่นเหยียดหยาม, คำประกอบคำบางคำที่ผู้ใหญ่ใช้เรียกเด็กผู้หญิงหรือผู้หญิงที่อายุน้อยกว่ามากด้วยความเอ็นดูหรือสนิทสนมเป็นกันเอง เช่น อีหนู, คำประกอบหน้าคำบางคำเพื่อเน้น เช่น อีทีนี้จะเอาอะไรกินกันล่ะ อีตอนนั้นไม่สบายเลยไม่ได้ไป, คำประกอบหน้าคำบางคำเพื่อเน้นในเชิงบริภาษ เช่น อีบ้า อีงั่ง อีควาย, คำใช้แทนสิ่งที่กล่าวถึงและเป็นที่เข้าใจกัน เช่น เอาอีนี่ออกไปซิ, (โบ) คำนำหน้าชื่อผู้หญิงสามัญชนทั่วไป เช่น อีอยู่อีคงทาษภรรยาพระเสนานน (สามดวง), ถ้าใช้ในทางเสียหายโดยเฉพาะทางด้านชู้สาว มักใช้ว่า อี่ เช่น หย่างไอ้ดีบวดอยู่วัดโพเสพเมถุนธรรมด้วยอี่ทองมาก อี่เพียน อี่พิ่ม อี่บุนรอด อี่หนู อี่เขียว (สามดวง). |
clamjamfry | (แคลมแจม'ฟรี) n. ฝูงชน, สามัญชน, การพูดที่ไม่จริงใจ |
common man | n. สามัญชน, คนสามัญ |
commonalty | (คอม'มะแนลที) n. สามัญชน, คนสามัญ, ประชาชน, หมู่คณะ, Syn. commonality |
commoner | (คอม'มะเนอะ) n. สามัญชน, สมาชิกสภาล่าง, นักศึกษา (โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัยอ๊อคฟอร์ด) ที่ไม่ได้รับทุนช่วยเหลือการศึกษา, ผู้มีกรรมสิทธิ์ร่วม |
demos | (ดี'มอส) n. ประชาชน, สามัญชน, พลเมือง |
estate | (อีสเทท') n. หลักทรัพย์ที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่ติดดินผืนใหญ่, ที่ดิน, ทรัพย์สิน, ฐานันดร, กลุ่มการเมือง, กลุ่มสังคม, -Phr. (the fourth estate ฐานันดรที่4 (นักหนังสือพิมพ์)) -Phr. (the Three Estates ฐานันดรทั้ง 3 ในยุคศักดินายุโรปได้แก่พระ ขุนนางและสามัญชน) |
everyman | n. คนธรรมดา, สามัญชน |
folk | (โฟล์ค) n. ประชาชน, ชาวบ้าน, คนทั่วไป, ญาติสมาชิกของครอบครัว, พ่อแม่. adj. เกี่ยวกับชาวบ้าน หรือสามัญชน. ซึ่งกำเนิดในหมู่สามัญชน., See also: folkish adj. folkishness n., Syn. persons, people |
grass roots | สามัญชน, ตำแหน่งธรรมดา |
herd | (เฮิร์ด) n. ฝูงสัตว์, ฝูงคน, กลุ่มคน, คนเลี้ยงสัตว์. -Phr. (The herb สามัญชน) vi.รวมเป็นกลุ่ม vt. เลี้ยงสัตว์, นำเป็นกลุ่มไป |
hoi polloi | (ฮอย'พะลอย) n. สามัญชน, ประชาชน, Syn. populace |
plebeian | (พลีบี'เอิน) n., adj. สามัญชน., See also: plebeianism n. |
plebs | (เพลบซ) n.สามัญชน, ประชาชนทั่วไป pl. plebes, Syn. common people |
rabble | (แรบ'เบิล) n. ฝูงชนที่วุ่นวายไร้ระเบียบ, ฝูงสัตว์, ฝูงแมลง, สิ่งของที่เป็นกองเรี่ยราด. vt. รวมเป็นฝูงชน -Phr. (the rabble สามัญชน ชนชั้นต่ำ ประชาชนทั่วไป), Syn. mob |