สาหัส | (adj) severe, See also: grievous, serious, Syn. ร้ายแรง, รุนแรง, วิกฤต |
สาหัส | (adj) moribund, See also: almost dead, critical, Syn. ร้ายแรง, ยิ่งนัก, Example: แม้จะตกจากยอดมะพร้าวลงมามีอาการสาหัสก็ตาม ค่าของคนคนนี้คือความทนและมีกรรม, Thai Definition: รุนแรงเกินสมควร, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
สาหัส | (adv) seriously, See also: fatally, bitterly, Syn. ร้ายแรง, ยิ่งนัก, Example: เขาถูกยิงจนบาดเจ็บสาหัส, Thai Definition: รุนแรงเกินสมควร |
อาการสาหัส | (n) coma, Syn. โคม่า |
อาการสาหัส | (v) be in a coma, Syn. โคม่า, Example: แม้จะตกจากยอดมะพร้าวลงมาอาการสาหัส แต่เขาก็ไม่ตาย |
บาดเจ็บสาหัส | (v) seriously injured, Example: นายตำรวจสองคนยิงเจ้าพ่อคนใหม่ได้รับบาดเจ็บสาหัส, Thai Definition: มีบาดแผลทำให้เจ็บปวดอย่างรุนแรง |
สาหัสสากรรจ์ | (adv) seriously, See also: very severe, grievous, severely, Syn. ร้ายแรง, รุนแรง, หนักหนา, สาหัส, Example: เกษตรกรในภาคอีสานต้องประสบกับปัญหาเรื่องน้ำอย่างสาหัสสากรรจ์ในฤดูแล้ง, Thai Definition: อย่างร้ายแรงมาก, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
สาหัสสากรรจ์ | (adv) seriously, See also: very severe, grievous, severely, Syn. ร้ายแรง, รุนแรง, หนักหนา, สาหัส, Example: เกษตรกรในภาคอีสานต้องประสบกับปัญหาเรื่องน้ำอย่างสาหัสสากรรจ์ในฤดูแล้ง, Thai Definition: อย่างร้ายแรงมาก, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
สาหัส | (-หัด) ว. ร้ายแรง เช่น บาดเจ็บสาหัส, รุนแรงเกินควร เช่น ถูกลงโทษอย่างสาหัส. |
สาหัสสากรรจ์ | ว. แสนสาหัส, ร้ายแรงมาก, คอขาดบาดตาย, เช่น ได้รับทุกข์ทรมานอย่างสาหัสสากรรจ์, โดยปริยายหมายความว่า ลำบากยิ่ง เช่น ทางนี้ทุรกันดารสาหัสสากรรจ์ บุกป่าฝ่าดงอย่างสาหัสสากรรจ์. |
กระดูกแทบออกนอกเนื้อ | ว. เหนื่อยยากแสนสาหัส เช่น กว่าจะทำสำเร็จกระดูกแทบออกนอกเนื้อ. |
กลหาย | (กะละ-) ก. กระหาย เช่น อันว่าทวยท่ววทงงหลายหื่นกลหายสาหัส (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). |
กลืนเลือด | ก. กล้ำกลืนความเจ็บแค้นอย่างแสนสาหัส เช่น แม้จะแค้นหัวหน้าพวกเขาก็ยอมกลืนเลือด เพราะยังต้องพึ่งพาหัวหน้าคนนี้อยู่. |
ตกนรกทั้งเป็น | ก. ได้รับความลำบากแสนสาหัสเช่นคนที่ได้รับโทษทัณฑ์ในเรือนจำ. |
เลือดตากระเด็น | ว. ลำบากหรือยากแค้นอย่างแสนสาหัส เช่น กว่าจะหาเงินมาซื้อบ้านได้แทบเลือดตากระเด็นทีเดียว. |
เหตุในลักษณะคดี | น. ข้อเท็จจริงอันเป็นเหตุที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด ซึ่งมิใช่เหตุส่วนตัวเฉพาะผู้กระทำความผิดคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นเหตุที่เป็นคุณหรือเป็นโทษแก่ผู้กระทำความผิดนั้นด้วยกันทุกคน เช่น ข้อเท็จจริงที่ว่าลักษณะบาดแผลที่ถูกทำร้ายเป็นอันตรายแก่กายถึงสาหัสหรือไม่สาหัส. |
เหตุบรรเทาโทษ | น. เหตุต่าง ๆ ที่กฎหมายกำหนดให้ศาลมีอำนาจลดโทษให้แก่ผู้กระทำความผิด เช่น ความโฉดเขลาเบาปัญญา การตกอยู่ในความทุกข์อย่างสาหัส มีคุณความดีมาแต่ก่อน ให้ความรู้แก่ศาลอันเป็นประโยชน์แก่การพิจารณา. |
อกไหม้ไส้ขม | ก. เป็นทุกข์อย่างแสนสาหัส. |
อาวุธ | สิ่งซึ่งโดยสภาพได้จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประทุษร้ายร่างกายของบุคคล และรวมถึงสิ่งซึ่งไม่เป็นอาวุธโดยสภาพแต่ซึ่งได้ใช้หรือเจตนาจะใช้ประทุษร้ายร่างกายถึงอันตรายสาหัสอย่างอาวุธ. |
aggravated assault | การทำร้ายร่างกายจนได้รับอันตรายสาหัส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
malicious wounding | การทำให้บาดเจ็บสาหัส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
common assault | การทำร้ายร่างกายไม่สาหัส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
grievous bodily harm | บาดเจ็บสาหัส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
wounding, malicious | การทำให้บาดเจ็บสาหัส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Genocide | การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Multiple Injuries | อันตรายต่อหลายระบบ, การบาดเจ็บหลายแห่ง, การบาดเจ็บสาหัส, บาดเจ็บหลายๆแห่ง, บาดเจ็บหลายระบบ [การแพทย์] |
บาดเจ็บสาหัส | [bātjep sāhat] (adj) EN: seriously injured FR: sérieusement blessé ; gravement blessé |
สาหัส | [sāhat] (adj) EN: severe ; grievous ; serious FR: grave ; sérieux ; sévère |
สาหัส | [sāhat] (adv) EN: severely ; seriously FR: gravement ; sérieusement |
acute | (adj) รุนแรง, See also: หนัก, ร้ายแรง, อย่างแรง, สาหัส, Syn. severe, serious |
agony | (n) ความทรมาน, See also: ความทุกข์, ความเจ็บปวดแสนสาหัส, ความกลัดกลุ้ม, Syn. suffering, torture, distress |
maim | (vt) ทำให้บาดเจ็บสาหัส, Syn. cripple, lame, disable |
rack with | (phrv) ทำให้ทุกข์แสนสาหัสจาก |
serious | (adj) สาหัส, See also: หนัก, อันตราย, ร้ายแรง, Syn. severe, pressing |
seriously | (adv) อย่างร้ายแรง, See also: อย่างสาหัส, Syn. dangerously, perilously, threateningly, Ant. safely, solemnly |
violent | (adj) รุนแรง, See also: ี่ร้ายแรง, สาหัส, Syn. brutal, saveage, Ant. peaceful, non-violent |
bitter | (บิท'เทอะ) { bittered, bittering, bitters } adj. ขม, ขมขื่น, เผ็ดร้อน, ปวดแสบ, รุนแรง, ดุเดือด, จัด, หนาวจัด, สาหัส, อาฆาต n. ความขม, สิ่งที่รสขม vt. ทำให้ขม adj. ยิ่ง, จัด, มาก, รุนแรง, See also: bitterish adj. ดูbitter -bitterness n. ดูbitter คำที่มีความหมาย |
martyrdom | (มาร์'เทอะดัม) n. ความทุกข์ทรมานความตาย หรือสภาวะของmartyr (ดู) , ความทุกข์ทรมานอย่างแสนสาหัส |
ordeal | (ออร์เดียล') n. การทดสอบอย่างทรหดที่สุด, ประสบการณ์ที่แสนสาหัส, Syn. test |
poignant | (พอย'เยินทฺ, พอย'เนินทฺ) adj. เจ็บปวด, เจ็บแสบ, สาหัส, ฉุน, เผ็ดร้อน, คมกริบ, แหลม, รุนแรง, สะเทือนอารมณ์., See also: poignancy n., Syn. intense |
serious | (เซีย'เรียส) adj. เคร่งขรึม, ขรึม, จริงจัง, เอาจริงเอาจัง, ไม่เหลาะแหละ, ไม่ล้อเล่น, ขึงขัง, สำคัญ, สาหัส, ร้ายแรง, See also: seriousness n., Syn. grave, solemn, earnest, important, severe |
severe | (ซีเวียร์') adj. รุนแรง, เข้มงวด, กวดขัน, เคร่ง, เคร่งขรึม, เคร่งครัด, เอาจริงเอาจัง, เหน็บแนม, เสียดสี, หนาวจัด, ร้ายแรง, สาหัส, ดุเดือด, ยากลำบาก, แม่นยำ., See also: severely adv. severeness n., Syn. cruel, harsh |
slashing | (สแลช'ชิง) n. = slash (ดู) . adj. เฉียบแหลม, เจ็บแสบ, รุนแรง, ร้ายแรง, สาหัส, ดุเดือด, มากมาย, ใหญ่ยิ่ง., See also: slashingly adv. |
acid | (adj) เปรี้ยว, ฉุนเฉียว, สาหัส, รุนแรง |
acute | (adj) เก่ง, เฉียบแหลม, มีไหวพริบ, สาหัส, รุนแรง, ฉับพลัน |
grievous | (adj) เศร้าโศก, ทุกข์, สาหัส, มหันต์, ร้ายแรง, หนัก |
grievously | (adv) อย่างเศร้าโศก, อย่างสาหัส, อย่างมหันต์, อย่างร้ายแรง, อย่างหนัก |
poignancy | (n) ความแหลม, ความเจ็บปวด, ความสาหัส, ความรุนแรง |
poignant | (adj) แหลม, เจ็บปวด, สาหัส, รุนแรง, เผ็ดร้อน, ฉุน |
serious | (adj) สำคัญ, จริงจัง, เคร่งเครียด, เอาจริงเอาจัง, สาหัส, ร้ายแรง |
seriousness | (n) ความเครียด, ความเคร่งเครียด, ความร้ายแรง, ความสาหัส, ความสำคัญ |
severe | (adj) รุนแรง, สาหัส, เคร่งครัด, กวดขัน, เอาจริงเอาจัง, เข้มงวด |
avalon | (n) เกาะที่เชื่อว่าเป็นเกาะสวรรค์ทางตะวันตกที่กษัตริย์อาเธอร์ได้ทรงไปประทับอยู่ภายหลังจากการบาดเจ็บสาหัสจากการสู้รบและทรงสวรรคตที่นั่น บางครั้งใช้แสดงความหมายแฝงหมายความว่า เป็นที่พักพิงใจและกายเมื่อมีความทุกข์ระทม island paradise in Celtic mythology: in Celtic mythology, an island paradise in the west. King Arthur is said to have been taken to Avalon after being apparently mortally wounded. (Encarta Wold English Dictionary), Syn. แดนสุขาวดี |