หุ้นส่วน | (n) partner, See also: shareholder, partnership, Example: กิจการต้องล่มเพราะเกิดความขัดแย้งระหว่างหุ้นส่วน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เป็นหุ้นส่วน, บุคคลที่ลงทุนร่วมกัน |
หุ้นส่วน | (n) share, See also: part, hand, partnership, Example: ผมยังมีหุ้นส่วนใหญ่อยู่ในสหกรณ์ออมทรัพย์, Count Unit: คน, Thai Definition: ทุนที่ร่วมกันเพื่อทำประโยชน์ทางธุรกิจต่างๆ |
ห้างหุ้นส่วน | (n) partnership, Example: เขากับเพื่อนๆ รวมกลุ่มกันเพื่อจัดตั้งห้างหุ้นส่วนขึ้นมา, Thai Definition: ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อกระทำกิจการร่วมกัน ด้วยประสงค์จะแบ่งปันกำไรอันจะพึงได้แต่กิจการที่ทำนั้น, Notes: (กฎหมาย) |
ห้างหุ้นส่วนจำกัด | (n) limited partnership, Example: เขาได้จดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจำกัดไว้แห่งหนึ่ง, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ห้างหุ้นส่วนที่มีผู้เป็นหุ้นส่วน 2 จำพวก คือ ผู้เป็นหุ้นส่วนคนเดียวหรือหลายคนซึ่งจำกัดความรับผิดเพียงไม่เกินจำนวนเงินที่ตนรับจะลงหุ้นและผู้เป็นหุ้นส่วนคนเดียวหรือหลายคนซึ่งต้องรับผิดร่วมกันในบรรดาหนี้ของห้างหุ้นส่วนโดยไม่มีจำกัดจำนวน, Notes: (กฎหมาย) |
ห้างหุ้นส่วน | น. กิจการที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปเข้ากระทำกิจการร่วมกัน ด้วยประสงค์จะแบ่งปันกำไรอันจะพึงได้แก่กิจการที่ทำ. |
ห้างหุ้นส่วนจำกัด | น. ห้างหุ้นส่วนประเภทหนึ่ง ซึ่งมีผู้เป็นหุ้นส่วน ๒ จำพวก คือ (๑) ผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งจำกัดความรับผิดเพียงไม่เกินจำนวนเงินที่ตนรับจะลงหุ้นในห้างหุ้นส่วนนั้น และ (๒) ผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งต้องรับผิดในบรรดาหนี้ของห้างหุ้นส่วนโดยไม่มีจำกัดจำนวน. |
ห้างหุ้นส่วนสามัญ | น. ห้างหุ้นส่วนประเภทหนึ่ง ซึ่งผู้เป็นหุ้นส่วนหมดทุกคนต้องรับผิดร่วมกันเพื่อหนี้ทั้งปวงของหุ้นส่วนโดยไม่มีจำกัด. |
หุ้นส่วน | น. ทุนที่เข้ากันเพื่อทำการต่าง ๆ เช่น ค้าขายเป็นต้น |
หุ้นส่วน | ผู้เป็นหุ้นส่วน. |
กงสี | น. ของกองกลางที่ใช้รวมกันสำหรับคนหมู่หนึ่ง ๆ, หุ้นส่วน, บริษัท. |
กฎหมายพาณิชย์ | น. กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันทางการค้าหรือธุรกิจระหว่างบุคคล เช่น กฎหมายว่าด้วยการซื้อขาย การเช่าทรัพย์ การจำนอง การจำนำ ตั๋วเงิน หุ้นส่วน บริษัท. |
จดทะเบียน | ก. ลงบันทึกข้อความไว้กับทางราชการเพื่อให้การใดเกิดผล บังคับกันได้ ได้รับการคุ้มครอง หรือเป็นหลักฐานตามที่กฎหมายกำหนด เช่น จดทะเบียนรถยนต์ จดทะเบียนสมรส จดทะเบียนหุ้นส่วนและบริษัท จดทะเบียนเครื่องจักร. |
ทุนทรัพย์ | ทุนที่ผู้เป็นหุ้นส่วนได้ลงไว้ในห้างหุ้นส่วนสามัญ. |
บรรษัท | การรวมกันเข้าหุ้นส่วนทำการค้าขาย |
รัฐวิสาหกิจ | (รัดถะวิสาหะกิด, รัดวิสาหะกิด) น. กิจการที่รัฐเป็นผู้ลงทุนหรือถือหุ้นข้างมาก, (กฎ) องค์การของรัฐบาลหรือหน่วยงานธุรกิจซึ่งรัฐเป็นเจ้าของ หรือกิจการของรัฐ หรือบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ส่วนราชการ องค์การของรัฐบาลหรือหน่วยงานธุรกิจของรัฐมีทุนรวมอยู่ด้วยเกินกว่าร้อยละ ๕๐. |
ราชกิจจานุเบกษา | น. สิ่งพิมพ์ของทางราชการที่จัดให้มีขึ้นเป็นการเฉพาะ เพื่อเป็นที่ประกาศข้อมูลข่าวสารของทางราชการที่ประสงค์จะให้ประชาชนได้ทราบ เช่น กฎหมาย ประกาศคนล้มละลาย การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบริษัท. |
Japan-Thailand Economic Parnership Agreement (2005) | ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น (ค.ศ.2005) [TU Subject Heading] |
Limited partnership | ห้างหุ้นส่วนจำกัด [TU Subject Heading] |
Partnership | หุ้นส่วน [TU Subject Heading] |
Asia Cooperation Dialogue | ความร่วมมือเอเชีย เวทีความร่วมมือในระดับทวีปเอเชีย โดยเป็นความคิดริเริ่มของไทยในการสร้างกรอบความร่วมมือที่ครอบคลุมทุกอนุ ภูมิภาคของเอเชีย มีวัตถุประสงค์ที่จะเชื่อมโยงจุดแข็งและต่อยอดความร่วมมือต่าง ๆ ของประเทศเอเชีย โดยอาศัยความแตกต่างหลากหลายและทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ซึ่งเอเชียมีอยู่มา ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมุ่งสร้างความร่วมมือในวงกว้างทั้งทวีปเอเชีย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ซึ่งจะทำให้ภูมิภาคเอเชียแข็งแกร่งและเป็นหุ้นส่วนที่เข้มแข็งสำหรับภูมิภาค อื่น ๆ เอซีดีได้มีการประชุมครั้งแรกเมื่อ 18-19 มิถุนายน 2545 โดยมีผู้แทนระดับรัฐมนตรีจาก 18 ประเทศเข้าร่วม ที่ประชุมได้แบ่งกรอบความร่วมมือเป็น 2 มิติ ได้แก่ มิติการหารือ (dialogue dimension) และมิติโครงการความร่วมมือ (project dimension) เช่น การท่องเที่ยว ความมั่นคงทางพลังงาน และการพัฒนาตลาดพันธบัตรเอเชีย (Asian Bond Market) [การทูต] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] |
ASEAN Industrial Cooperation Scheme | โครงการความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมอาเซียน เป็นมาตรการเพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนวัตถุดิบการผลิตในรูปสินค้าสำเร็จ รูป/กึ่งสำเร็จรูป เพื่อใช้ในการผลิตทางอุตสาหกรรมระหว่างบริษัทที่ตั้งอยู่ในประเทศอาเซียน อันจะเป็นการสนับสนุนการแบ่งกันผลิตและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของภาค อุตสาหกรรมในอาเซียน โดยจะต้องเป็นความร่วมมือตั้งแต่สองประเทศขึ้นไป และมีคนชาติประเทศสมาชิกอาเซียนมีหุ้นส่วนอยู่ในแต่ละบริษัทอย่างน้อยร้อยละ 30 สินค้าที่ได้รับอนุมัติให้อยู่ในโครงการจะได้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรใน อัตราร้อยละ 0-5 ในทันที โดยไม่ต้องรอให้เขตการค้าเสรีอาเซียนมีผลบังคับใช้ [การทูต] |
ASEAN Vision 2020 | วิสัยทัศน์อาเซียน พ.ศ. 2563 เป็นเอกสารซึ่งที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2540 ได้ให้ความเห็นชอบ เพื่อแสดงถึงความมุ่งมั่นและพันธกรณีของอาเซียนที่จะนำประชาชนในภูมิภาคนี้ ไปสู่ (1) การเป็นภูมิภาคที่มีสันติภาพและเสถียรภาพ (2) ความเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งด้วยการรวมตัวทางเศรษฐกิจ อย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น (3) การเป็นสังคมที่เปิดกว้าง มีความเป็นปึกแผ่นและเอื้ออาทรต่อกัน และ (4) การกระชับความสัมพันธ์กับคู่เจรจาและโลกภายนอก บนพื้นฐานของความเป็นหุ้นส่วนที่เท่าเทียมกันและมีความเคารพซึ่งกันและกัน [การทูต] |
Joint Strategy for Economic Partnership | ยุทธศาสตร์ร่วมเพื่อความเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ ไทย-เวียดนาม เป็นแผนแม่บทเพื่อกำกับการดำเนินความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจไทย-เวียดนาม ในทุกมิติ ครอบคลุมด้านการค้า การลงทุน การผลิต การเงิน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ [การทูต] |
The New Partnership for Africa?s Development | หุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน [การทูต] |
Organisation for Security and Cooperation in Europe | องค์การเพื่อความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป เป็นองค์กรที่ให้ความสำคัญกับการเสริมสร้างความมั่นคงในลักษณะรอบด้าน กล่าวคือ ด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม โดยดำเนินนโยบายป้องกันทางการทูต (preventive diplomacy) มีประเทศสมาชิกจำนวน 55 ประเทศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2517 ไทยได้สมัครเข้าเป็นหุ้นส่วนทางความร่วมมือของ OSCE ในปี พ.ศ. 2543 [การทูต] |
partnership | ความเป็นหุ้นส่วน [การทูต] |
strategic partnership | หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เป็นลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศที่มีความใกล้ชิดสนิทสนมอย่างยิ่ง อยู่บนพื้นฐานของความเสมอภาค มีนโยบายและแนวคิดทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการทหารไปในแนวทางเดียวกัน [การทูต] |
Limited partnership | ห้างหุ้นส่วนจำกัด [การบัญชี] |
Owners’equity | ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนของเจ้าของ [การบัญชี] |
Partner | หุ้นส่วน [การบัญชี] |
Partnership | ห้างหุ้นส่วน [การบัญชี] |
ห้างหุ้นส่วน | [hānghunsuan] (n) EN: partnership |
ห้างหุ้นส่วนจำกัด (ห.จ.ก.) | [hānghunsuan jamkat] (n, exp) EN: limited partnership |
ห้างหุ้นส่วนสามัญ | [hānghunsuan sāman] (n, exp) EN: ordinary partnership |
หุ้นส่วน | [hunsuan] (n) EN: partner ; business partner ; associate ; partnership FR: partenaire [ m ] |
หุ้นส่วนจำกัด (ห.จ.ก.) | [hunsuan jamkat] (n, exp) EN: limited partnership |
หุ้นส่วนรอง | [hunsuan røng] (n, exp) EN: junior partner |
หุ้นส่วนสามัญ | [hunsuan sāman] (n, exp) EN: ordinary partnership |
หุ้นส่วนธุรกิจ | [hunsuan thurakit] (n, exp) EN: business partner |
หุ้นส่วนใหญ่ | [hunsuan yai] (n, exp) EN: senior partner |
การเลิกห้างหุ้นส่วน | [kān loēk hānghunsuan] (n, exp) EN: dissolution of partnership |
เข้าหุ้นส่วน | [khao hunsuan] (v, exp) EN: enter into a partnership |
ผู้เป็นหุ้นส่วน | [phūpenhunsuan] (n) EN: partner ; associate FR: partenaire [ m, f ] ; associé [ m ] |
ผู้เป็นหุ้นส่วนร่วม | [phūpenhunsuan ruam] (n, exp) EN: copartner |
associate | (n) ผู้ที่มีความสัมพันธ์กัน (เช่น เพื่อน, ผู้ร่วมงาน, หุ้นส่วน) |
consortium | (n) ความเป็นหุ้นส่วนกัน, Syn. partnership |
copartner | (n) หุ้นส่วน (มักมีหุ้นเท่าๆ กัน), Syn. partner, associate |
firm | (n) บริษัท, See also: ห้างหุ้นส่วน, ธุรกิจ, Syn. company, enterprise, partnership |
industrial | (n) การมีหุ้นส่วนร่วมกันของบริษัทอุตสาหกรรมหลายบริษัท |
ordinary share | (n) หุ้นส่วนที่มีสิทธิ์ออกเสียงในบริษัท |
partner | (n) หุ้นส่วน, See also: ผู้ร่วมมือ, ผู้ร่วมกระทำ, Syn. accessory, accomplice, colleague, cooperator |
partner | (vt) เป็นหุ้นส่วน (เช่นในเกมหรือการเต้นรำ), See also: เป็นคู่หรือจับคู่ |
partnership | (n) ห้างหุ้นส่วน, See also: ห้างหุ้นส่วนจำกัด, Syn. business, company |
share | (n) ส่วน, See also: ส่วนแบ่ง, ส่วนร่วม, หุ้นส่วน, Syn. allotment, quota, portion |
stock company | (n) บริษัทหุ้นส่วน |
stockholder | (n) ผู้ถือหุ้น, See also: หุ้นส่วน, Syn. shareholder |
cahoots | (คะฮูทซ') n. หุ้นส่วน, การร่วม |
consortium | (คันซอร์'เชียม) n. กลุ่มสถาบันการเงิน, สมาคมนายธนาคาร, สมาคม, ห้างหุ้นส่วน, สหภาพหรืออื่น ๆ, See also: consortial adj. ดูconsortium -pl. consortia -Conf. consortia |
firm | (เฟิร์ม) adj. แน่น, ไม่นิ่ม, แน่นหนา, แข็งแรง, มั่นคง, เหนียวแน่น, หนักแน่น, เด็ดขาด, แน่นอน, แน่วแน่ n. บริษัท, ห้าง, ห้างหุ้นส่วน, ห้างร้าน, ร้านค้า, กงสี, ธุรกิจ adv. อย่างแน่น, อย่างมั่นคง. -firmly adv., See also: firmness n. |
partner | (พาร์ท'เนอะ) n. หุ้นส่วน, See also: partnership n. |
share | (แชร์) n. ส่วน, ส่วนหนึ่ง, ส่วนแบ่ง, ส่วนร่วมมือ, ส่วนที่รับผิดชอบ, หุ้นส่วน vt. แบ่งส่วน, แบ่งสรร, แบ่งเฉลี่ย, แบ่ง, แบ่งกำไร. vi. มีส่วน, ร่วมส่วน, ร่วมหุ้น, ร่วมกันทำ, ร่วมกันรับ, ร่วมกันรับผิดชอบ, See also: sharable adj. shareable adj. sharer n. |
snack | (สแนค) n., vi. (รับประทาน) อาหารเบา ๆ , อาหารว่าง, อาหารที่รับประทานได้อย่างรวดเร็วโดยไม่มีพิ-ธีรีตอง, หุ้น, หุ้นส่วน, Syn. refreshment |
stock | (สทอคฺ) n. คลังสินค้า, พัสดุ, สินค้าในร้าน, สต๊อค, ของสะสม, จำนวนที่สะสมไว้, ก้าน, ด้าม, โคนต้น, ลำต้น, ตอไม้, เขียงไม้, ฐาน, ก้านสมอเรือ, ปศุสัตว์, บริษัทหุ้นส่วน, หลักทรัพย์ของบริษัท, พันธบัตร, ไม้ค้ำเรือ, แท่นต่อเรือ, ไม้หมอนใต้ท้องเรือ, พืชพันธ์, เชื้อสาย adj. มีอยู่ในร้าน |
stock company | n. บริษัทหุ้นส่วน, คณะละครประจำโรง |
stock dividend n. | เงินปันผลสำหรับหุ้นส่วน |
stockholder | n. หุ้นส่วน, เจ้าของปศุสัตว์, เจ้าของฟาร์มปศุสัตว์ |
whack | (แวค) vt. vi. ตีเสียงดัง, หวดเสียงดัง n. การตีเสียงดัง, การหวดเสียงดัง, การทดลอง, การพยายาม, ส่วน, หุ้นส่วน -Phr. (out of whack ในสภาพที่เลว เสีย ให้การไม่ได้), See also: whacker n. |
consortium | (n) สมาคม, สหภาพ, ห้างหุ้นส่วน, สมาคมนายธนาคาร |
corner | (n) มุม, หัวมุม, หัวโค้ง, หัวถนน, หัวเลี้ยวหัวต่อ, หุ้นส่วน |
firm | (n) ห้างร้าน, ห้างหุ้นส่วน, บริษัท, กงสี, ร้านค้า |
holdings | (n) ที่ดิน, หุ้นส่วน, การครอบครอง, ทรัพย์สิน |
partner | (n) หุ้นส่วน, คู่คิด, คู่ขา, ผู้ร่วมมือ |
partnership | (n) หุ้นส่วน, ห้างหุ้นส่วน, การจับคู่กัน |
stockholder | (n) หุ้นส่วน, ผู้ถือพันธบัตร, เจ้าของฟาร์มปศุสัตว์ |
whack | (n) เสียงก้อง, การทดลอง, หุ้นส่วน |