อวัยวะ | (n) organ, See also: limb, Example: พิษตะกั่วมีฤทธิ์ทำลายอวัยวะต่างๆ หรือหยุดยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะบางส่วน, Count Unit: ส่วน, ชิ้น, Thai Definition: ส่วนของร่างกาย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
อวัยวะเพศ | (n) sexual organ, Syn. ของลับ, อวัยวะสืบพันธุ์, Example: ความผิดปกติทางเพศที่พบมากในเมืองไทย ได้แก่ รักร่วมเพศและเปลือยอวัยวะเพศ, Thai Definition: ส่วนของร่างกายที่บ่งบอกเพศและใช้ในการสืบพันธุ์ |
อวัยวะเพศ | (n) sexual organ, Syn. ของลับ, อวัยวะสืบพันธุ์, Example: ความผิดปกติทางเพศที่พบมากในเมืองไทย ได้แก่ รักร่วมเพศและเปลือยอวัยวะเพศ, Thai Definition: ส่วนของร่างกายที่บ่งบอกเพศและใช้ในการสืบพันธุ์ |
อวัยวะภายใน | (n) internal organs, Ant. อวัยวะภายนอก, Example: ทุกวันนี้มีคนเจ็บป่วยที่อวัยวะภายใน เนื่องมาจากการบริโภคเป็นจำนวนมาก, Thai Definition: อวัยวะที่อยู่ภายในร่ายกาย |
อวัยวะภายใน | (n) internal organs, Ant. อวัยวะภายนอก, Example: ทุกวันนี้มีคนเจ็บป่วยที่อวัยวะภายใน เนื่องมาจากการบริโภคเป็นจำนวนมาก, Thai Definition: อวัยวะที่อยู่ภายในร่ายกาย |
อวัยวะเพศหญิง | (n) vagina, See also: clitoris, Syn. โยนี, จิ๋ม, หี, Example: ตะปิ้งเป็นวัตถุที่ใช้ป้องปิดอวัยวะเพศหญิงของไทยมาแต่โบราณ, Thai Definition: ส่วนของร่างกายที่แสดงถึงเพศหญิงและใช้ในการสืบพันธุ์ |
อวัยวะรับเสียง | (n) cochlear, Example: เด็กที่หูพิการส่วนมากจะมีอวัยวะรับเสียงผิดปกติ |
อวัยวะรูปหอยโข่ง | (n) cochlea, Example: ถ้าอวัยวะรูปหอยโข่งเสียก็จะทำให้ระบบการทรงตัวเสียไปด้วย, Thai Definition: อวัยวะรูปหอยโข่งทำหน้าที่รับฟังเสียง |
อวัยวะสร้างน้ำตา | (n) tear glands |
อวัยวะหลอดกึ่งวง | (n) semi-circular canal |
อวยวะ, อวัยวะ | (อะวะยะวะ, อะไวยะวะ) น. ชิ้น, ส่วน, ส่วนของร่างกาย, ในบทกลอนใช้ว่า อพยพ ก็มี. |
อวัยวะ | ดู อวยวะ. |
กระจับ ๑ | นวมหรือวัตถุรูปร่างคล้ายฝักกระจับใช้ใส่ป้องกันอวัยวะที่หว่างขาเวลาชกมวยไทย. |
กระเจี๊ยว | น. อวัยวะสืบพันธุ์เด็กชายเล็ก ๆ, เจี๊ยว หรือ อ้ายเจี๊ยว ก็ว่า. |
กระดอ | น. อวัยวะสืบพันธุ์ของชายหรือสัตว์เพศผู้บางชนิด. |
กระดิก | ก. ไหว, ทำปลายอวัยวะเช่นมือหรือเท้าให้ไหว. |
กระน่อง | น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กระหน่อง ขะน่อง หรือ ขาน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง. |
กระโปก ๑ | น. ส่วนหนึ่งของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายหรือสัตว์ตัวผู้. |
กระเพาะ | น. อวัยวะภายในของคนและสัตว์ ลักษณะคล้ายถุง ได้แก่ กระเพาะอาหารและกระเพาะปัสสาวะ. (เทียบ ข. กฺรพะ) |
กระสือ ๓ | น. ชื่อตัวอ่อนหิ่งห้อยและตัวเต็มวัยหิ่งห้อยเพศเมียที่ไม่มีปีกหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Lampyridae เช่น สกุล Lamprigera, Pyrocoelia, Diaphanesยาวได้ถึง ๑๐ เซนติเมตร อยู่ตามพื้นดิน สามารถทำแสงจากอวัยวะทำแสงที่อยู่ปลายท้องได้ เรียกว่า หนอนกระสือ. (ดู หิ่งห้อย ประกอบ). |
กระหน่อง ๒ | น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า เช่น ตัวหนึ่งกัดเอ็นกระหน่อง (ม. ภาคอีสาน ชูชก), กระน่อง ขะน่อง หรือ ขาน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง. |
กระหมวด ๒ | น. จอมประสาทหัวช้าง เป็นอวัยวะสำคัญที่เกิดขนช้างฐาน ๑ ใน ๕ ฐาน คือ ขนที่หู หาง บรรทัดหลัง กระหมวดหรือโขมด ราวชัก (คือ สีข้างช้าง แต่โดยนิยมถือเอาเฉพาะแนวที่สายประโคนรัด ซึ่งถัดจากขาหน้าไปหน่อยหนึ่ง), ในการดูลักษณะช้างเผือก ใช้ตรวจขนทั้ง ๕ ฐานนี้ เป็นทางประกอบการพิจารณา. |
กราบ ๒ | (กฺราบ) ก. แสดงความเคารพด้วยวิธีนั่งประนมมือขึ้นเสมอหน้าผาก แล้วน้อมศีรษะลงจดพื้น, ถ้าหมอบแล้วน้อมศีรษะลงจดมือที่ประนมอยู่กับพื้น เรียกว่า หมอบกราบ, ประนมมือเสมอหน้าผาก แล้วน้อมศีรษะลงจดมือที่วางอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง ก็อนุโลมถือว่าเป็นกราบ เช่น กราบลงบนตัก, เรียกกราบโดยให้อวัยวะทั้ง ๕ คือ เข่าทั้ง ๒ มือทั้ง ๒ และหน้าผาก จดลงกับพื้นว่า กราบโดยเบญจางคประดิษฐ์ เป็นอาการแสดงความเคารพอย่างสูงสุด, โดยปริยายใช้เป็นคำแสดงอาการเคารพเหมือนอย่างกราบ เช่น กราบทูล กราบเรียน. |
กล่องเสียง | น. อวัยวะสำคัญในการเปล่งเสียงพูด อยู่บริเวณส่วนบนของหลอดลม. |
กะเทย | น. คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง, คนที่มีจิตใจและกิริยาอาการตรงข้ามกับเพศของตน |
กะน่อง | น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า เช่น ตัว ๑ ขบกะน่อง (ม. ภาคอีสาน ชูชก), กะหน่อง ก็เรียก. |
กะหน่อง | น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กะน่อง ก็เรียก. |
ก้างพระร่วง | น. ชื่อปลาน้ำจืดไม่มีเกล็ดจำพวกเดียวกับปลาเนื้ออ่อน ชนิด Kryptopterus bicirrhis (Valenciennes) ในวงศ์ Siluridae ลำตัวยาวแบนข้างมาก ปากเล็กเชิดขึ้น เนื้อมีลักษณะใสจนมองทะลุลำตัวเห็นแถวกระดูกและอวัยวะภายในต่าง ๆ ขนาดยาวไม่เกิน ๑๒ เซนติเมตร, กระจก ก็เรียก. |
ก้าม | น. อวัยวะของสัตว์บางชนิดเช่นปูและกุ้ง สำหรับหนีบอาหารเป็นต้น. |
เกาต์ | น. ชื่อโรคอย่างหนึ่ง เกิดขึ้นเพราะมีกรดยูริกในเลือดมากเกินไปเป็นผลให้เกิดการตกตะกอนเป็นเกลือยูเรตในเนื้อเยื่อบริเวณข้อ เช่น ที่ข้อนิ้วมือนิ้วเท้า ข้อเท้า หรือ บริเวณอวัยวะอื่น ทำให้มีอาการบวมและปวด. |
ข้อ | เรียกอวัยวะบางส่วนที่มีข้อต่อและงอได้ เช่น ข้อมือ ข้อศอก ข้อเท้า |
ของลับ | น. อวัยวะสืบพันธุ์ของมนุษย์. |
ขะน่อง | น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กระหน่อง กระน่อง หรือ ขาน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง. |
ขา ๑ | น. อวัยวะตั้งแต่ตะโพกถึงข้อเท้า สำหรับยันกายและเดินเป็นต้น (ไทยถิ่นอื่น ขา หมายความตั้งแต่ตะโพกถึงเข่า) |
ขาน่อง | น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กระหน่อง กระน่อง หรือ ขะน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง. |
ขิก | น. เรียกรูปจำลองอวัยวะเพศชาย ใช้เป็นเครื่องรางของขลัง ว่า ไอ้ขิก หรือ อ้ายขิก. |
เข้าสุหนัต | ก. เข้าพิธีขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายตามข้อกำหนดในศาสนาอิสลาม. |
แขน ๑ | น. อวัยวะที่ต่อจากไหล่ทั้ง ๒ ข้าง, (ราชา) เรียกอวัยวะตั้งแต่ศอกไปถึงไหล่ว่า พระพาหา ตั้งแต่ศอกไปถึงมือว่า พระกร |
ครบเครื่อง | ว. สมบูรณ์ทุกประการ เช่น เขาต่อยมวยครบเครื่อง ใช้อวัยวะทุกส่วนเป็นอาวุธได้. |
ครบสามสิบสอง | ว. มีอวัยวะครบบริบูรณ์ ตามคติทางพระพุทธศาสนา. |
ครีบ | (คฺรีบ) น. อวัยวะที่เป็นแผ่นติดกันเป็นพืดอยู่ใต้ท้องและสันหลังของปลาเป็นต้น |
คลำ | (คฺลำ) ก. กิริยาที่ใช้อวัยวะเช่นมือ แตะ ลูบ หรือควานอย่างช้า ๆ เพื่อให้รู้ว่าเป็นอะไรอยู่ที่ไหน เช่น คลำหาทางออก คลำหาสวิตช์ไฟ |
ควย | น. อวัยวะสืบพันธุ์ของชายหรือสัตว์เพศผู้บางชนิด. |
คอหอย | น. อวัยวะภายในลำคอ เป็นทางร่วมของระบบทางเดินอาหารและระบบทางเดินอากาศหายใจ เริ่มตั้งแต่หลังโพรงจมูก หลังช่องปากลงไปจนถึงหลังกล่องเสียง. |
คันไฟ | น. ชื่อมดชนิด Solenopsis geminata (Fabricius) ในวงศ์ Formicidae ลำตัวยาวประมาณ ๕ มิลลิเมตร สีน้ำตาลแดง หัวค่อนข้างโต ทำรังอยู่ตามพื้นดิน โดยเฉพาะดินร่วนหรือดินทราย รังอาจอยู่ลึกลงไปใต้ดินถึง ๐.๕ เมตร มีอวัยวะสำหรับต่อยปล่อยกรดทำให้คัน ปวดแสบปวดร้อน และเป็นตุ่มแดงใหญ่. |
คาราเต้ | น. ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวด้วยมือเปล่า โดยการใช้อวัยวะต่าง ๆ เช่น มือ เท้า ศอก ศีรษะ ที่ฝึกจนแข็งแกร่งแล้ว มีแพร่หลายในญี่ปุ่นและเกาหลี. |
คุยหฐาน, คุยหประเทศ | น. อวัยวะเพศชายหรือนิมิตชาย ใช้ว่า พระคุยหฐาน หรือ พระคุยหประเทศ. |
เครื่องใน | น. อวัยวะภายในของสัตว์บางชนิด เช่น ตับ ไต ไส้ ของวัวและควาย |
เคาะ | ก. ใช้อวัยวะมีมือเป็นต้นกระทบเบา ๆ เช่น เคาะจังหวะ เคาะบุหรี่, ใช้มือหรือวัตถุงอ ๆ ตีหรือทุบให้เกิดเสียงเป็นต้น เช่น เคาะประตู เคาะระฆัง เคาะตัวถังรถ |
จมูก | (จะหฺมูก) น. อวัยวะส่วนหนึ่งที่ยื่นออกมา อยู่เหนือปาก มีรู ๒ รู สำหรับดมกลิ่นและหายใจเข้าหายใจออก, (ปาก) ตมูก ก็ว่า, ราชาศัพท์ว่า พระนาสิก พระนาสา โดยปริยายเรียกสิ่งที่ยื่นออกมาคล้ายจมูก, เรียกสิ่งที่เจาะเป็นรู ๒ รูเพื่อร้อยเชือกเป็นต้น เช่น จมูกซุง. |
จักจั่น ๑ | (จักกะ-) น. ชื่อแมลงในวงศ์ Cicadidae ลำตัวยาวตั้งแต่ ๒-๑๐ เซนติเมตร หัวและอกกว้าง ปีกมี ๒ คู่ เนื้อปีกส่วนใหญ่ใสเหมือนกันทั้ง ๒ คู่ เมื่อเกาะอยู่กับที่ปีกพับเป็นรูปหลังคาคลุมตัว มีปากชนิดเจาะดูด ตาโตเห็นได้ชัด เพศผู้มีอวัยวะทำเสียงอยู่ทางด้านล่างของส่วนท้องได้ยินไปไกล ส่วนใหญ่ลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ที่พบบ่อยเป็นชนิด Dundubia intermerata Walker. |
จับปิ้ง ๒ | น. ส่วนท้องของปูพับอยู่ใต้อก ตัวผู้เป็นแผ่นเรียวเล็ก ตัวเมียเป็นแผ่นแบนกว้าง ด้านในมีขน ทำหน้าที่ปิดอวัยวะเพศ ขนของตัวเมียเป็นที่ยึดเกาะของไข่, ตะปิ้ง ก็เรียก. |
จิงโจ้ ๑ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในวงศ์ Macropodidae ขาคู่หน้าสั้น คู่หลังยาวและแข็งแรง ใช้กระโดดได้ไกล ๆ หางยาวและแข็งแรงใช้เป็นอวัยวะช่วยในการทรงตัว ตัวเมียออกลูกเป็นตัว ไม่มีรก มีถุงที่หน้าท้องสำหรับใส่ลูก มีหลายชนิด เช่น ชนิด Macropus rufus (Desmarest) มีถิ่นกำเนิดในทวีปออสเตรเลีย. |
เจษฎา ๒ | (เจดสะดา) น. การเคลื่อนไหวอวัยวะ, การไหวมือและเท้า, ท่ารำ |
ฉลาม | (ฉะหฺลาม) น. ชื่อปลาทะเลหลายวงศ์ในอันดับ Lamniformes เป็นปลากระดูกอ่อน ขนาดยาวได้ถึง ๒๑.๔ เมตร ส่วนใหญ่มีช่องเหงือก ๕ คู่อยู่ข้างส่วนหัว แฉกบนของหางยกสูงขึ้นและยาวมาก ตัวผู้ขอบในของครีบท้องขยายใหญ่มีแท่งอวัยวะสืบพันธุ์ เรียกว่า ตะเกียบหรือเดือย บางชนิดเป็นปลาผิวนํ้า เช่น ฉลามหนู [ Scoliodon sorrakowah (Cuvier) หรือ S. laticaudus Müller & Henle ], ฉลามเสือ เสือทะเล พิมพา หรือ ตะเพียนทอง [ Galeocerdo cuvieri (Peron & Le Sueur) ] บางชนิดอยู่ตามพื้นท้องทะเล เช่น ฉลามกบหรือฉลามหิน [ Chiloscyllium plagiosum (Bennett) ] บางชนิดอยู่ในนํ้าลึกมาก เช่น ฉลามนํ้าลึก ( Squalus acanthiasLinn.) บางชนิดขนาดใหญ่มาก เช่น ฉลามวาฬ ( Rhincodon typus Smith) ชนิดที่หัวแผ่แบน เรียก ฉลามหัวค้อน หรือ อ้ายแบ้ เช่น ชนิด Sphyrna leweni (Griffith & Smith). |
ช่องคลอด | น. ส่วนของอวัยวะสืบพันธุ์ของเพศหญิง เป็นช่องที่ต่อมาจากปากมดลูก และเป็นทางที่ทารกคลอดออกมา. |
ชะมด ๑ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Viverridae หน้าแหลม รูปร่างเพรียว สีเทาหรือนํ้าตาล มีลายจุดสีดำตามยาวทั่วตัว หางและขนหางยาว มีลายเป็นปล้อง มีต่อมกลิ่นใกล้อวัยวะเพศ มักหากินในเวลากลางคืน ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น ชะมดเช็ด [ Viverricula malaccensis (Gmelin) ] เป็นชนิดที่ใช้นํ้ามันจากต่อมกลิ่นทำเครื่องหอม, ชะมดแผงหางปล้อง ( Viverra zibetha Linn.), ชะมดแผงสันหางดำ ( V. megaspila Blyth), อีสานเรียก เห็นอ้ม. |
ชะมด ๒ | น. ชื่อกวางในสกุล Moschus วงศ์ Moschidae เป็นกวางขนาดเล็ก ลำตัวป้อม หัวเล็ก ไม่มีเขา ขนหยาบมีสีแตกต่างกัน ตัวเมียเขี้ยวสั้นมาก ตัวผู้มีเขี้ยวยาวคล้ายใบมีดยื่นพ้นริมฝีปาก และมีต่อมกลิ่นอยู่ระหว่างสะดือกับอวัยวะเพศ ขับสารคล้ายขี้ผึ้งออกมา เรียกว่า ชะมดเชียง ใช้แต่งกลิ่นเครื่องหอมและทำยาได้ มักอาศัยอยู่ตามป่าสนและป่าผลัดใบรกทึบบนภูเขา มี ๔ ชนิด ได้แก่ กวางชะมดไซบีเรีย ( Moschus moschiferus Linn.) กวางชะมดเขาสูง [ M. chrysogaster (Hodgson) ] กวางชะมดดำ ( M. Fuscus Li) และกวางชะมดป่า ( M. berezovskii Flerov) ไม่พบในประเทศไทยแต่ที่นำมาเลี้ยงในประเทศไทย ได้แก่ กวางชะมดป่า. |
ชะเวิบชะวาบ | ว. เปิดกว้างและลึก เช่น สวมเสื้อคอกว้างชะเวิบชะวาบ, ชะเวิกชะวาก ก็ว่า, เปิดเผยอวัยวะบางส่วนที่ควรปกปิด เช่น แต่งตัวชะเวิบชะวาบ. |
ชาย ๑ | น. มนุษย์เพศผู้ซึ่งโดยกำเนิดมีลึงค์เป็นอวัยวะสืบพันธุ์, ผู้ชาย ก็ว่า. |
panoptosis | อวัยวะช่องท้องย้อยทั้งหมด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periodontal; peridental | ๑. -ปริทันต์ [ มีความหมายเหมือนกับ paradental ๒ ]๒. -เอ็นยึดปริทันต์, -อวัยวะปริทันต์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phantom | ๑. ความรู้สึกหลอน, อวัยวะหลอน๒. หุ่นส่วนร่างกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periodontal tissue; paradentium; periodontium | อวัยวะปริทันต์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periodontal tissue; periodontium | อวัยวะปริทันต์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pudic; pudendal | -อวัยวะเพศภายนอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parenchymatous tissue; parenchyma | เนื้อแท้อวัยวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
perforative peritonitis | เยื่อบุช่องท้องอักเสบเหตุอวัยวะทะลุ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
peridental; periodontal | ๑. -ปริทันต์ [ มีความหมายเหมือนกับ paradental ๒ ]๒. -เอ็นยึดปริทันต์, -อวัยวะปริทันต์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
peritonitis, perforative | เยื่อบุช่องท้องอักเสบเหตุอวัยวะทะลุ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periodontium; paradentium; tissue, periodontal | อวัยวะปริทันต์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periodontium; periodontal tissue | อวัยวะปริทันต์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
perisplanchnic | -รอบอวัยวะภายใน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parenchyma; tissue, parenchymatous | เนื้อแท้อวัยวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parenchymal; parenchymatous | -เนื้อแท้อวัยวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parenchymatous; parenchymal | -เนื้อแท้อวัยวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
penetration | การล่วงล้ำ (อวัยวะเพศหญิง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
peritoneum, visceral | เยื่อบุช่องท้องส่วนหุ้มอวัยวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pudendal; pudic | -อวัยวะเพศภายนอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pudendum | อวัยวะเพศภายนอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paries | ผนัง(อวัยวะ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parietal | -ผนัง(อวัยวะ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paradentium; periodontium; tissue, periodontal | อวัยวะปริทันต์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
loss of limb | การสูญเสียอวัยวะแขนขา [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
logoplegia | อัมพาตอวัยวะใช้พูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reflex, visceral | รีเฟล็กซ์อวัยวะภายใน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reproductive organ | อวัยวะสืบพันธุ์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
rudiment; vestige; vestigium | อวัยวะเหลือค้าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recipient | ผู้รับ (เลือด, เนื้อเยื่อ, อวัยวะ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reproductive bud | ตาสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
substance, medullary | ๑. เนื้อขาว [ มีความหมายเหมือนกับ matter, white; substance, white ]๒. เนื้อในของอวัยวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
situs transversus; situs inversus viscerum | อวัยวะกลับข้าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
situs inversus viscerum; situs transversus | อวัยวะกลับข้าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
situs perversus | ๑. อวัยวะผิดที่ [ มีความหมายเหมือนกับ splanchnectopia ]๒. อวัยวะหลุด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
situs solitus | ตำแหน่งปรกติ (อวัยวะ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnocele | ๑. ก้อนไส้เลื่อน๒. ก้อนอวัยวะภายในเลื่อน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnodiastasis | อวัยวะภายในหลุด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnodynia | อาการปวดอวัยวะภายใน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnologia; splanchnology | วิทยาอวัยวะภายใน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnology; splanchnologia | วิทยาอวัยวะภายใน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnomegalia; splanchnomegaly | อวัยวะภายในโตเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnomegaly; splanchnomegalia | อวัยวะภายในโตเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnomicria | อวัยวะภายในเล็กเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
somaticovisceral | -ร่างและอวัยวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
synergist | ๑. ยาเสริม๒. อวัยวะช่วยงาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnopathy | โรคอวัยวะภายใน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnoptosia; splanchnoptosis; visceroptosis | อวัยวะภายในย้อย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnoptosis; splanchnoptosia; visceroptosis | อวัยวะภายในย้อย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnosclerosis | อวัยวะภายในกระด้าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnoscopy | การส่องตรวจอวัยวะภายใน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Petasma | อวัยวะเพศภายนอกของกุ้งกุลาดำเพศผู้ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Thelycum | อวัยวะเพศภายนอกของกุ้งกุลาดำเพศเมีย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Preservation of organs, tissues | การเก็บและรักษาอวัยวะ เนื้อเยื่อ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Sale of organs, tissures | การขายอวัยวะ เนื้อเยื่อ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Transplantation of organs, tissues, etc. | การปลูกถ่ายอวัยวะ เนื้อเยื่อ ฯลฯ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Biological half-life | ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ, ระยะเวลาที่สารกัมมันตรังสีในเนื้อเยื่อ อวัยวะ หรือร่างกายลดลงครึ่งหนึ่ง อันเนื่องมาจากกระบวนการทางชีวภาพ [นิวเคลียร์] |
Clearance | การปล่อยผ่าน, 1. การให้สารกัมมันตรังสีหรือวัสดุกัมมันตรังสีพ้นจากการดำเนินการภายใต้การควบคุมทางด้านการป้องกันอันตรายจากรังสี โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย 2. กระบวนการทางชีววิทยาในการขจัดสารกัมมันตรังสีออกจากอวัยวะหรือร่างกาย [นิวเคลียร์] |
Committed dose | ปริมาณ (รังสี) ผูกพัน, ปริมาณรังสียังผลจากสารกัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย บางชนิดจะกระจายไปทั่วร่างกาย บางชนิดจะไปสะสมอยู่ในอวัยวะเฉพาะที่ เรียกว่า อวัยวะวิกฤติ (critical organ) เช่น ไอโอดีนจะสะสมอยู่ที่ต่อมไทรอยด์ รังสีจะมีผลต่อร่างกายจนกว่าสารกัมมันตรังสีนั้นสลายหมดไปหรือถูกขับถ่ายออกจนหมด ปกติจะคำนวณระยะเวลาการรับรังสี 50 ปีสำหรับผู้ใหญ่ และ 70 ปีสำหรับเด็ก มีหน่วยเป็น ซีเวิร์ต [นิวเคลียร์] |
Diagnostic exposure | การรับรังสีจากการวินิจฉัยโรค, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ อันเป็นขั้นตอนหนึ่งในการวินิจฉัยโรค หรือตรวจหาความบกพร่องของอวัยวะ [นิวเคลียร์] |
Single Photon Emission Computed Tomography | สเป็กต์, เทคนิคการถ่ายภาพด้วยวิธีกราดวิเคราะห์ โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีเข้าไปในกระแสเลือด ใช้มากในการศึกษาสารส่งผ่านประสาท (neurotransmitter) แต่ก็สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยระบบอวัยวะใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับเภสัชภัณฑ์รังสีที่ใช้ซึ่งมีครึ่งชีวิตยาวกว่าที่ใช้กับเพ็ต จึงไม่จำเป็นต้องมีไซโคลทรอนอยู่ด้วยกัน อย่างไรก็ตาม สเป็กต์มีความละเอียดในการวิเคราะห์ต่ำกว่าเพ็ตมาก, Example: [นิวเคลียร์] |
Single Photon ECT | สเป็กต์, เทคนิคการถ่ายภาพด้วยวิธีกราดวิเคราะห์ โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีเข้าไปในกระแสเลือด ใช้มากในการศึกษาสารส่งผ่านประสาท (neurotransmitter) แต่ก็สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยระบบอวัยวะใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับเภสัชภัณฑ์รังสีที่ใช้ซึ่งมีครึ่งชีวิตยาวกว่าที่ใช้กับเพ็ต จึงไม่จำเป็นต้องมีไซโคลทรอนอยู่ด้วยกัน อย่างไรก็ตาม สเป็กต์มีความละเอียดในการวิเคราะห์ต่ำกว่าเพ็ตมาก [นิวเคลียร์] |
Radiotherapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radionuclide imaging | การถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการ ตรวจด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น <br>ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่คำว่า radionuclide organ imaging, nuclear scanning</br>, Example: [นิวเคลียร์] |
Radiation therapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] |
Radiation syndrome | กลุ่มอาการป่วยจากรังสี, กลุ่มอาการที่ปรากฏเมื่อมนุษย์ได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ มี 3 กลุ่มอาการขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับ ได้แก่ กลุ่มอาการทางไขกระดูกหรือกลุ่มอาการทางระบบเลือด กลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร และกลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง ทุกกลุ่ม จะแสดงอาการเป็น 3 ระยะ คือ <br>-ระยะเริ่มต้น (prodromal stage) มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย</br> <br>-ระยะแอบแฝง (latent stage) เป็นระยะที่ไม่แสดงอาการ</br> <br>-ระยะแสดงอาการที่แท้จริง (manifest illness stage) มีอาการที่แสดงถึงความเสียหายของอวัยวะ</br> <br>(ดู bone marrow syndrome, cerebrovascular syndrome และ gastrointestinal syndrome ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
system | ระบบ, ที่รวมของส่วนประกอบต่างๆ ที่ทำงานร่วมกัน มีจุดประสงค์ร่วมกัน และมีขอบเขตโดยแน่ชัด เช่น คอมพิวเตอร์เป็นระบบ เพราะประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่ทำงานร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาตามที่ผู้ใช้กำหนด ร่างกายมนุษย์เป็นระบบเพราะประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ที่ทำงานร่วมกันโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ร่างกายมีชีวิตอยู่ ระบบทั้งหลายต้องรับอินพุดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งเข้าไปในระบบ ต่อจากนั้นจึงนำอินพุดเหล่านั้นมาดำเนินการให้เกิดเป็นเอาท์พุต หรือปรับอินพุดหรือการดำเนินการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น การนำเอาท์พุดมาพิจารณาแล้วปรับ ดังนี้เรียกว่า การป้อนกลับ (feedback) [คอมพิวเตอร์] |
Positron Emission Tomography | เพ็ต, เทคนิคการถ่ายภาพการทำงานของอวัยวะด้วยวิธีกราดวิเคราะห์โพซิตรอนที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีที่มีครึ่งชีวิตสั้นมากซึ่งผลิตจากไซโคลทรอนเข้าไปในกระแสเลือด เช่น การตรวจการทำงานของสมอง จะใช้กลูโคสซึ่งฝังตรึงด้วยสารกัมมันตรังสี ฟลูออร์-18 เพื่อแสดงการทำงานของสมองส่วนต่างๆ เป็นภาพสามมิติที่มีสีสันแตกต่างกัน ข้อดีของเทคนิคนี้ คือ สามารถแสดงผลได้รวดเร็วในเวลาน้อยกว่า 1 นาที นอกจากนี้ยังสามารถใช้วินิจฉัยด้านอื่นๆ ได้ด้วย เช่น โรคหัวใจร่วมหลอดเลือด เนื้องอก และด้านลิ่มเลือดหรือโรคลมต่างๆ [นิวเคลียร์] |
Artificial organs | อวัยวะเทียม [TU Subject Heading] |
Digestive organs | อวัยวะย่อยอาหาร [TU Subject Heading] |
Donation of organs | การบริจาคอวัยวะ [TU Subject Heading] |
Endoscopes | กล้องส่องตรวจภายในอวัยวะของร่างกาย [TU Subject Heading] |
Female circumcision | การขลิบอวัยวะเพศสตรี [TU Subject Heading] |
Genital diseases, Female | โรคอวัยวะสืบพันธุ์สตรี [TU Subject Heading] |
Genital diseases, Male | โรคอวัยวะสืบพันธุ์ชาย [TU Subject Heading] |
Genital neoplasms, Female | เนื้องอกอวัยวะสืบพันธุ์สตรี [TU Subject Heading] |
Genitalia | อวัยวะสืบพันธุ์ [TU Subject Heading] |
Genitalia, Female | อวัยวะสืบพันธุ์สตรี [TU Subject Heading] |
Genitalia, Male | อวัยวะสืบพันธุ์ชาย [TU Subject Heading] |
Multiple organ failure | ภาวะการทำงานของอวัยวะหลายชนิดล้มเหลว [TU Subject Heading] |
Organ donors | ผู้บริจาคอวัยวะ [TU Subject Heading] |
Organ preservation | การสงวนและรักษาอวัยวะ [TU Subject Heading] |
Organ transplantation ; Transplantation of organs, tissues, etc | การปลูกถ่ายอวัยวะ [TU Subject Heading] |
Reparative Medicine | การแพทย์การสร้างอวัยวะใหม่, Example: วิธีการบำบัดรักษาโดยการเปลี่ยนแปลงเซลล์ต้นตอให้เป็นเซลล์ชนิดจำเพาะที่ต้องการเพื่อนำไปปลูกถ่ายให้กับผู้ป่วยเพื่อซ่อมแซมเนื้อเยื่อที่ถูกทำลาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Procurement of organs, tissues, etc., Tissue and organ procurement | การจัดหาอวัยวะ, เนื้อเยื่อ, ฯลฯ [TU Subject Heading] |
Prosthesis implantation | การใส่อวัยวะเทียม [TU Subject Heading] |
Regeneration | การงอกใหม่ (อวัยวะ) [TU Subject Heading] |
Respiratory organs | อวัยวะหายใจ [TU Subject Heading] |
Sense organs | อวัยวะรับสัมผัส [TU Subject Heading] |
Urogenital system | ระบบปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์ [TU Subject Heading] |
Vulva | อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของสตรี [TU Subject Heading] |
Vulvar diseases | โรคอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของสตรี [TU Subject Heading] |
Positron Emission Tomography | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะในร่างกายที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน โดยการตรวจวัดสารกัมมันตรังสีบางชนิด ซึ่งให้แก่ร่างกายในรูปของสารเภสัชรังสี เพื่อใช้ในการตรวจวัดเชิงปริมาณของขบวนการทางชีวเคมีในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ไอโซโทปรังสีที่ใช้จะเป็นชนิดที่ปลดปล่อยโพซิตรอนออกมา เช่น ออกซิเจน-15 ไนโตรเจน-13 และคาร์บอน-11 โพซิตรอนที่ปล่อยออกมานี้จะเข้าทำปฏิกิริยาประลัย (annihilation) เกือบจะทันทีทันใดกับอิเล็กตรอนที่โคจรอยู่รอบนิวเคลียสในอะตอมของสาร ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นสารเภสัชรังสีนั้น และมีรังสีแกมมาพลังงาน 511 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ ปลดปล่อยออกมาพร้อมกันในสองทิศทางตรงกันข้าม สามารถตรวจวัดได้ด้วยหัววัดรังสีที่อยู่ตรงข้ามกัน จากหัววัดหลายๆ หัวที่ล้อมรอบคนไข้ ทำให้ทราบตำแหน่งที่ผิดปกติในร่างกายได้ โดยการแปลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ เนื่องจากส่วนใหญ่ของไอโซโทปรังสีที่ใช้กับเทคนิคนี้ เป็นไอโซโทปของธาตุที่เป็นส่วนประกอบของอินทรีย์วัตถุ จึงทำให้ PET มีประโยชน์ในการศึกษากระบวนการทางสรีรวิทยาและชีวเคมีที่ผิดปกติด้วย ในทางปฏิบัติ PET จำเป็นต้องใช้ไอโซโทปรังสีที่ผลิตขึ้นจากการระดมยิงที่เป้า ด้วยโปรตรอนพลังงานสูงภายในเครื่องไซโคลตรอน การศึกษาโดยใช้ PET จะมุ่งเน้นไปยังระบบประสาทส่วนกลางเป็นหลัก ด้วยการวัดตัวแปรเสริมอื่นๆ ประกอบ เช่น การไหลเวียนของเลือด กระบวนการสร้างและสลายน้ำตาลกลูโคส และการเผาผลาญออกซิเจน จึงมีความเป็นไปได้ที่จะหาสมุฏฐานของโรคลมบ้าหมู หรือหาขนาดที่แน่นอนของบริเวณที่พิการในสมองได้ ในการศึกษาที่เกี่ยวกับหัวใจและหน้าที่ของหัวใจ การตรวจโดยใช้ PET จะเป็นวิธีที่เฉพาะเจาะจง และให้ผลดีกว่าการตรวจสอบโดยวิธีอื่นๆ [พลังงาน] |
radionuclide imaging | การถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เป็นเทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการตรวจ ด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่ คำว่า Radionuclide organ imaging nuclear scanning [พลังงาน] |
radiopharmaceutics , radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี เภสัชภัณฑ์รังสี, หมายถึง ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบ หรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากล สารเภสัชรังสี ใช้ในการตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีกับผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าว จะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดง "พยาธิสภาพ" ตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ [พลังงาน] |
Single Photon Emission Computed Tomography | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะภายในร่างกายที่ต้องการตรวจ โดยการให้สารเภสัชรังสีแก่คนไข้ แล้วทำการตรวจวัดรังสีแกมมาที่แผ่ออกมาจากสารเภสัชรังสีนั้น ด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า "กล้องถ่ายแกมมา (gamma camera)" ซึ่งมีทั้งแบบที่หมุนได้ และแบบอยู่กับที่รอบตัวคนไข้ จากนั้นคอมพิวเตอร์จะแปลข้อมูลที่ได้ออกมาให้เห็นเป็นภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี โดยสร้างภาพตัดเนื้อเยื่อของอวัยวะนั้น ทำให้สามารถบอกความผิดปกติของอวัยวะได้ โดยดูการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี แม้มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยก็สามารถตรวจวัดได้ เทคนิคSPECT สามารถตรวจอวัยวะหรือระบบอวัยวะใดๆ ก็ได้ ขึ้นอยู่กับสารเภสัชรังสีที่ให้ เป็นวิธีที่ใช้ในการบอกตำแหน่งของความผิดปกติ ทั้งทางกายภาพและทางสรีรวิทยาในเนื้อเยื่อที่มีชีวิต ซึ่งเป็นข้อดีทางเทคนิคนี้ จึงนำไปใช้ในการวินิจฉัยโรคหัวใจ โรคลมบ้าหมู และโรคมะเร็ง ข้อได้เปรียบของเทคนิคนี้ ต่อ PET คือ ไม่ต้องใช้เครื่องไซโคลตรอนในการผลิตไอโซโทปรังสี [พลังงาน] |
Embryp | เอ็มบริโอ, สิ่งมีชีวิตในช่วงการพัฒนาระยะต้น (ภายในฟองใช่หรือในมดลูก) โดยเฉพาะอย่างยิ่งก่อนที่จะมีการพัฒนาเต็มที่ เป็นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและพัฒนาของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ อย่างมาก ในมนุษย์มักจะใช้เรียกระยะเจ็ดถึงแปดสัปดาห์แรกภายหลังการปฏิสนธิ (การผสมของไข่กับอสุจิ) หลังจากนั้น นิยมเรียกเป็น ฟีตัส (Fetus หรือ Foetus) [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
Abdominal Organs, Accessory | อวัยวะรองอื่นๆในช่องท้อง [การแพทย์] |
Abnormalities, Congenital | ความผิดปกติของอวัยวะสืบพันธุ์, ความผิดปกติทางพันธุกรรม, ความผิดปกติเป็นแต่กำเนิด [การแพทย์] |
afferent | (adj) ที่นำไปสู่อวัยวะในร่างกาย |
afflux | (n) สิ่งที่ไหลไปยังจุด ๆ หนึ่ง, See also: การไหลไปสู่จุดใดจุดหนึ่ง เช่น การไหลคั่งของเลือดไปยังอวัยวะหนึ่ง |
ally | (n) อวัยวะที่สัมพันธ์กัน, See also: อวัยวะที่เชื่อมกัน |
atrophy | (n) อาการลีบเล็ก, See also: การลีบฝ่อของอวัยวะ |
casque | (n) อวัยวะที่งอกจากศีรษะ (สัตว์) |
clitoris | (n) คลิทอริส, See also: อวัยวะที่อยู่บนสุดของอวัยวะเพศหญิงมีลักษณะเป็นปุ่มเล็กไวต่อความรู้สึก |
cochlea | (n) อวัยวะรูปหอยโข่งในช่องหู (มีเซลล์ขนช่วงในการตอบสนองต่อคลื่นเสียงที่มากระทบ), See also: คอเคีย |
cock | (n) อวัยวะเพศชาย (คำสแลงและคำต้องห้าม), Syn. penis |
cortex | (n) เปลือกนอก, See also: ส่วนชั้นนอกของอวัยวะ |
cortical | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับเปลือกนอก, See also: เกี่ยวกับส่วนชั้นนอกของอวัยวะ |
dick | (n) อวัยวะเพศชาย (คำหยาบ), Syn. penis, phallus, cock |
dildo | (n) สิ่งที่มีรูปร่างเหมือนอวัยวะเพศชาย ใช้สำหรับให้ความสุขทางเพศ, Ant. hasten, hurry |
dysfunction | (n) การทำหน้าที่ผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย |
efferent | (adj) ซึ่งสั่งการจากอวัยวะส่วนกลาง (โดยเฉพาะสมองและไขสันหลัง) (ทางสรีรวิทยา), See also: ซึ่งออกจากจุดศูนย์กลาง, Ant. afferent |
entrails | (n) อวัยวะภายในของคนและสัตว์, Syn. innards |
erection | (n) การตั้งตรง (โดยเฉพาะอวัยวะเพศชาย), See also: การตั้งชัน |
eviscerate | (vt) เอาอวัยวะภายในของคนหรือสัตว์ออกมา, See also: เอาเครื่องในของคนหรือสัตว์ออกมา, Syn. disembowel |
fanny | (n) ก้น (คำสแลง), See also: อวัยวะเพศหญิง |
feeler | (n) อวัยวะรับความรู้สึก, Syn. antenna |
fellatio | (n) การอมอวัยวะเพศชายเพื่อกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ (คำทางการ) |
flasher | (n) คนที่ชอบอวดอวัยวะเพศในที่สาธารณะ (แสลง), See also: พวกอนาจาร |
genitalia | (n) อวัยวะสืบพันธุ์, See also: ของลับ |
genitals | (n) อวัยวะสืบพันธุ์, See also: ของลับ |
gonad | (n) อวัยวะเพศหญิง / ชาย |
goolie | (n) คำหยาบสำหรับเรียกอวัยวะเพศชาย, Syn. gooly |
gooly | (n) คำหยาบสำหรับเรียกอวัยวะเพศชาย, Syn. goolie |
graft | (n) การปลูกถ่ายอวัยวะ (บนร่างกายมนุษย์), See also: การผ่าตัดปลูกอวัยวะ, Syn. graff, grafting, scion |
heart | (n) หัวใจ (อวัยวะ) |
hermaphrodite | (n) คนที่มีทั้งอวัยวะเพศชายและเพศหญิง (ทางกายภาพ), Syn. androgyne |
hernia | (n) ส่วนหนึ่งของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อที่โผล่ออกมา (โดยเฉพาะบริเวณช่องท้อง), See also: ไส้เลื่อน, Syn. rupture |
hormone | (n) ฮอร์โมน, See also: สารเคมีในร่างกายที่กระตุ้นการทำงานของอวัยวะต่างๆ |
ingraft | (vt) ปลูกถ่ายอวัยวะ, See also: ติดตาพืช, Syn. engraft, transplant, implant |
innards | (n) เครื่องใน (คำไม่เป็นทางการ), See also: อวัยวะภายใน, Syn. insides, entrails, guts, intestines, bowels |
jerk off | (phrv) สำเร็จความใคร่ด้วยตนเองสำหรับผู้ชาย (คำต้องห้าม), See also: เป็นสุขที่ได้สัมผัสอวัยวะเพศของตนเอง, Syn. play with, pull at, toss off |
jockstrap | (n) กระจับป้องกันอวัยวะเพศของนักกีฬาชาย |
lavage | (n) การล้าง (อวัยวะ), See also: การชำระล้าง |
lens | (n) เลนส์ตา (อวัยวะ), Syn. crystalline lens |
linga | (n) อวัยวะเพศชายซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระศิวะในศาสนาฮินดู, See also: องคชาติ, ลึงค์, Syn. phallus, lingam |
mamma | (n) เต้านม, See also: ต่อมน้ำนม, อวัยวะสำหรับให้นมลูกของผู้หญิงหรือสัตว์ตัวเมีย |
mammary | (adj) เกี่ยวกับเต้านม (ของทั้งคนและสัตว์), See also: เกี่ยวกับอวัยวะที่ให้นม |
medulla | (n) สมองส่วนใน (medulla oblongata), See also: สารที่อยู่ในอวัยวะภายในเช่น ไต, ต่อมหมวกไต, ไขกระดูก |
mim | (n) น้ำคัดหลั่งจากอวัยวะสืบพันธุ์ปลา |
neck | (n) ลำคอ (อวัยวะ), See also: คอ, Syn. cervix, nape |
offal | (n) เครื่องในสัตว์, See also: อวัยวะภายในของสัตว์ที่ใช้กินเป็นอาหารได้ |
organ | (n) อวัยวะ, See also: อวัยวะที่สำคัญต่างๆ |
organic | (adj) เกี่ยวกับอวัยวะ |
outgrowth | (n) อวัยวะที่พัฒนามาจากอวัยวะอื่น (ใช้กับสัตว์หรือพืช), See also: ส่วนประกอบที่พัฒนามาจากส่วนประกอบอื่น |
Parkinsons disease | (n) โรคของระบบประสาทแบบมีอาการสั่นของอวัยวะ, Syn. palsy |
pastern | (n) อวัยวะม้าส่วนที่อยู่ระหว่างข้อเท้าและกีบเท้า |
penetrate | (vt) สอดใส่ (อวัยวะเพศชายเข้าไปทางช่องคลอดหรือทวารหนัก), Syn. insert, Ant. withdraw |
adrenal gland | ต่อมหมวกไต มีส่วนประกอบ 2 ส่วน 1. ส่วนเปลือก (adrenal cortex) ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน 1.1 กลูโคคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได้แก่ cortisone , hydrocortisone ซึ่งทำหน้าที่ในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ทำให้จำนวนกลูโคสในเลือดเพิ่มขึ้น และไกลโคเจนจะถูกสะสมในตับมากขึ้น ดังนั้นจะเห็นว่าฮอร์โมนนี้จะทำหน้าที่ตรงข้ามกับ insulin ในขณะที่ร่างกายเครียดจะหลั่ง ACTH และ cortisoneออกมาโดยผ่านทาง higher center ของระบบประสาทส่วนกลาง เราจึงมักพบ cortisone ในสภาวะที่ร่างกายได้รับความเจ็บปวด ถูกของร้อน มีคม ไข้สูง ฯลฯ 1.2 ไมเนอราลคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได่แก่ aldosterone deoxycorticosterone ซึ่งมีจำนวนน้อย ทั้งสองฮอร์โมนทำหน้าที่ควบคุมน้ำและเกลือแร่ 1.3 sex hormone แยกย่อยได้เป็น Estrogen Progesterone Androgen 2. ส่วนแกน (adrenal medulla) ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนสำคัญคือ 2.1 adrenaline หรือ epinephrine ทำให้หัวใจเต้นแรง ความดันเลือดเพิ่มขึ้น เส้นเลือดที่ผิวหนังและอวัยวะภายในบีบตัว อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น เร่งการสลาย glycogen ในตับเพื่อเปลี่ยนเป็น glucose ทำให้นเตาลในเลือดสูงขึ้น 2.2 noradrenaline ไม่มีผลต่อการเผาผลายอาหารในร่างกาย แต่มีผลทำให้เลือดหดตัว หัวใจเต้นช้าลง ความดันเลือดสุงขึ้น ขยายหลอดลม แต่ไม่มีผลต่อระดับ้ำตาลในเลือด |
adventitia | (แอดเวนทิซ' เชีย) ส่วนคลุมอวัยวะหรือโครงสร้าง -adventitial, adj. |
afferent | (แอฟ' เฟอเรนท) adj. ไปทางอวัยวะ, ส่งเข้า |
allograft | (แอล' โลกราฟทฺ' , -แกรฟทฺ) n. homograft, การย้ายปะตอนของเนื้อเยื่อ หรืออวัยวะจากสิ่งมีชีวิตไปยังอีกสิ่งมีชีวิตที่เป็นพันธุ์เดียว (species) กัน |
anastomosis | (อะแสทะโม' ซิส) n., (pl. -ses) การสร้างทางเชื่อมระหว่างอวัยวะ หรือส่วนของอวัยวะหรือช่องว่าง -anastomotic adj. (connection between parts) |
aphonia | (เอโฟ'เนีย) n. ภาวะไม่มีเสียงเนื่องจากอวัยวะเสียงในลำคอบกพร่อง. -aphonic adj. |
aplasia | (อะเพล'เซีย) n. การไร้อวัยวะหรือเนื้อเยื่อแต่กำเนิด, การมีอวัยวะหรือเนื้อเยื่อที่เจริญบกพร่องแต่กำเนิด. -aplastic adj. |
appendage | (อะเพน'เดจฺ) n. ส่วนผนวก, ส่วนเพิ่มใส่, แขนขา, อวัยวะประกอบ, ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา, ผู้อยู่ในสังกัด, Syn. accessory, appendix, Ant. separation |
archegonium | (อาดิโก'เนียม) n., (pl. -hia) อวัยวะสืบพันธุ์ตัวเมียของต้นไม้จำพวกเฟิร์น และมอส -archegonial, archegoniate adj. |
archicarp | (อาร์'คิคาร์พ) n. อวัยวะสืบพันธ์ตัวผู้ของเชื้อราจำพวก ascomycetousfungi |
armature | (อาร์'มะเชอะ) n. เกราะ, อวัยวะป้องกันภัยของสัตว์ (เช่น กระดองเต่า) , เหล็กอ่อนพันลวดในไดนาโม, มัดข้าวต้มของไดนาโม, ลูกล่อแม่เหล็ก, โครงร่างเสริมความแกร่ง |
armor | (อาร์'เมอะ) n. อาวุธ, ชุดอาวุธ, กองทัพติดอาวุธ, อวัยวะป้องกันภัยของสัตว์ (เช่น กระดองเต่า) , เกราะ. -vt. ติดอาวุธ |
armour | (อาร์'เมอะ) n. อาวุธ, ชุดอาวุธ, กองทัพติดอาวุธ, อวัยวะป้องกันภัยของสัตว์ (เช่น กระดองเต่า) , เกราะ. -vt. ติดอาวุธ |
articulator | (อาร์ทิค'คิวเลเทอะ) n. ผู้ที่พูดหรือออกเสียงได้ชัดเจน, สิ่งที่มีเสียงที่ชัดเจน, อวัยวะที่ใช้สำหรับพูด (เช่น ลิ้น, ริมฝีปาก) |
ascogonium | (แอสคะโก'เนียม) n., (pl. -nia) อวัยวะสืบพันธุ์ตัวเมียในเชื้อราบางชนิด. -ascogonial adj. (fungi) |
asexual | (อะเซค'ชวล) adj. ไร้เพศ, ไม่ใช้อวัยวะเพศ. -asexuality n., Syn. nonsexual |
athetic supporter | ที่ปกคลุมอวัยวะสืบพันธุ์ของนักกีฬา., Syn. jockstap |
atrophy | (เอ'ทระฟี) n. ภาวะฝ่อลีบหรือหดเหี่ยวของอวัยวะหรือส่วนของอวัยวะในร่างกาย, การเสื่อม, การลดลง. -vt., vi. เสื่อม ถอย, ฝ่อลีบ. |
autogaft | (ออ'โทกราฟทฺ) n. เนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่ย้ายไปเพาะที่ส่วนอื่นของร่างกายเดียวกัน, Syn. autoplast autotransplant |
autonomic nervous system | ระบบประสาทส่วนกลางที่เกี่ยวกับการทำงานเอง ของอวัยวะในร่างกาย |
castration complex | n. โรคกลัวสูญเสียอวัยวะสืบพันธุ์ |
conceptacle | (คันเซพ'ทะเคิล) n. อวัยวะหรือโพรงที่ล้อมหรือหุ้มอวัยวะสืบพันธุ์, See also: conceptacular adj. |
corpus | (คอร์'พัส) n. ร่างกาย, ศพ, รวมเรื่องเขียนขนาดใหญ่หรือสมบูรณ์, รวมวรรณกรรม, อวัยวะหรือส่วนของร่างกาย ที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่าง, เงินก้อนใหญ่, Syn. corpse; -Phr. corpus delicti ข้อเท็จจริงที่ได้ทำผิดกฎหมาย -Phr. corpus juris ประมวลหลักธ |
cunnilingus | (คันนะลิง'กัส) n. การกระตุ้นอวัยวะเพศของ สตรีด้วยปากและลิ้น. |
diecious | (ไดอี'เชิส) adj. ซึ่งมีอวัยวะเพศตัวผู้และเพศตัวเมียอยู่แยกจากกัน., Syn. dioecious |
dioecious | (ไดอี'ชัส) adj. ซึ่งมีอวัยวะเพศตัวผู้และอวัยวะเพศตัวเมียอยู่แยกจากกัน, ซึ่งมีเพศต่างหาก, Syn. diecious |
disarm | (ดิสอาร์ม') v. ปลดอาวุธ, ลดอาวุธ, เอาอวัยวะป้องกันตัวออก, ขจัดอารมณ์, ปลดเปลื้อง., See also: disarmer n. ดูdisarm |
diverticulum | (ไดเวิทิค'คิวลัม) n. ถุงที่ผนังอวัยวะ., See also: diverticular adj. -pl. diverticula |
donor | (โด'เนอะ) n. ผู้บริจาค, ผู้บริจาคเลือด, เนื้อเยื่อหรืออวัยวะ, See also: donorship n. ดูdonor, Syn. giver |
emunctory | n. ส่วนของอวัยวะหรืออวัยวะที่ทำหน้าที่ขับถ่ายของเสียออก จากร่างกาย (เช่น ผิวหนัง, ไต) adj. เกี่ยวกับการขับถ่าย |
entrails | (เอน'เทรลซ) n., pl. เครื่องใน, อวัยวะภายใน, ไส้พุง, Syn. guts |
exhibitionist | (เอคซะบิเชิน' นิสทฺ) n. ผู้ชอบแสดงออก, ผู้ชอบอวด, ผู้ชอบอวดอวัยวะสืบพันธุ์ของตนแก่ผู้อื่น., See also: exhibitionistic adj. |
fructification | n. การออกผล, การให้กำเนิดผล, ผลไม้, อวัยวะที่ให้กำเนิดผล |
fundus | (ฟัน'ดัส) n. ฐานของอวัยวะ, ส่วนที่อยู่ตรงข้ามกับหรือห่างไกลจากรูเปิด. , ส่วนบนของกระเพาะที่ต่อกับหลอดอาหาร, See also: fundic adj. -pl. fundi |
gametangium | n. อวัยวะสร้างgamete (ดู) -pl. gametangia |
geld | (เจลดฺ) vt. ตอน (สัตว์) , ตัวอวัยวะสืบพันธุ์ออก, ภาษีที่ดินที่จ่ายกับกษัตริย์., See also: gelder n. |
genital | (เจน'นิเทิล) adj. เกี่ยวกับอวัยวะสับพันธ์, เกี่ยวกับการกำเนิด, เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ |
genitalia | (เจนนิเท'เลีย) n., pl. อวัยวะสืบพันธุ์, See also: genitalic, adj. |
genitals | (เจน'นิเทิลซ) n., pl. อวัยวะสับพันธ์ |
gizzard | (กีซ'เซิร์ด) n. เครื่องใน, อวัยวะภายใน |
gland | (แกลนดฺ) n. ต่อม, อวัยวะคัดหลั่ง. |
heterotaxis | n. อวัยวะหรือส่วนของอวัยวะที่อยู่ผิดตำแหน่งการจัดรูปแบบที่ผิดปกติ. |
homograft | n. เนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่ย้ายและปะในศัลยกรรมตกแต่งระหว่างสัตว์จำพวกเดียวกันแต่ต่างแบบของ genes (genotype), Syn. isograft, isoplastic graft |
homologue | (ฮอมมะลอก') n. ส่วนที่คล้ายคลึงกัน, สารประกอบที่มีแบบทางเคมีเหมือนกันแต่ต่างกันที่ส่วนประกอบบางอย่าง, อวัยวะหรือส่วนที่คล้ายคลึงกัน |
internal | (อินเทอ'เนิล) adj. ภายใน, ข้างใน n. อวัยวะภายใน, เครื่องใน., See also: internality, internalness n., Syn. inward, interior |
jockstrap | (โจค'สแทรพ) n. กระจับหุ้มบังอวัยวะสืบพันธุ์ของชายในการแข่งกีฬา |
larynx | (ลาร์'ริงซฺ) n. กล่องเสียง, อวัยวะเปล่งเสียงที่คอ |
loin | (ลอยนฺ) n. เนื้อตะโพก, เนื้อท่อนกลางของคนและสัตว์, See also: loins n., pl. บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์. -Id. gird up one's loins เตรียมทดสอบกำลังและความอดทน |
masturbation | (แมสเทอเบ'เชิน) n. การกระทำกามอัตโนมัติ, การกระตุ้นอวัยวะเพศของตัวเองเพื่อให้ถึงจุดสุดยอด., See also: masturbational adj. masturbatory adj. |
medulla oblongata | เป็นส่วนล่างสุดที่ต่อกับกระดูกไขสันหลังตรง FORAMEN MAGNUM เป็นรูปพิรามิด ทำหน้าที่ควบคุมอวัยวะการหายใจ หัวใจ การบีบและขยายตัวของหลอดเลือด การไอ และการจาม |
Aplastic Anemia | โรคโลหิตจางที่มีลักษณะบกพร่องของอวัยวะที่ก่อให้เกิดเลือด (เช่นไขกระดูก) และเกิดจากสารพิษ (เช่นสารเคมีหรือรังสีเอกซ์) หรือไม่ทราบสาเหตุในแหล่งกําเนิด |
dismemberment | (n) การสูญเสียอวัยวะ |
Doctrine of Signature | [doc-trin of sik-na-tur] (n) การบำบัดรักษาโรคด้วยส่วนของพืชที่มีลักษณะพ้องจองกับอวัยวะหรืออาการนั้นๆ, สัญลักษณาการบำบัด (สญฺญลกฺษณ+อาการฺ+ขจดฺ), Syn. สัญลักษณ์บำบัด |
fluffer | (n) แม่เล้าหรือพ่อโลม ของนักแสดง เพื่อต้องการอวัยวะเพศชายแข็งตัว นิยมมีเฉพาะในการถ่ายทำหนังโป๊ |
fluoroscopy | (n) การตรวจดูอวัยวะภายในร่างกายโดยใช้รังสี ซึ่งภาพที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะเป็น real time แสดงบนหน้าจอ monitor digital fluoroscopy |
foreign body | สิ่งหรือสารแปลกปลอมที่พบภายในร่างกาย อวัยวะ หรือเนื้อเยื่อที่ปกติไม่มีอยู่ในร่างกาย เช่น เศษอาหารในหลอดลม ฝุ่นในดวงตา |
hose | (n, vt, slang) 1. อวัยวะเพศชาย 2. มีเพศสัมพันธ์กับผู้หญิง 3. โกหก หลอกลวง โกง |
Hypertrophy | การขยายตัวผิดปกติของส่วนหรืออวัยวะ;ที่เจริญเติบโตมากเกินไป |
kaitae | [kai tay] (n, aux, verb) อวัยวะเพศของด.ช.พีรกิจหรือเตเต้ มีขนาดเล็กที่สุดในโลกแต่สามารถใช้งานได้มากกว่าไข่พุก หรือ ไข่ม้า see 'KaiPug' for more information, See also: A. KaiBright, KaiYuay, Syn. KaiPug |
kuy | [ควย] (n, adj) อวัยวะเพศของผุ้ชาย ส่วนใหญ่มักใช้ในกรณีด่ากันหาว่าเป็นของต่ำ หรือยังไงประมาณนี้ |
meatstick | (n, slang) อวัยวะเพศชาย |
pelvic organ prolapse | (n, medical, term) อวัยวะอุ้งเชิงกรานหย่อน |
regard | [รี-การ์ด] (n) อวัยวะเพศ ของม้าน้ำ |
Sarcoidosis | เป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับการสะสมที่ผิดปกติของเซลล์ที่อักเสบ (ชนิดของเนื้องอกที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเม็ด) ที่สามารถสร้างเป็นก้อนภายในอวัยวะของร่างกาย |
stomatology | [สโตมาโตโลจี] (n) โอษฐวิทยา, การศึกษาเกี่ยวกับโรคชนิดต่างๆ ที่พบในช่องปากและอวัยวะข้างเคียง |
Stoneflies | (n) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: Stonefly, Plecoptera, Stonefly, Syn. Plecoptera |
willy | (slang) อวัยวะเพศชาย |
จู๋ | (n, slang) อวัยวะเพศชาย (คำสำหรับเด็ก), Syn. penis |