recidivism; recidivation | ๑. การกลับเป็นโรค [ ดู recurrence และ relapse ประกอบ ]๒. การก่ออาชญากรรมซ้ำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recidivist | ๑. ผู้มักมีโรคกลับ๒. ผู้ก่ออาชญากรรมซ้ำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recidivation; recidivism | ๑. การกลับเป็นโรค [ ดู recurrence และ relapse ประกอบ ]๒. การก่ออาชญากรรมซ้ำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
cybercrime | อาชญากรรมไซเบอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
crime | อาชญากรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
crime | อาชญากรรม, ความผิดอาญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
crime, infamous | อาชญากรรมที่น่าอับอาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
crime, war | อาชญากรรมสงคราม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
guilt, war | ความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
infamous crime | อาชญากรรมที่น่าอับอาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
infamous crime | อาชญากรรมที่น่าอับอาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
war crime | อาชญากรรมสงคราม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
war crime | อาชญากรรมสงคราม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
war guilt | ความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
war guilt | ความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Alcoholism and crime | พิษสุราเรื้อรังกับอาชญากรรม [TU Subject Heading] |
Citizen crime reporting | การแจ้งข้อมูลอาชญากรรมของพลเมือง [TU Subject Heading] |
Commercial crimes | อาชญากรรมทางธุรกิจ [TU Subject Heading] |
Computer crimes | อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Convention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide (1948) | อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมทำลายล้างเผ่าพันธุ์ (ค.ศ. 1948) [TU Subject Heading] |
Crime | อาชญากรรม [TU Subject Heading] |
Crime against humanity | อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ [TU Subject Heading] |
Crime and age | อาชญากรรมกับอายุ [TU Subject Heading] |
Crime and the press | อาชญากรรมกับหนังสือพิมพ์ [TU Subject Heading] |
Crime in mass media | อาชญากรรมในสื่อมวลชน [TU Subject Heading] |
Crime on television | อาชญากรรมในโทรทัศน์ [TU Subject Heading] |
Crime prevention | การป้องกันอาชญากรรม [TU Subject Heading] |
Crime prevention and architectural design | การป้องกันอาชญากรรมกับการออกแบบสถาปัตยกรรม [TU Subject Heading] |
Crimes aboard aircraft | อาชญากรรมบนเครื่องบิน [TU Subject Heading] |
Crimes against | อาชญากรรมต่อ [TU Subject Heading] |
Criminal investigation | การสืบสวนอาชญากรรม [TU Subject Heading] |
Criminal registers | ทะเบียนอาชญากรรม [TU Subject Heading] |
Drug abuse and crime | ยาเสพติดกับอาชญากรรม [TU Subject Heading] |
Drug abuse and crime | พฤติกรรมการใช้ยาในทางที่ผิดกับอาชญากรรม [TU Subject Heading] |
Electronics in crime prevention | อิเล็กทรอนิกส์ในการป้องกันอาชญากรรม [TU Subject Heading] |
Fear of crime | ความกลัวอาชญากรรม [TU Subject Heading] |
Organized crime | ขบวนการอาชญากรรม [TU Subject Heading] |
Prevention | การป้องกันใช้เป็นหัวเรื่องย่อยตามหลัง สภาวะที่ไม่ต้องการให้เกิดโรคของสัตว์ , การป้องกันใช้เป็นหัวเรื่องย่อยตามหลัง สภาวะที่ไม่ต้องการให้เกิดโรคของสัตว์ เช่น อาชญากรรมข้ามชาติ--ไทย--การป้องกัน ไก่--โรค--การป้องกัน [TU Subject Heading] |
Punishment in crime deterrence | การลงโทษเพื่อปกป้องปรามอาชญากรรม [TU Subject Heading] |
Sex crimes | อาชญากรรมทางเพศ [TU Subject Heading] |
Transnational crime | อาชญากรรมข้ามชาติ [TU Subject Heading] |
True crime television programs | รายการโทรทัศน์เรื่องจริงแนวอาชญากรรม [TU Subject Heading] |
Unemployment and crime | การว่างงานกับอาชญากรรม [TU Subject Heading] |
United Nations Convention Against Transnational Organized Crime (2000) | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร (ค.ศ. 2000) [TU Subject Heading] |
Victims of crimes | เหยื่ออาชญากรรม [TU Subject Heading] |
War crimes | อาชญากรรมสงคราม [TU Subject Heading] |
White collar crimes | อาชญากรรมปกขาว [TU Subject Heading] |
ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านอาชญากรรมข้ามชาติ [การทูต] |
Regional Ministerial Conference on People Smuggling, Trafficking in Persons and Related Transnational Crime | กระบวนการบาหลี เกี่ยวกับการลักลอบขนคนเข้าเมือง การค้ามนุษย์ และอาชญากรรมข้ามชาติในเอเชียและแปซิฟิก [การทูต] |
Convention against Transnational Organized Crime | อนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ [การทูต] |
Extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง [การทูต] |
Genocide | การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที [การทูต] |
International Law Enforcement Academy | สถาบันฝึกอบรมระหว่างประเทศว่าด้วยการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย จัดตั้งขึ้นในประเทศไทยเมื่อเดือนกันยายน 2541 เป็นโครงการ 3 ปี (ระหว่าง 2541-2544) โดยสหรัฐอเมริกาให้เงินสนับสนุน 3 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยจัดการฝึกอบรมแก่ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และจีน เพื่อเสริมศักยภาพการดำเนินการตามกฎหมายในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ระหว่างประเทศ [การทูต] |
Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] |
organized criminal group | กลุ่มองค์กรอาชญากรรม [การทูต] |
Personal Inviolability of Diplomatic Agents | หมายถึง ตัวบุคคลของตัวแทนทางทูตจะถูกละเมิดมิได้ กล่าวคือ มาตรา 29 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในเรื่องนี้ไว้ว่า ?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทุตจะไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด ๆ ให้รัฐผู้รับปฏิบัติต่อตัวแทนทางการทูตด้วยความเคารพตามสมควร และดำเนินการที่เหมาะสมทั้งมวลที่จะป้องกันการประทุษร้ายใด ๆ ต่อตัวบุคคล เสรีภาพ หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ นั้น ได้ถือเป็นปัจจัยหลักในการที่ให้ผู้แทนทางการทูตได้รับสิทธิและความคุ้มกัน ทั้งมวล ถึงกับมีการพูดกันว่า ผู้ใดประทุษร้ายต่อตัวเอกอัครราชทูต จักถือว่าเป็นการทำร้ายต่อประมุขของประเทศซึ่งผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเป็น ตัวแทนอยู่ ทั้งยังถือว่าเป็นการยังผลร้ายต่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาชาติทั้ง มวลด้วยตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1964 ชายหนุ่มญี่ปุ่นคนหนึ่งซึ่งมีจิตวิปลาส ได้ใช้มีดแทง นายเอ็ดวิน โอไรส์ชาวเออร์ เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศญี่ปุ่น ในเขตนอกสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ในกรุงโตเกียว รัฐมนตรีว่าการกระทวงมหาดไทยญี่ปุ่นได้ลาออกจากตำแหน่งทันทีและรุ่งขึ้นใน วันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1964 นายอิเคดะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นในสมัยนั้น ได้ทำการขอโทษต่อประชาชนชาวอเมริกันทางวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่ได้มีการดำเนินการในทำนองนี้ และการที่นายกรัฐมนตรีอิเคดะได้ปฏิบัติดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่า การที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้นั้น มีความสำคัญมากเพียงใดตัวแทนทางการทูตจะถูกจับ ถูกฟ้องศาล หรือถูกลงโทษฐานประกอบอาชญากรรมนั้นไม่ได้ เพราะถือว่าผู้แทนทางการทูตมิได้อยู่ในอำนาจศาลของรัฐผู้รับ อย่างไรก็ดี หากผู้แทนทางการทูตกระทำความผิดอย่างโจ่งแจ้ง รัฐผู้รับอาจขอให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับไปยังประเทศของเขาได้ในทันที [การทูต] |
Senior Officials Meeting on Transnational Crime | การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านอาชญากรรมข้ามชาติ [การทูต] |
Transnational Organized Crime | อาชญากรรมข้ามชาติ [การทูต] |
United Nations Office on Drugs and Crime | สำนักงานว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ [การทูต] |
War Crimes | อาชญากรรมสงคราม ตามกฎบัตรต่อท้ายความตกลงว่าด้วยการพิจารณาลงโทษ อาชญากรสางคามที่สำคัญ ๆ ของฝ่ายอักษะยุโรป (European Axis) การกระทำต่อไปนี้ถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามคือ การละเมิดกฎหมายหรือประเพณีของการสงคราม เช่น การฆ่า การปฏิบัติอันโหดร้าย หรือการขับคนไปทำงานเยี่ยงทาส หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใด ซึ่งกระทำต่อราษฎรพลเรือนของดินแดนที่ถูกยึดครอง การฆ่าหรือปฏิบัติอย่างโหดร้ายต่อเชลยศึกหรือบุคคลในท้องทะเล การฆ่าตัวประกัน การปล้นสะดมทรัพย์สินสาธารณะหรือส่วนบุคคล การทำลายล้างตัวเมืองหรือหมู่บ้าน ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่จำเป็นในแง่การทหาร [การทูต] |
Crime | อาชญากรรม [การแพทย์] |
Crime Investigation | การตรวจพิสูจน์อาชญากรรม [การแพทย์] |
Crime without Victims | อาชญากรรมที่ปราศจากเจ้าทุกข์ [การแพทย์] |
Criminal | อาชญากรรม [การแพทย์] |
Criminal Psychology | อาชญากรรมจิตวิทยา [การแพทย์] |
chamber of horrors | (n) สถานที่แสดงวัตถุที่น่ากลัว (โดยเฉพาะห้องแสดงอาชญากรรมร้ายแรงในพิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้ง Madame Tussaud) |
crime | (n) อาชญากรรม, Syn. offense, outrage, violation |
criminal | (adj) เกี่ยวกับอาชญากรรม, Syn. unlawful, illegal |
dacoit | (n) โจรในประเทศพม่าหรืออินเดีย (ที่ก่ออาชญากรรมหรือลักทรัพย์), Syn. dakoit |
felonious | (adj) เกี่ยวกับความชั่วร้าย, See also: เกี่ยวกับอาชญากรรมที่รุนแรง, Syn. illegal, criminal, Ant. lawful, legal |
felony | (n) อาชญากรรม, See also: การฆาตกรรม, การข่มขืนกระทำชำเรา, การกระทำผิด, Syn. crime, misdeed, misbehavior, Ant. good, virtue |
go straight | (phrv) ดำรงชีวิตอย่างสุจริต (หลังจากทำผิดเช่น ทำอาชญากรรม เป็นคำไม่ทางการ) |
gangland | (n) โลกอาชญากรรม, See also: แวดวงอาชญากร |
hit | (vt) ฆ่า (ทางอาชญากรรม), See also: ทำฆาตกรรม |
up to no good | (idm) ทำสิ่งเลวร้าย (คำไม่เป็นทางการ), See also: กระทำอาชญากรรม, กระทำความผิด |
inside job | (n) อาชญากรรมที่กระทำโดยคนคุ้นเคยกัน (คำไม่เป็นทางการ) |
loiter with | (phrv) เดินเตร่เพื่อรอประกอบอาชญากรรม (ทางกฎหมาย) |
Mafia | (n) มาเฟีย, See also: สมาคมอาชญากรรมลับ, แกงค์มาเฟีย, Syn. criminal world, underworld |
neighborhood watch | (n) การเฝ้าระวังอาชญากรรมในละแวกบ้าน, Syn. neighbourhood watch |
neighbourhood watch | (n) การเฝ้าระวังอาชญากรรมในละแวกบ้าน, Syn. neighborhood watch |
record | (n) ประวัติอาชญากรรม, Syn. past crimes |
stiff | (sl) ศพ (ใช้เกี่ยวกับอาชญากรรม) |
swing for | (phrv) แขวนคอสำหรับ (การก่ออาชญากรรม) |
venue | (n) สถานที่มีการกระทำผิดกฎหมาย (ทางกฎหมาย), See also: สถานที่ก่ออาชญากรรม |
war crime | (n) อาชญากรรมระหว่างสงคราม |
war criminal | (n) การก่ออาชญากรรมระหว่างสงคราม |
wheelman | (n) คนขับรถหรือพาหนะชนิดอื่น, See also: โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรม |
caper | (เค'เพอะ) { capered, capering, capers } vi. กระโดดโลดเต้น n. การกระโดดโลดเต้น, การยั่วเย้า, อาชญากรรม -Id. (cut a caper การเล่นกล, การกระโดดโลดเต้น), Syn. skip, prank, frolic |
computer crime | อาชญากรรมคอมพิวเตอร์หมายถึง อาชญากรรมหรือความผิดที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น การแก้ไขตัวเลขในบัญชีเงินฝากของลูกค้า จนทำให้สามารถขโมย หรือยักย้ายถ่ายเทเงินออกไปได้ หรือการแอบเข้าไปดูและแก้ไขคะแนนสอบ เป็นต้น |
crime | (ไครมฺ) n. อาชญากรรม, การกระทำอาชญากรรมและผู้กระทำ, ความผิดร้ายแรง, บาป, การกระทำที่โง่ไร้ความสำนึกหรือน่าอับอาย, Syn. offense, tort, violation |
criminal | (คริม'มะเนิล) adj. เกี่ยวกับอาชญากรรม, เกี่ยวกับอาญา, มีความผิดทางอาญา, ไร้ความสำนึก, โง่ n. อาชญากร, Syn. culpable, disgraceful |
criminalistics | (คริมมิแนลลิส'ทิคซฺ) n. อาชญากรรมวิทยา, See also: criminality คริมมิแนล'ลิที n. ความเป็นอาญา, การกระทำที่เป็นอาชญากรรม |
criminology | (คริมินอล'โลจี) n. อาชญากรรมวิทยา, การศึกษาเกี่ยวกับอาชญากรรมและอาชญากร., See also: criminologic adj. ดูcriminology criminological adj. ดูcriminology criminologist n. ดูcriminology |
cyber | (ไซเบอร์) เป็นคำที่ใช้นำหน้าคำอื่น สื่อความหมายว่ามีลักษณะที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์หรือ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น cyberphobia หมายถึงโรคกลัวคอมพิวเตอร์ cyberporn หมายถึงภาพโป๊ที่มาทางอินเตอร์เน็ต cyberpunk หมายถึงผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในอาชญากรรมต่าง ๆ เช่น ขโมยใช้บัตรเครดิต |
law and order | n. การควบคุมและปราบปรามอาชญากรรมอย่างเข้มงวด. |
malefaction | (แมลละแฟค'เชิน) n. อาชญากรรม, การกระทำที่เลวร้าย, การกระทำผิด |