อาชีวะ | (n) occupation, See also: trade, vocation, profession, career, calling, Syn. อาชีว, อาชีพ, การงาน, การยังชีพ, การทำมาหากิน, Example: เขามีความพร้อมแล้วทางสถานะทางสังคม ในอันที่จะประกอบอาชีวะ เพราะจบการศึกษาแล้ว, Thai Definition: งานที่ทำเป็นประจำเพื่อเลี้ยงชีพ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
สัมมาอาชีวะ | (n) right livelihood, Syn. สัมมาชีพ, Example: ผู้เกียจคร้านที่จะประกอบสัมมาอาชีวะก็คอยจ้องแต่จะลักขโมยเขาเบียดเบียนเขา, Thai Definition: การเลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบที่ถูกต้อง |
มิจฉาอาชีวะ | น. การเลี้ยงชีพในทางผิด. |
สัมมาอาชีวะ | น. การเลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ. |
อาชีพ, อาชีว-, อาชีวะ | น. การเลี้ยงชีวิต, การทำมาหากิน |
อาชีพ, อาชีว-, อาชีวะ | งานที่ทำเป็นประจำเพื่อเลี้ยงชีพ. |
ทางสายกลาง | น. มรรคมีองค์ ๘ อันเป็นทางสายเดียวที่จะนำไปสู่ความดับทุกข์ ประกอบด้วย ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การกระทำชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจมั่นชอบ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง |
พฤติ, พฤติ- | ลักษณะความเป็นอยู่, อาชีวะ |
มรรค, มรรค-, มรรคา | ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ้นทุกข์ เป็น ๑ ในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เรียกเต็มว่า มรรคมีองค์ ๘ ประกอบด้วย สัมมาทิฐิ–ความเห็นชอบ ๑ สัมมาสังกัปปะ–ความดำริชอบ ๑ สัมมาวาจา–การเจรจาชอบ ๑ สัมมากัมมันตะ–การงานชอบ ๑ สัมมาอาชีวะ–การเลี้ยงชีวิตชอบ ๑ สัมมาวายามะ–ความพยายามชอบ ๑ สัมมาสติ–ความระลึกชอบ ๑ สัมมาสมาธิ–ความตั้งใจชอบ ๑ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง. |
อัษฎางคิกมรรค | (อัดสะดางคิกะมัก) น. ทางปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ตามหลักพระพุทธ-ศาสนา ประกอบด้วยองค์ ๘ คือ ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจชอบ เรียกว่า อริยมรรคมีองค์ ๘ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง. |
occupational health | อาชีวะอนามัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
medicine, environmental and occupational | เวชศาสตร์สิ่งแวดล้อมและอาชีวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
environmental and occupational medicine | เวชศาสตร์สิ่งแวดล้อมและอาชีวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vocation | อาชีวะ, อาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
health, occupational | อาชีวะอนามัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Occupational therapy | อาชีวะบำบัด [เศรษฐศาสตร์] |
อาชีวะ | [āchīwa] (n) EN: trade ; occupation ; vocation ; profession ; career ; calling |
vocational | (adj) เกี่ยวกับวิชาชีพ, See also: เกี่ยวกับอาชีวะ, Syn. professional |
occupational therapy | อาชีวะบำบัด |
vocation | (โวเค'เชิน) n. อาชีพ, อาชีวะ, ความต้องการอย่างมาก หรือความโน้มเอียงในการประกอบอาชีพหนึ่ง, หน้าที่ของบุคคลหนึ่งที่ได้มอบหมายจากพระเจ้า, See also: vocational adj., Syn. employment, trade, job |
Fachoberschule | (n) |die, pl.Fachoberschulen| สถาบันวิชาชีพ, สถานศึกษาด้านอาชีพหรือโรงเรียนอาชีวะซึ่งเทียบเท่ากับโรงเรียนมัธยมปลาย จบไปได้ประกาศนียบัตรเป็น Fachhochschulreife |