Art, Italian | ศิลปะอิตาลี [TU Subject Heading] |
Arts, Italian | ศิลปกรรมอิตาลี [TU Subject Heading] |
Italy | อิตาลี [TU Subject Heading] |
Italy, Northern | อิตาลี (ภาคเหนือ) [TU Subject Heading] |
Italy, Southern | อิตาลี (ภาคใต้) [TU Subject Heading] |
Rome (Italy) | โรม (อิตาลี) [TU Subject Heading] |
Sicily (Italy) | ซิซิลี (อิตาลี) [TU Subject Heading] |
Venice (Italy) | เวนิส (อิตาลี) [TU Subject Heading] |
Asia Europe Meeting | การประชุมเอเชีย-ยุโรป " เป็นการประชุมระดับผู้นำจากเอเชีย 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ผู้นำจากยุโรป 15 ประเทศ คือ สหราช- อาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย และประธานคณะกรรมาธิการยุโรป การประชุมครั้งแรกมีขึ้น ที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2539 " [การทูต] |
Bangkok Process | เป็นการประชุมอย่างไม่เป็นทางการในระดับรัฐมนตรี เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นระหว่างกันอย่างตรงไปตรงมาและสร้างสรรค์เกี่ยวกับแนวทางในการสนับ สนุนกระบวนการสร้างความปรองดองภายในชาติและการพัฒนาประชาธิปไตยในพม่าตาม ?Roadmap towards Democracy in Myanmar? เดิมเรียกว่า Forum on International Support for National Reconciliation in Myanmar ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม Bangkok Process ครั้งแรกเมื่อ 15 ธันวาคม 2546 ที่กระทรวงการต่างประเทศ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศหรือผู้แทนพิเศษของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศจาก 12 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ออสเตรีย จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น พม่า สิงคโปร์ และไทย รวมทั้งนาย Razali Ismail เป็นผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติว่าด้วยพม่าเข้าร่วม [การทูต] |
Congress of Vienna | เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต] |
European Union | สหภาพยุโรป สหภาพยุโรปได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับ นับแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้า (European Coal and Steal Community) ในปี พ.ศ. 2494 ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดทำสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) ได้มีการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community : EEC) และประชาคมพลังงานปรมาณู (Euratom) ในช่วงเวลานั้นจึงเรียกชื่อกันว่าประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ต่อมาได้มีการรวม 3 ประชาคมเข้าด้วยกันและได้มีกฎหมายยุโรปตลาดเดียว (Single European Act) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2530 เพื่อให้ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ขั้นตอนการเป็นตลาดร่วมและตลาดเดียวที่ สมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2535 ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อเป็นประชาคมยุโรป (European Communities : EC) ตั้งแต่ พ.ศ. 2530 ต่อมาเมื่อสนธิสัญญามาสทริชท์ (Maastricht Treaty) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2536 ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายและขั้นตอนให้ประชาคมยุโรปพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพยุโรป จึงได้เปลี่ยนมาเรียกชื่อในทางปฏิบัติว่า สหภาพยุโรป (European Union : EU) ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบันมีสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย [การทูต] |
Food and Agriculture Organization | องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2488 มีหน้าที่บรรเทาความอดอยากและหิวโหยของ ประชากรโลกด้วยการส่งเสริม และพัฒนาเกษตรกรรม การปรับปรุงโภชนาการ และแสวงหาความมั่นคงทางด้านอาหาร ปัจจุบันมีสมาชิก 171 ประเทศ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี " [การทูต] |
Great Powers | ประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต] |
North Atlanitc Treaty Organization | องค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] |
North Atlantic Treaty Organisation | องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2492 เป็นองค์การร่วมมือทางการทหาร มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 19 ประเทศคือ เบลเยี่ยม แคนาดา สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ฮังการี ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส สเปน ตุรกี สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
Organization of European Economic Cooperation | คือองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป สัญญาที่ก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 16 เมษายน ค.ศ.1948 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี โดยแม่ทัพของฝรั่งเศส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาที่ประจำอยู่ในเขตยึดครองในเยอรมนี (หลังเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง)จุดประสงค์สำคัญที่สุดขององค์การนี้คือ ต้องการให้ทวีปยุโรปมีภาวะเศรษฐกิจกลับคืนมาใหม่อย่างมั่นคง ด้วยการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก สำนักงานใหญ่ขององค์การนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสอย่างไรก็ดี บัดนี้ได้มีองค์การตั้งขึ้นใหม่แทนองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป เรียกว่า องค์การร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Cooperation and Development ) หรือ OECD สำหรับสัญญาจัดตั้งองค์การโอดีซีดีนี้ ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1961จุดประสงค์สำคัญขององค์การโออีซีดี มีดังนี้1. เพื่อให้บรรดาประเทศสมาชิกได้มีความเติบโตทางเศรษฐกิจ มีแรงงาน อาชีพ และมาตรฐานการครองชีพให้มากที่สุด ขณะเดียวกันก็พยายามรักษาเสถียรภาพทางการคลังไว้เพื่อเป็นการเกื้อกูลต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจของโลก2. ระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ให้ประเทศสมาชิกมีโอกาสขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมั่นคง รวมทั้งในประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกด้วย3. ต้องการมีส่วนเกื้อกูลต่อการขยายตัวทางการค้าในรูปพหุภาคี และปราศจากการกีดกันแต่อย่างใด ตามพันธกรณีระหว่างประเทศองค์การสำคัญในองค์การโออีซีดีคือคณะมนตรี ( Council ) ซึ่งประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด มีคณะกรรมการบริหารรวมทั้งเลขาธิการ สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] |
Schengen States | กลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปบางประเทศที่ยอมรับกันให้ประชาชนของแต่ละประเทศ สามารถเดินทางไปมาถึงกันและเข้าเมืองได้โดยไม่มีการตรวจลงตราหรือมีการควบ คุมใดๆ ระหว่างกัน และสำหรับประชาชนจากประเทศที่สาม หากได้รับอนุญาตให้เดินทางไปประเทศหนึ่งประเทศใดในกลุ่มประเทศนี้แล้ว จะสามารถเดินทางต่อไปประเทศอื่น ๆ ในกลุ่มนี้ได้โดยไม่มีการควบคุม สมาชิกประกอบด้วย เบลเยี่ยม เยอรมนี ฝรั่งเศส กรีซ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย โปรตุเกส สวิตเซอร์แลนด์ และสเปน [การทูต] |
World Food Summit | การประชุมสุดยอดอาหารโลก " จัดโดย FAO ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี ระหว่างวันที่ 13-17 พฤศจิกายน 2539 เป็นการประชุมระดับผู้นำรัฐบาล เพื่อสร้างเจตนารมณ์ด้าน การเมือง และข้อผูกพันระหว่างประเทศให้เกิดความมั่นคงด้านอาหาร และการขจัดปัญหาความหิวโหยสำหรับประชากรโลก " [การทูต] |
Western European Union | องค์การความร่วมมือทางด้านการทหารของประเทศในทวีปยุโรป ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ คือ เบลเยี่ยม เยอรมนี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ สเปน ฝรั่งเศส กรีซ ลักเซมเบิร์ก โปรตุเกส และสหราชอาณาจักร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2501 [การทูต] |
dago | (n) คำที่มีความหมายดูถูกใช้เรียกคนที่มาจากอิตาลี สเปน หรือโปรตุเกส |
Etruria | (n) ดินแดนทางชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของแหลมอิตาลี |
fascism | (n) ลัทธิฟาสซิสต์, See also: ลัทธิชาตินิยมในอิตาลีก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง |
irredentism | (n) ลัทธิสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืน (ในอิตาลีปีค.ศ.1878) |
Italian | (adj) เกี่ยวกับอิตาลี |
Italian | (n) ชาวอิตาลี |
Italian | (n) ภาษาอิตาลี |
Italic | (adj) เกี่ยวกับอิตาลีโบราณ |
Italy | (n) ประเทศอิตาลี, Syn. Italia |
Italy | (n) อิตาลี, Syn. Italia |
Machiavelli | (n) รัฐบุรุษของอิตาลีในช่วงปีค.ศ.1469-1527 |
madonna | (n) คำเรียกผู้หญิงในภาษาอิตาลี, Syn. madam |
majolica | (n) เครื่องเคลือบดินเผาของอิตาลี |
marchese | (n) ขุนนางอิตาลีที่มีตำแหน่งเหนือกว่า count, See also: ตำแหน่ง marguis |
Marengo | (n) หมู่บ้านในอิตาลี |
Michelangelo | (n) จิตรกรชื่อดังของอิตาลี |
Neapolitan | (adj) เกี่ยวกับชาวเนเปิลในอิตาลี |
Neapolitan | (n) ชาวเนเปิลในอิตาลี |
pasta | (n) พาสต้า, See also: อาหารอย่างหนึ่งของอิตาลี |
piazza | (n) บริเวณลานสาธารณะของเมือง (โดยเฉพาะในอิตาลี), Syn. town square |
Pompeii | (n) เมืองในอิตาลีที่เคยถูกทำลายภูเขาไฟวิสุเวียสระเบิด |
quattrocentist | (n) ศิลปินหรือนักเขียนของอิตาลีในช่วงศตวรรษที่ 15 |
quattrocento | (n) ศิลปะและวรรณคดีของอิตาลีในช่วงศตวรรษที่ 15 |
ricotta | (n) เนยอิตาลีทำจากหางนม, See also: เนยแข็งที่ทำจากนม whole milk หรือหางนมของสหรัฐอเมริกา |
Rome | (n) กรุงโรมของประเทศอิตาลี |
salami | (n) ไส้กรอกอิตาลี (รสจัด) |
signor | (n) คำเรียกผู้ชายในภาษาอิตาลี, See also: ผู้ชาย, สุภาพบุรุษ |
signora | (n) คำเรียกผู้หญิงที่แต่งงานแล้วในภาษาอิตาลี, See also: มาดาม, คุณนาย, นาง |
signorina | (n) คำเรียกผู้หญิงที่ยังไม่ได้แต่งงานในภาษาอิตาลี, See also: เด็กสาว, ผู้หญิงที่ยังไม่แต่งงาน |
spaghetti | (n) สปาเก็ตตี้, See also: อาหารประเภทเส้นของอิตาลี |
Sybaris | (n) เมืองหลวงของกรีกในสมัยโบราณอยู่ทางตอนใต้ของอิตาลี |
Tuscan | (n) ภาษามาตรฐานของประเทศอิตาลี |
Venetian | (adj) เกี่ยวกับกรุงเวนิส (ประเทศอิตาลี), See also: เกี่ยวกับชาวเวนิส ภาษา หรือวัฒนธรรมของชาวเวนิส |
Venice | (n) เวนิส (ในประเทศอิตาลี) |
Venice | (n) กรุงเวนิส (ในประเทศอิตาลี) |
Vesuvius | (n) ภูเขาไฟแถบตอนใต้ของประเทศอิตาลี |
wop | (n) คนอิตาลี (คำสแลงหยาบ), See also: ผู้มีเชื้อสายอิตาลี |
axis | (แอค' ซิส) n., (pl. axes) แกน, เพลา, เส้นศูนย์กลาง, สัมพันธมิตร, แนวหลักในการพัฒ-นาหรือเคลื่อนที่, กระดูกสันหลังที่คอ (ชิ้นที่ 2) , อักษะ (เยอรมัน ญี่ปุ่นและอิตาลีในสงครามโลกครั้งที่ 2) , ชื่อกวางในอินเดียและลังกา, Syn. coalition |
galileo | (แกลลิลี'โอ) n. นักฟิสิกส์และนักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี |
hannibal | n. แม่ทัพชาวCarthaginianที่ยกทัพข้ามภูเขาแอลป์มาตีอิตาลี |
italian | (อิแทล'เยิน) adj. เกี่ยวกับอิตาลี (ประเทศ, ภาษา, ผู้คนและอื่น ๆ) . n. ชาวอิตาลี, ภาษาอิตาลี., See also: italianesque adj. |
italic | (อิแทล'ลิค) adj. เกี่ยวกับแบบหนังสือ ตัวเอียง, เกี่ยวกับอิตาลี. n. หนังสือแบบตัวเอียง, สาขา หนึ่งของภาษาตระกูล Indo-European |
italy | (อิท'ทะลี) n. อิตาลี., Syn. Italia |
lira | (เลีย'ระ) n. เหรียญอะลูมินัมและหน่วยเงินตราของอิตาลี pl. lire, liras |
macaroni | (แมคคะโร'นี) n. มะกะโรนีเป็นหลอดกลวงสั้น ๆ ของอิตาลีมักรับประทานกับน้ำซอสมะเขือ, Syn. maccaroni |
piazza | (พีแอซ'ซะ, -แอท'ซะ, -แอด'ซะ) n. บริเวณลานสาธารณะของเมือง (โดยเฉพาะในอิตาลี) , ตลาด, ระเบียง, เฉลียง, ทางเดินที่มีหลังคา pl. piazzas, piazze |
pizza | (พิท'ซะ) n.ขนมแบบยัดไส้ที่ทำด้วยแป้งอบและโรยเนยแข็งและซอสมะเขือเทศ (แบบอิตาลี) |
pompeii | (พอมเพ'อี) n. ชื่อเมืองโบราณในอิตาลีเป็นเมืองที่เคยถูกภูเขาไฟระเบิดทับในปี ค.ศ.79, See also: Pompeian, Pompeiian adj., n. |
prefect | (พรี'เฟคทฺ) n. เจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ในฝรั่งเศสหรืออิตาลี, นายอำเภอ, เจ้าเมือง, เจ้าหน้าที่ของโรมันโบราณ, หัวหน้าชั้น, หัวหน้านักเรียน., See also: prefectorial adj., Syn. praefect. |
roman | (โร'เมิน) adj. (เกี่ยวกับ) กรุงโรมโบราณ, อาณาจักรโรมันโบราณ, ชาวโรม, ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก, เลขโรมัน n. ชาวโรม, ภาษาอิตาลีในกรุงโรม, See also: roman n. อักษรโรมัน |
rome | (โรม) n. กรุงโรม (เมืองหลวงของอิตาลี) |
rubicon | (รู'บะคอน) n. ชื่อแม่น้ำในภาคเหนือของอิตาลี -Phr. (cross (pass) the Rubicon ตัดสินใจอย่างเด็ดเดี่ยว) |
salami | (ซะลา'มี) n. ไส้กรอกอิตาลีชนิดหนึ่งที่ใส่กระเทียม |
spaghetti | (สพะเกท'ที) n. อาหารเส้นยาวอิตาลีที่ใช้กินกับเนื้อ มะเขือเทศและอื่น ๆ , หลอดฉนวนเล็ก ๆ |
venice | (เวน'นิส) n. กรุงเวนิส, เป็นเมืองท่าในภาคอีสานของอิตาลีสร้างอยู่บนเกาะเล็ก ๆ |
vermicelli | (เวอมิเซล'ลิ) n. เส้นหมี่อิตาลีคล้ายสปาเกตตี้แต่เส้นเล็กกว่า |
vesuvius | (วะซู'เวียส) n. Mountชื่อภูเขาไฟในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของอิตาลี |
ASRoma | (name) เป็นสโมสรฟุตบอลชั้นนำของอิตาลี ตั้งอยู่ในกรุงโรมเมืองหลวงของประเทศอิตาลี |
carrara | (n) หินอ่อนคาร์รารา จากเหมืองคาร์รารา ประเทศอิตาลี เป็นหินอ่อนสีขาวหรือน้ำเงินเทา ใช้ประดับตกแต่งอาคาร |
Musixmatch | [มิว-สิก-เเมด] (name, org) มิวสิคซ์แมทช์ (Musixmatch) คือบริษัทข้อมูลเพลงของอิตาลีและเป็นแพลตฟอร์มที่ให้ผู้ใช้ค้นหาและแบ่งปันเนื้อเพลงพร้อมคำแปล เป็นแพลตฟอร์มที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีผู้ใช้ 80 ล้านคน (ผู้ใช้งาน 50 ล้านคน) เนื้อเพลง 8 ล้านคน และพนักงานมากกว่า 130 คน |
pepperoni | [pĕp'ə-rō'nē] (n) อาหารประเภทไส้กรอกมีรสจัดของอิตาลี มักทำจากเนื้อหมูหรือเนื้อวัว ปนกับเครื่องเทศ เวลารับประทานอาจหั่นเป็นชิ้นบางๆ หรือใช้เป็นหน้าของพิซซ่าได้ |
portolan chart | [พอร์โทลาน ชาร์ท] (n) แผนที่การเดินเรือโบราณก่อนที่จะมีการใช้เส้นรุ้งและเส้นแวง แผนที่สื่อสารโดยการบรรยายลักษณะที่เป็นที่น่าสังเกตของอ่าวและฝั่งทะเลอย่างละเอียดบนแผนที่ เป็นแผนที่่ที่เขียนขึ้นเป็นครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1300 ในอิตาลีและสเปน การใช้อ่าวและฝั่งทะเลเป็นหลักทำให้ใช้ได้เฉพาะในการเดินเรือเลียบฝั่งทะเลเท่านั้น (แปลจาก wikipedia.org) |
The Boot | (n, slang) ประเทศอิตาลี (รูปร่างคล้ายรองเท้าบู๊ต) |
แผนที่การเดินเรือพอร์โทลาน | (Portolan chart) แผนที่การเดินเรือโบราณก่อนที่จะมีการใช้เส้นรุ้งและเส้นแวง แผนที่สื่อสารโดยการบรรยายลักษณะที่เป็นที่น่าสังเกตของอ่าวและฝั่งทะเลอย่างละเอียดบนแผนที่ เป็นแผนที่่ที่เขียนขึ้นเป็นครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1300 ในอิตาลีและสเปน การใช้อ่าวและฝั่งทะเลเป็นหลักทำให้ใช้ได้เฉพาะในการเดินเรือเลียบฝั่งทะเลเท่านั้น (แปลจาก wikipedia.org) |