Hormone therapy | การรักษาด้วยฮอร์โมน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Thyroid hormones | ธัยรอยด์ฮอร์โมน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Adrenal cortex hormones | ฮอร์โมนเปลือกต่อมหมวกไต [TU Subject Heading] |
Andropause | ภาวะพร่องฮอร์โมนเพศชาย [TU Subject Heading] |
Congenital hypothyroidism | ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด [TU Subject Heading] |
Estrogen replacement therapy | การรักษาด้วยฮอร์โมนเพศหญิงทดแทน [TU Subject Heading] |
Gonadal steroid hormones | ฮอร์โมนเพศ [TU Subject Heading] |
Growth hormone | ฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโต [TU Subject Heading] |
Hormone replacement therapy | การรักษาด้วยฮอร์โมนทดแทน [TU Subject Heading] |
Hormones | ฮอร์โมน [TU Subject Heading] |
Human growth hormone | ฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโตของมนุษย์ [TU Subject Heading] |
Hyperparathyroidism | ภาวะฮอร์โมนต่อมพาราไทรอยด์สูง [TU Subject Heading] |
Hypothyroidism | ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน [TU Subject Heading] |
Parathyroid hormone | ฮอร์โมนต่อมพาราไทรอยด์ [TU Subject Heading] |
Plant hormones | ฮอร์โมนพืช [TU Subject Heading] |
Thyroid hormones | ไทรอยด์ฮอร์โมน [TU Subject Heading] |
ACTH Producing Tumor | เนื้องอกหลั่งฮอร์โมนกระตุ้นเปลือกต่อมหมวกไต [การแพทย์] |
Addison's Disease | แอดดิสัน, โรค; โรคแอ็ดดิสัน; โรคแอดิสัน; โรคของแอดดิสัน; โรคที่แอดรินัลคอร์เทกซ์ทำงานน้อยลงอย่างเรื้อรัง; ขาดฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก; โรคแอดดิสัน; การทำงานของต่อมหมวกไตน้อยไป [การแพทย์] |
Adenoma, Non-Secretory | อดีโนมาชนิดไม่หลั่งฮอร์โมน [การแพทย์] |
Adrenal Cortex Hormones | ต่อมหมวกไตส่วนเปลือก, ฮอร์โมน; เปลือกต่อมหมวกไต, ฮอร์โมน [การแพทย์] |
Adrenergic Neurohormone | แอดริเนอร์จิคนิวโรฮอร์โมน [การแพทย์] |
Adrenocortical Hormone | อะดรีโนคอร์ติคัลฮอร์โมน, ฮอร์โมนของเปลือกต่อมหมวกไต [การแพทย์] |
Adrenocorticoid Hormone | ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต [การแพทย์] |
Adrenocorticotrophic Hormone | ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมหมวกไต [การแพทย์] |
Adrenocorticotropic Hormone | แอดรีโนคอร์ติโกโทปิคฮอร์โมน, อะดริโนคอร์ติโคโทรปิคฮอร์โมน, ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมหมวกไตส่วนนอก, แอดรีโนคอรติโทรปิคฮอรโมน [การแพทย์] |
Aldosterone | แอลโดสเตอโรน, ฮอร์โมน; อัสโดสเตอโรน; แอลโดสตีโรน; ฮอร์โมนแอลโดสเตอโรน; แอลโดสเตอโรน; แอลโดสตีโรน; ฮอร์โมนอัลโดสเตอโรน; อัลโดสเตโรน [การแพทย์] |
Aldosterone Antagonists | อัลโดสเตอโรน แอนตาโกนิสต์l, แอลโดสเตอโรน, สารต้าน; ฤทธิ์ต้านการทำงานของฮอร์โมนแอลโดสเตอโรน; สารต้านฤทธิ์แอลโดสตีโรน [การแพทย์] |
Amine Hormone | เอมีนฮอร์โมน [การแพทย์] |
Androgens | แอนโดรเจน, ฮอร์โมน; ฮอร์โมนเพศชาย; แอนโดรเจนส์; ฮอร์โมนแอนโดรเจน; แอนโดรเจน; ฮอร์โมนเพศ; ฮอร์โมนทางเพศ [การแพทย์] |
Androsterone | แอนโดรสเตอโรน, ฮอร์โมน; แอนโดรสเตอโรน [การแพทย์] |
Anti-Estrogens | สารต่อต้านฮอร์โมนเพศหญิง [การแพทย์] |
Anti-Insulin Hormones | ฮอร์โมนต้านฤทธิ์อินสุลินในกระแสเลือด [การแพทย์] |
Antidiuretic Hormones | ฮอร์โมนที่ต้านการขับปัสสาวะ, ฮอร์โมนยับยั้งการขับปัสสาวะ, ฮอร์โมนเก็บน้ำ, ฮอร์โมนที่ห้ามปัสสาวะ, ฮอร์โมนที่กดกั้นการขับปัสสาวะ, ฮอร์โมนที่มีฤทธิ์ลดการขับถ่ายปัสสาวะ, ฮอร์โมนส์ต้านการขับปัสสาวะ [การแพทย์] |
Bleeding, Progestgen Withdrawal | เลือดออกหลังจากหยุดฮอร์โมนโปรเจสตาเจนแล้ว [การแพทย์] |
Calcitonin | แคลซิโทนิน, ฮอร์โมน;แคลซิโตนิน;คาลซิโตนิน;แคลซิโตนิน [การแพทย์] |
Calorigenic Effect | ผลของธัยรอยด์ฮอร์โมนต่อการใช้พลังงาน, ผลต่อการใช้พลังงาน [การแพทย์] |
Catabolic Hormones | ฮอร์โมนที่มีฤทธิ์แยกสลาย [การแพทย์] |
Catecholamines | แคทีโคลามีน, ฮอร์โมน;คะเตคอลอะมีน;แคเทโคลามินส์;แคทีคอลแอมีนส์;แคทีโคลามีน;แคตีโคลามีน;แคเธคอลามีนส์;แคททีโคลามีน;แคทีโคลามีน;การหลั่งแคติโคลามินส์ [การแพทย์] |
Cells, Antral G | เซลล์สร้างฮอร์โมนแกสตริน [การแพทย์] |
Cholecystokinin | โคลีซิสโตไคนิน, ฮอร์โมน;โคเลซิสโตไคนิน;ฮอร์โมนโคเลซิสโตไคนิน;โคลิซิสโตไคนิน;ฮอร์โมนโคลีซิสโตไคนิน [การแพทย์] |
Contraception, Hormonal | การคุมกำเนิดด้วยฮอร์โมน [การแพทย์] |
Corpus Luteum Deficiency | โปรเจนตีโรนน้อย, ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนไม่เพียงพอ, การพร่องของคอร์พัสลูเตียม [การแพทย์] |
Corpus Luteum Hormones | คอร์ปัสลูเตียม, ฮอร์โมน [การแพทย์] |
Corticosteroids | คอร์ติโคสตีรอยด์, ยาที่ใช้ลดอาการบวมและอักเสบของทางเดินหายใจ, ยาคอร์ติโคสเตอรอยด์, กลุ่มฮอร์โมนคอร์ติโคสเตียรอยด์, ยาคอร์ติโคสเตอรอยด์, สารพวกคอร์ติโคสตีรอยด์, คอร์ติโคสเตอรอยด์, ยาสเตียรอยด์ [การแพทย์] |
Corticosterone | คอร์ติโคสเตอโรน, ฮอร์โมน;คอร์ติโคสเตอโรน [การแพทย์] |
Corticotropin | คอร์ติโคโทรปีน;คอร์ติโคโทรปิน, ฮอร์โมน;คอร์ทิโคโทรพิน [การแพทย์] |
Cortisone | คอร์ติโซน, ฮอร์โมน;คอร์ติโซน;คาร์ติโซน;ฮอร์โมนคอร์ติโซน [การแพทย์] |
Daily Normal Production | ปริมาณของฮอร์โมนที่ขาดหรือลดลงไปจากปริมาณที่ต้อง [การแพทย์] |
Des Exposure in Utero | มารดาได้รับฮอร์โมนเพศหญิง [การแพทย์] |
Diethylstilbestrol | ยาไดเอ็ททิลสติลเบสตรอล, ฮอร์โมนไดเอธิลสติลเบสโตรล [การแพทย์] |
acromegaly | (แอคโรเมก' กาลี) n. การที่ส่วนปลายของโครงกระดูกคือ จมูก ขากรรไกร นิ้วมือนิ้วเท้าโตเกินปกติ, เนื่องจากต่อม pituitary gland หลังฮอร์โมนมากเกินไป |
acth | ย่อมาจาก adrenocorticotropic hormone ทำหน้าที่ควบคุมและกระตุ้นต่อมหมวกไตชั้นนอก ในการสร้างฮอร์โมนพวก hydrocortisone |
adrenal gland | ต่อมหมวกไต มีส่วนประกอบ 2 ส่วน 1. ส่วนเปลือก (adrenal cortex) ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน 1.1 กลูโคคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได้แก่ cortisone , hydrocortisone ซึ่งทำหน้าที่ในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ทำให้จำนวนกลูโคสในเลือดเพิ่มขึ้น และไกลโคเจนจะถูกสะสมในตับมากขึ้น ดังนั้นจะเห็นว่าฮอร์โมนนี้จะทำหน้าที่ตรงข้ามกับ insulin ในขณะที่ร่างกายเครียดจะหลั่ง ACTH และ cortisoneออกมาโดยผ่านทาง higher center ของระบบประสาทส่วนกลาง เราจึงมักพบ cortisone ในสภาวะที่ร่างกายได้รับความเจ็บปวด ถูกของร้อน มีคม ไข้สูง ฯลฯ 1.2 ไมเนอราลคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได่แก่ aldosterone deoxycorticosterone ซึ่งมีจำนวนน้อย ทั้งสองฮอร์โมนทำหน้าที่ควบคุมน้ำและเกลือแร่ 1.3 sex hormone แยกย่อยได้เป็น Estrogen Progesterone Androgen 2. ส่วนแกน (adrenal medulla) ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนสำคัญคือ 2.1 adrenaline หรือ epinephrine ทำให้หัวใจเต้นแรง ความดันเลือดเพิ่มขึ้น เส้นเลือดที่ผิวหนังและอวัยวะภายในบีบตัว อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น เร่งการสลาย glycogen ในตับเพื่อเปลี่ยนเป็น glucose ทำให้นเตาลในเลือดสูงขึ้น 2.2 noradrenaline ไม่มีผลต่อการเผาผลายอาหารในร่างกาย แต่มีผลทำให้เลือดหดตัว หัวใจเต้นช้าลง ความดันเลือดสุงขึ้น ขยายหลอดลม แต่ไม่มีผลต่อระดับ้ำตาลในเลือด |
adrenocorticotropic hormo | ฮอร์โมนจากพูหน้าของต่อม pituitary gland, ACTH |
aldosterone | (แอลโดสทิโรน์') n. Biochem. ฮอร์โมนชนิดหนึ่งจากเปลือกของต่อม adrenal gland (a hormone) ดูที่ adrenal gland |
androsterone | (แอนดรอส' ทะโรน) n. ฮอร์โมนชายที่มักพบในปัสสาวะชาย |
antidiuretic hormone | อาจเรียกว่า vasopressin กระตุ้นให้ไตดูดซึมน้ำกลับไว้ในร่างกาย เป็นผลให้ปัสสาวะมีน้อยลง ถ้าขาดฮอร์โมนนี้ทำให้เกิดโรคเบาจืด ทำให้ปัสสาวะมาก กระหายน้ำมาก |
autacoid | (ออ'ทะคอยด์) n. ฮอร์โมน. -autacoidal ajd. (autocoid) |
gastrin | n. ฮอร์โมนกระตุ้นการคัดหลั่งของน้ำย่อยกระเพาะอาหาร |
glucagon | เป็นฮอร์โมนที่เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด ช่วยในการสลาย glycogen ในตับให้เป็นกลูโคส กระตุ้นให้เกิดการสลายตัวของโปรตีนได้เป็น amino acid และทำให้เป็น glucose อีกต่อหนึ่ง |
growth hormone | เป็นฮอร์โมนที่ช่วยในการเจริญเติบโต และเกี่ยวข้องกับขบวนการเผาผลาญอาหารในร่างกาย |
hormone | (ฮอร์'โมน) n. ฮอร์โมน, See also: hormonal adj. |
icsh | คำย่อ Intesitial Cell Stimulating hormone ทำหน้าที่กระตุ้นให้อัณฑะขับฮอร์โมนเพศชาย testosterone และควบคุมการเกิด spermatozoa ด้วย |
insulin | (อิน'ซะลิน) n. ฮอร์โมนยารักษาโรคเบาหวาน |
islet cells | เป็นกลุ่มเซลล์ที่ตับอ่อนทำหน้าที่ขับ internal secreation cells พวกนี้มักอยู่เป็นกลุ่ม ๆ เราเรียกว่า islets of langerhan ซึ่งประกอบด้วย 3 ชนิด 1.alpha cell ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน glucagon พบประมาณ 20-30 % 2.Beta cell ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน insulin มีประมาณ 60-80 % 3. Delta cell พบน้อยมากยังไม่ทราบหน้าที่ |
lh | คำย่อ luteinizing hormone ทำหน้าที่ควบไปกับ FSH ในระยะหลังซึ่ง folicle เจริญเต็มที่แล้วดดยเมื่อไข่สุก follicle จะแตกออกและกลายเป็น corpus lutheum ซึ่งจะทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมน progesterone ต่อไป |
parasympathetic | adj. ซึ่งเกี่ยวกับการแบ่งตามระบบ กะโหลกศีรษะกับกระดูกก้นกบ ของระบบประสาทอัตโนมัติ ทำให้หัวใจเต้นช้าลง ช่วยให้การเคลื่อนไหวของทางเดินอาหารเพิ่มมากขึ้น ม่านตาหดลง หลอดลมหดตัว ความดันโลหิตต่ำลง เหงื่อออกน้อยลง อุณหภูมิร่างกายลดลง กระเพาะปัสสาวะหดตัว การบีบตัวของมดลูกมากขึ้น ต่อมขับฮอร์โมนมากขึ้น |
sympathetic | (ซิมพะเธท'ทิค) adj. เห็นอกเห็นใจ - เป็นระบบประสาทที่มีใยประสาทมาจากไขสันหลังส่วนอก และเอว แต่มี center อยู่ในไขสันหลัง เป็นระบบประสาทที่มักใช้ในผู้ที่ใช้พลังงานทันทีทันใด หรือในขณะตื่นเต้น สู้รบ หรือป่วยไข้ ทำให้ม่านตาขยาย หัวใจเต้นเร็ว หลอดลมขยายตัว หลอดเลือดหดตัวเล็กน้อย ความดันเลิอดสูงขึ้น เหงื่อออกมาก อุณหภูมิร่างกายเพิ่มมากขึ้น กระเพาะปัสสาวะยืดอออก การบีบตัวของมดลูกลดลง ต่อมขับฮอร์โมนน้อยลง, Syn. kindly, kind |
testosterone | เป็นฮอร์โมนเพศชายมีหน้าที่ 2 ประการสำคัญคือ 1. กระตุ้น secondary sex charactor ผลข้อนี้เรียกว่า androgenic-action 2. ควบคุม metabolism ของร่างกาย กระตุ้นให้มีการสังเคราะห์โปรตีนเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะเอนไซม์ซึ่งช่วยในการทำงานของเซลล์เพิ่มขึ้น ผลข้อนี้เรียกว่า anabolic hormone |
thyroid stimulating hormo | thyroid stimulating hormone เป็นฮอร์โมนที่ช่วยควบคุมการเจริญเติบโตของต่อมธัยรอยด์และกระตุ้นให้ต่อมธัยรอยด์ทำงานโดยสร้างฮอร์โมนธัยรอกซินออกมา ทำให้ metabolic rate เพิ่มขึ้น หัวใจเต้นเร็วขึ้น และ glycogen ที่ตับจะถูกเปลี่ยนเป็น glucose มากขึ้น |
transsexual | (-เซค'ชวล) n. ผู้ถูกเปลี่ยนเพศ (โดยศัลยกรรมหรือยาฮอร์โมน) , ผู้ทีมีสภาพจิตใจคล้ายเพศตรงข้าม., See also: transsexualism n. |
tsh | ย่อมาจาก thyroid stimulating hormone เป็นฮอร์โมนที่ช่วยควบคุมการเจริญเติบโตของต่อมธัยรอยด์และกระตุ้นให้ต่อมธัยรอยด์ทำงานโดยสร้างฮอร์โมนธัยรอกซินออกมา ทำให้ metabolic rate เพิ่มขึ้น หัวใจเต้นเร็วขึ้น และ glycogen ที่ตับจะถุกเปลี่ยนเป็น glucose มากขึ้น |
Dopamine | [โดพามีน] เป็นสารเคมีที่ผลิตขึ้นในร่างกาย ในสมอง โดพามีนทำหน้าที่เป็นสารสื่อประสาท (neurotransmitter) คอยกระตุ้นโดพามีน รีเซพเตอร์ (dopamine receptor) โดพามีนทำหน้าที่เป็นฮอร์โมนประสาท (neurohormone) ที่หลั่งมาจากไฮโปทาลามัส (hypothalamus) หน้าที่หลักของฮอร์โมนตัวนี้คือยับยั้งการหลั่งโปรแลคติน (prolactin) จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary) |
growth | (n) สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ส่วนใหญ่มักเป็นฮอร์โมน, See also: A. Ethylene, Auxins, Gibberellins, Abscisic acid, Syn. Cytokinin |
Hyperaldosteronism | เป็นโรคต่อมไร้ท่อที่เกี่ยวข้องกับหนึ่งหรือทั้งสองของต่อมหมวกไตของคุณสร้างมากเกินไปของฮอร์โมนที่เรียกว่า (aldosterone ฮอร์โมนในกลุ่มมิเนราโลคอร์ติคอยด์ ซึ่งสร้างจากอะดรีนัลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต ทำหน้าที่ควบคุมสมดุลของโซเดียมในเลือด). ทําให้ร่างกายสูญเสียโพแทสเซียมมากเกินไปและรักษาโซเดียมมากเกินไปซึ่งเพิ่มการกักเก็บน้ําปริมาณเลือดและความดันโลหิต |
Parasymapathetic | [ซิมพะเธท'ทิค] adj. เห็นอกเห็นใจ - เป็นระบบประสาทที่มีใยประสาทมาจากไขสันหลังส่วนอก และเอว แต่มี center อยู่ในไขสันหลัง เป็นระบบประสาทที่มักใช้ในผู้ที่ใช้พลังงานทันทีทันใด หรือในขณะตื่นเต้น สู้รบ หรือป่วยไข้ ทำให้ม่านตาขยาย หัวใจเต้นเร็ว หลอดลมขยายตัว หลอดเลือดหดตัวเล็กน้อย ความดันเลิอดสูงขึ้น เหงื่อออกมาก อุณหภูมิร่างกายเพิ่มมากขึ้น กระเพาะปัสสาวะยืดอออก การบีบตัวของมดลูกลดลง ต่อมขับฮอร์โมนน้อยลง คำที่มีความหมายเหมือนกัน: kindly, kind |
Prostaglandins | ที่มีศักยภาพฮอร์โมนเช่นสารที่พบในหลายเนื้อเยื่อร่างกาย (และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในน้ำอสุจิ); ผลิตในการตอบสนองต่อการบาดเจ็บและอาจส่งผลกระทบต่อความดันโลหิตและการเผาผลาญและกิจกรรมกล้ามเนื้อเรียบ |
Renin-Angiotensin system | เป็นระบบฮอร์โมนที่ควบคุมความดันโลหิตและสมดุลของเหลว. |