กล, กล- | (กน, กนละ-) น. การลวงหรือล่อลวงให้หลงหรือให้เข้าใจผิดเพื่อให้ฉงนหรือเสียเปรียบ เช่น เล่ห์กล, เล่ห์เหลี่ยม เช่น กลโกง |
แกล้ง | (แกฺล้ง) ก. ทำให้เดือดร้อนรำคาญ เช่น เขาแกล้งฉัน, แสร้ง เช่น เขาแกล้งทำเป็นปวดฟัน, จงใจทำ พูด หรือแสดงอาการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้เขาเสียหาย อาย เดือดร้อน ขัดข้อง เข้าใจผิด เป็นต้น เช่น ข้าพเจ้าไม่ได้ทำผิดเลยแต่เขาแกล้งใส่ร้าย |
ข่มขืนกระทำชำเรา | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำ ชำเราบุคคลอื่น ไม่ว่าผู้กระทำหรือผู้ถูกกระทำจะเป็นชายหรือหญิง และจะเป็นคู่สมรสของตนหรือไม่ โดยใช้กำลังประทุษร้าย โดยผู้ถูกกระทำอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ หรือโดยทำให้ผู้ถูกกระทำเข้าใจผิดว่าตนเป็นบุคคลอื่น. |
ตบตา | ก. หลอกหรือลวงให้เข้าใจผิด. |
ตลก | โดยปริยายหมายความว่า แกล้งทำหรือพูดให้คนอื่นเข้าใจผิดเพื่อผลประโยชน์ของตน เช่น เล่นตลก. |
ตลก | (ตะหฺลก) ว. ขบขัน, ที่ทำให้คนอื่นขบขันด้วยคำพูดหรือกิริยาท่าทางเป็นต้น เช่น หนังตลก, เรียกผู้ที่ทำให้คนอื่นขบขัน ว่า ตัวตลก, เรียกเรื่องที่ทำให้ขบขันหรือเข้าใจผิด ว่า เรื่องตลก. |
เต่าหก | น. ชื่อเต่าบกขนาดใหญ่ชนิด Manouria emys (Schlegel & Müller) ในวงศ์ Testudinidae ขาไม่ปรากฏนิ้วให้เห็น ขาหลังมีลักษณะคล้ายขาช้าง ระหว่างโคนขาหลังกับโคนหางทั้งสองข้างมีเดือยแหลมขนาดต่าง ๆ ลักษณะคล้ายเล็บยื่นออกมาจากผิวหนัง ทำให้เข้าใจผิดว่าเต่าชนิดนี้มี ๖ ขา กินพืชและผลไม้ป่า เช่น กล้วยป่า บอน หน่อไผ่ มักพบอาศัยอยู่ตามที่ที่มีความชื้นสูงตามป่าเขาสูงที่เป็นป่าดงดิบ จัดเป็นเต่าบกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย ตัวเต็มวัย หนักได้ถึง ๓๗ กิโลกรัม ในประเทศไทยพบ ๒ ชนิดย่อย ได้แก่ เต่าหกเหลือง [ M. e. emys (Schlegel & Müller) ] กระดองสีน้ำตาลอมเหลือง พบเฉพาะภาคใต้ตอนล่าง และเต่าหกดำ [ M. e. phayrei (Blyth) ] กระดองสีดำ พบเฉพาะภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้. |
มารยาสาไถย | น. การทำให้เขาหลงผิดหรือเข้าใจผิด เช่น เขาทำมารยาสาไถย. |
ลักไก่ | ก. หลอกล่อให้หลงเข้าใจผิด, ใช้อุบายลวงให้หลง, (มักใช้แก่การกีฬา) เช่น ยิงลูกลักไก่, ถือไพ่แต้มต่ำ แต่เพิ่มเค้าเพื่อให้อีกฝ่ายหนึ่งเข้าใจผิดว่าตนถือไพ่แต้มสูง (ใช้แก่การเล่นโป๊กเกอร์หรือเผ). |
ลูก | เรียกสิ่งที่จะสืบเป็นพันธุ์ไม้มีลักษณะกลม ๆ ว่า ลูกไม้, ผลไม้ ก็เรียก, เมื่อกล่าวถึงผลไม้ชนิดใดโดยเฉพาะ ซึ่งโดยมากเป็นคำพยางค์เดียวอันอาจทำให้เข้าใจผิดเป็นอย่างอื่นได้ ตามปรกติมักมีคำ ลูก ประกอบข้างหน้า เช่น ลูกเกด ลูกชิด |
เลห, เล่ห์ | น. กลอุบายหรือเงื่อนงำอันอาจทำให้คนอื่นหลงผิด เข้าใจผิด, ใช้ว่า เล่ห์กล ก็มี. |
เล่ห์กล | น. การลวงหรือล่อลวงให้หลงผิดหรือเพื่อให้เข้าใจผิด. |
แลงกินฟัน | น. ชื่อโรคซึ่งเข้าใจผิดว่ามีแมงชนิดหนึ่งเกาะกินรากฟันทำให้ฟันผุ. |
สวมหน้ากาก | ก. แสดงทีท่าหรือกิริยาอาการที่มิได้เกิดจากนิสัยใจจริง, แสดงกิริยาท่าทีลวงให้เข้าใจผิด, เช่น ต่างคนต่างสวมหน้ากากเข้าหากัน, ใส่หน้ากาก ก็ว่า. |
สองหน้า ๒ | ว. ที่ทำตัวให้ทั้ง ๒ ฝ่ายต่างเข้าใจผิดกัน โดยหวังประโยชน์เพื่อตน เช่น เขาเป็นคนสองหน้า อย่าไว้ใจเขานักนะ. |
สางห่า | น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานชนิด Takydromus sexlineatus (Daudin) ในวงศ์ Lacertidae ลักษณะทั่วไปคล้ายกิ้งก่า ตัวเล็กลำตัวสีน้ำตาลอ่อน ไม่มีลาย ความยาวตั้งแต่หัวจดปลายหางประมาณ ๕๐ เซนติเมตร หางยาวมากประมาณ ๕ เท่าของความยาวลำตัว กินแมลง พบทุกภาคของประเทศไทย ที่เรียกสางห่าเพราะเข้าใจผิดว่ามีพิษร้ายแรงแต่ความจริงเป็นสัตว์ไม่มีพิษ, จิ้งเหลนหางยาว หรือ งูคา ก็เรียก. |
สาไถย | น. การแสร้งทำให้เขาหลงผิดเข้าใจผิด, มักใช้เข้าคู่กับคำ มารยา เป็น มารยาสาไถย. |
เสกสรรปั้นแต่ง, เสกสรรปั้นเรื่อง | ก. แต่งเรื่องขึ้นมาโดยจะมีความจริงหรือไม่ก็ได้เพื่อให้เข้าใจผิด เช่น คนคนนี้ช่างเสกสรรปั้นเรื่องมาเล่าให้ผู้ใหญ่ผิดใจกันอยู่เสมอ. |
เสียรอย | ก. ทำรอยให้หลงเข้าใจผิด เช่น แล้วเสียรอยถอยหลังลงสู่สระศรี (ม. ร่ายยาว กุมาร). |
ใส่หน้ากาก | ก. แสดงทีท่าหรือกิริยาอาการที่มิได้เกิดจากนิสัยใจจริง, แสดงกิริยาท่าทีลวงให้เข้าใจผิด, เช่น ต่างคนต่างใส่หน้ากากเข้าหากัน, สวมหน้ากาก ก็ว่า. |
หลง | (หฺลง) ก. สำคัญผิด, เข้าใจผิด, เช่น กาหลงเข้าใจว่าไข่นกดุเหว่าเป็นไข่ของตน |
หลวมตัว | ก. เผลอไผลหรือถลำตัวเข้าไปโดยเข้าใจผิดหรือเพราะเท่าไม่ถึงการณ์เป็นต้น เช่น เขาหลวมตัวเล่นการพนันจนหมดตัว. |
หลอก ๑ | (หฺลอก) ก. ทำให้เข้าใจผิดสำคัญผิด เช่น หลอกขายของปลอม, ทำให้ตกใจ เช่น ผีหลอก, ล้อ เช่น แลบลิ้นหลอก |
หลอกลวง | ก. ใช้อุบายทุจริตลวงให้เข้าใจผิด, (กฎ) แสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้ง เพื่อให้บุคคลอื่นเข้าใจผิด. |
belie | (vt) ทำให้เชื่อหรือเข้าใจผิด |
bark up the wrong tree | (idm) คิดผิด, See also: เข้าใจผิด |
confuse with | (phrv) ทำให้ผิดพลาดกับ, See also: ทำให้เข้าใจผิดกับ, Syn. mistake for, take for |
delusion | (n) การเข้าใจผิด, See also: ความผิดพลาด, ความเชื่อที่ผิด, Syn. error, illusion, misconception, Ant. truism, fact, certainty |
delusive | (adj) หลงผิด, See also: เข้าใจผิด, Syn. imaginary, false |
disabled | (vt) ทำให้หายเข้าใจผิด, See also: ช่วยแก้ไขข้อผิดพลาด, Syn. undeceive, clarify |
discern | (vt) เข้าใจกระจ่าง [ แก้ไขโดยทีมงาน Longdo ], See also: รู้ไม่ชัดแจ้ง, เข้าใจผิด, Syn. descry, distinquish, see, Ant. misunderstand, miss the point |
distort | (vt) บิดเบือน, See also: ทำให้บิดเบือน, ทำให้เข้าใจผิด, Syn. misrepresent, bias |
equivocate | (vi) พูดสองนัย, See also: พูดหลบหลีก, พูดกำกวมให้เข้าใจผิด, Syn. prevaricate |
erroneous | (adj) ไม่ถูกต้องเนื่องจากเข้าใจผิด, Syn. inaccurate, incorrect, wrong |
fool | (vt) หลอกลวง, See also: ลวงให้เข้าใจผิด, หลอก, Syn. deceive, cheat, hoodwink |
get of | (phrv) เข้าใจผิด |
have another guess coming | (idm) เข้าใจผิด, See also: ทำผิดพลาด |
red herring | (idm) ข้อมูลที่ทำให้เข้าใจผิด, See also: ข้อมูลที่ทำให้หลงผิด |
set the record straight | (idm) แก้ไขความเข้าใจผิด, See also: แจกแจ้งให้เข้าใจความเข้าใจผิด |
illusion | (n) ความเข้าใจผิด, See also: ความเชื่อผิดๆ, ความคิดผิดๆ, Syn. confusion, delusion, false impression |
mistake for | (phrv) เข้าใจผิดว่าเป็น, Syn. confuse with, take for |
misapprehend | (vt) เข้าใจผิด (คำทำการ), Syn. misunderstand, Ant. understand, apprehend |
misapprehension | (n) การเข้าใจผิด, Syn. misconception, fallacy, misunderstanding |
misconceive | (vi) เข้าใจผิด |
misconception | (n) ความเข้าใจผิด, See also: ความคิดที่ผิดๆ, ความเห็นผิดๆ, Syn. misinterpretation, delusion |
misconstruction | (n) การแปลความหมายผิด, See also: การเข้าใจผิด, Syn. distortion, misunderstanding |
misinterpretation | (n) การแปลความหมายผิดๆ, See also: การตีความผิด, การเข้าใจผิดๆ, Syn. misconceive, misconstrue, misread, misapprehend, misjudge, misunderstand, Ant. distortion, delusion |
misjudge | (vt) ทำให้เข้าใจผิด, See also: ทำให้ตัดสินใจผิด, Syn. mistake, misread, Ant. understand |
misjudgment | (n) การตัดสินใจผิด, See also: การเข้าใจผิด, Syn. distortion, misinterpretation, misconception |
mislead | (vt) ทำให้เข้าใจผิด, See also: ทำให้หลงผิด, หลอกลวง, Syn. diceive, falsify |
misleading | (adj) ซึ่งแนะนำไปในทางที่ผิด, See also: ซึ่งทำให้เข้าใจผิด, Syn. misteaching |
mistakable | (adj) ซึ่งเข้าใจผิด, See also: ซึ่งผิดพลาด |
mistake | (n) ความเข้าใจผิด, See also: ความสำคัญผิด, ความนึกคิดที่ผิด, Syn. misunderstanding, misconception, Ant. understanding |
mistake | (vt) ทำให้เข้าใจผิด, See also: ทำให้หลงผิด, ทำให้สำคัญผิด, Syn. misunderstand, Ant. understanding, perceive, apprehend |
mistaken | (adj) ซึ่งเข้าใจผิด, See also: ผิดพลาด, คิดผิด, Syn. wrong, misinformed, inaccurate, Ant. correct, perfect |
misunderstand | (vt) เข้าใจผิด, See also: สำคัญผิด, ตีความผิด, แปลความผิด, Syn. mistake, misinterpret, misapprehend, misconstrue, Ant. understand, comprehend, perceive |
misunderstanding | (n) ความเข้าใจผิด, See also: ความหลงผิด, Syn. misapprehension, misconception, misinterpretation, mistaking, Ant. understanding, conception |
take amiss | (phrv) เข้าใจผิด |
take for | (phrv) สำคัญผิดหรือเข้าใจผิดว่าเป็น, Syn. confuse with, mistake for |
take someone for | (idm) เข้าใจผิด |
belie | (บิไล') { belied, belieing, belies } vt. แสดงให้เห็นว่าไม่จริง, ขัดแย้ง, ไม่ตรงกับ, ใส่ความ, ทำให้คนอื่นเข้าใจผิด, See also: belier n., Syn. disguise |
delusion | (ดิลู'เ??ชิน) n. การลวงตา, การหลอกลวง, ความเชื่อผิด ๆ , ความคิดเพ้อเจ้อ, การเข้าใจผิด, มหันต์ |
disillusion | (ดิสอิลู'เชิน) vt.ขจัดสิ่งลวงตาออก, ขจัดความเข้าใจผิดทิ้ง, See also: disillusionment n. |
entice | (เอนไทสฺ') vt. ล่อลวง, ชักนำไปในทางผิด, ทำให้หลงเข้าใจผิด., Syn. lure |
enticement | (เอนไทสฺ'เมินทฺ) n. การล่อลวง, ทางผิด, การล่อใจ, การทำให้หลงเข้าใจผิด, สิ่งที่ทำให้หลงเข้าใจผิด, สิ่งล่อใจ |
err | (เออร์) { erred, erring, errs } vi. ทำผิด, ทำผิดพลาด, เข้าใจผิด, เถล, ออกนอกทาง, ทำไม่ถูกต้อง, ทำบาป, ทำชั่ว |
errancy | (เออ'เรินซี) n. การทำผิด, การทำผิดพลาด, การเข้าใจผิด, การออกนอกทาง |
erroneous | (เอโร'เยิส) adj. เกี่ยวกับความผิด, เข้าใจผิด, ไม่ถูกต้อง, See also: erroneousness n., Syn. false |
fallacious | (ฟะเล'เชิส) adj. หลอกลวง, ลวง, ซึ่งทำให้เข้าใจผิด, ผิดพลาด, ซึ่งทำให้ผิดหวัง., See also: fallaciously adv. fallaciousness n., Syn. false, Ant. true |
fallacy | (แฟล'ละซี) n. การหลอกลวง, การทำให้เข้าใจผิด, ความผิดพลาด, การอ้างเหตุผลหรือความเชื่อที่ผิด, Syn. delusion |
imbroglio | (อิมโบรล'โย) n. ภาวะยุ่งเหยิง, สถานการณ์ที่ลำบาก, ความเข้าใจผิด, ความไม่ลงรอยกัน, กองที่ยุ่งเหยิง |
misapprehend | (มิสแอพรีเฮนดฺ') vt. เข้าใจผิด. |
misapprehension | (มิสแอพริเฮน'เชิน) n. ความเข้าใจผิด., See also: misapprehensive adj. |
misconceive | (มิสคะซิฟว) vt., vi. เข้าใจผิด |
misconception | (มิสคันเซพ'เชิน) n. ความคิดเห็นที่ผิด, การเข้าใจผิด |
misconstrue | (มิสคันสทรู'`) vt. เข้าใจผิด, แปลผิด |
miscreance | (มิส'ครีเอินซฺ) n. ความเชื่อที่ผิด, ความเข้าใจผิด, ความนอกรีต, ความคิดนอกทาง |
miscreant | (มิส'ครีเอินทฺ) adj. สารเลว, เข้าใจผิด, เชื่อในสิ่งที่ผิด. n. คนสารเลว, คนชั่วร้าย, ผู้นอกรีต, ผู้ไม่ยอมเชื่อ, Syn. villain, wretch |
misguided | (มิส'ไกดิด) adj. ถูกนำไปในทางที่ผิด, ได้รับการแนะนำที่ผิด, ซึ่งเข้าใจผิด, See also: misguidedly adv., Syn. ill-advised |
mislead | (มิสลีด') { misled, misleading, misleads } vt. นำผิด, ทำให้เข้าใจผิด, See also: misleader n. |
mistake | (มิสเทคฺ') { mistook, mistaken, mistaking, msitakes } n. ความผิดพลาด, ความเข้าใจผิด, ความนึกคิดที่ผิด. v. เข้าใจผิด, ตีความหมายผิด, ประเมินค่าผิด, See also: mistakingly adv., Syn. error, blunder |
misunderstand | (มิสอันเดอสแทนดฺ') { misunderstood, misunderstanding, misunderstands } vt., vi. เข้าใจผิด, ตีความหมายผิด, แปลผิด, Syn. misread, mistake |
misunderstanding | (มิสอันเดอสแทน'ดิง) n. ความเข้าใจผิด, ความไม่สามารถจะเข้าใจได้, ความไม่เห็นด้วย, Syn. mistake |
twist | (ทวิสทฺ) vt., vi., n. (การ) บิด, บิดเป็นเกลียว, งอ, โค้ง, ขัน, คลุกเคล้า, คลึง, ร้อย, ขด, พันรอบ, ทำให้เป็นเกลียว, ทำให้เข้าใจผิด, บิดเบือน, ทำให้สับสน, โกง, เบี้ยว, กลับทิศทาง. vi. บิด, งอ, เบี้ยว, ไปอย่างคดเคี้ยว, ฟั่น, คลึง, ร้อย, ขยัก., ม้วนใบยา, ขนมม้วน, ลักษณะกวน, เหล้าผสม, ผู้หญิง |
deception | (n) ความหลอกลวง, การตบตา, ความเข้าใจผิด, เล่ห์เพทุบาย, การต้มตุ๋น |
delude | (vt) หลอกลวง, ตบตา, แหกตา, ทำให้เข้าใจผิด |
delusion | (n) การหลอกลวง, การตบตา, โมหันธ์, ภาพลวงตา, ความเข้าใจผิด |
delusive | (adj) หลอกลวง, ตบตา, ซึ่งทำให้เข้าใจผิด |
erroneous | (adj) ผิดพลาด, ทำผิด, เข้าใจผิด, ไม่ถูกต้อง |
fallacy | (n) การลวงให้เข้าใจผิด, การเข้าใจผิด, การหลอกลวง |
imbroglio | (n) ความยุ่งยาก, ความยุ่งเหยิง, ความสับสน, ความเข้าใจผิด |
misapprehend | (vt) เข้าใจผิด |
misapprehension | (n) ความเข้าใจผิด |
misconceive | (vt) มีความเห็นที่ผิด, เข้าใจผิด |
misconception | (n) ความเข้าใจผิด, ความเห็นผิด |
misconstrue | (vt) เข้าใจผิด, ตีความผิด, แปลความผิด, วินิจฉัยผิด |
misinform | (vt) บอกผิด, พูดให้เข้าใจผิด, ให้ข้อมูลผิด |
misinterpret | (vt) แปลความผิด, ตีความผิด, ถอดความผิด, เข้าใจผิด |
misinterpretation | (n) การแปลความผิด, การตีความผิด, การถอดความผิด, การเข้าใจผิด |
mistake | (n) ความผิด, การสำคัญผิด, ข้อผิดพลาด, การเข้าใจผิด |
mistake | (vt) ทำผิด, สำคัญผิด, เข้าใจผิด, ผิดพลาด, หลงผิด |
misunderstand | (vt) เข้าใจผิด, ตีความผิด |
misunderstanding | (n) ความเข้าใจผิด, การตีความผิด |
wrong | (adj) ผิด, เข้าใจผิด, ไม่เป็นธรรม, ไม่เหมาะสม |