เชลยศึก | (n) prisoner of war, Syn. เชลยสงคราม, Example: สถานที่นี้เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญญี่ปุ่นใช้เคลื่อนย้ายทหารและเชลยศึกไปสร้างทางรถไฟสายมรณะและสะพานข้ามแม่น้ำแคว, Thai Definition: ผู้ที่ถูกคู่สงครามจับตัวได้ |
เชลยศึก | น. ผู้ที่ถูกคู่สงครามจับตัวได้. |
กวาดต้อน | ก. รวบรวมคนหรือสัตว์พาหนะเป็นต้น ให้เคลื่อนย้ายจากถิ่นเดิม เช่น กวาดต้อนเชลยศึก. |
ค่ายกักกัน | น. สถานที่คุมขังเชลยศึกหรือนักโทษทางการเมือง. |
อนุสัญญา | น. ความตกลงระหว่างประเทศในเรื่องที่สำคัญเฉพาะเรื่อง ที่ทำเป็นตราสารสมบูรณ์แบบเช่นเดียวกับสนธิสัญญา เช่น อนุสัญญากรุงเฮกว่าด้วยสงคราม อนุสัญญาเจนีวาว่าด้วยเชลยศึกและผู้บาดเจ็บ. |
parole | ๑. การปล่อยตัวโดยการคุมประพฤติ๒. การปล่อยเชลยศึกโดยมีเงื่อนไข [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parole | ๑. การปล่อยตัวโดยมีการคุมประพฤติ (ป. วิ. อาญา) [ ดู release on licence ]๒. การปล่อยเชลยศึกโดยมีเงื่อนไข (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
prisoner of war | เชลยศึก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prisoner of war | เชลยศึก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
chartel; cartel | ๑. เอกสารแลกเปลี่ยนเชลยศึกระหว่างคู่สงคราม (ก. ระหว่างประเทศ)๒. ข้อตกลงระงับการแข่งขันกันทางธุรกิจ (ก. พาณิชย์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
captive | เชลยศึก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
captive | เชลยศึก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cartel | ๑. ข้อตกลงแลกเปลี่ยนเชลยศึก๒. การรวมกลุ่มเพื่อผูกขาดทางธุรกิจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
cartel; chartel | ๑. เอกสารแลกเปลี่ยนเชลยศึกระหว่างคู่สงคราม (ก. ระหว่างประเทศ)๒. ข้อตกลงระงับการแข่งขันกันทางธุรกิจ (ก. พาณิชย์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cartel ship | เรือบรรทุกเชลยศึกที่จะนำไปแลกกัน (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
war, prisoner of | เชลยศึก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Prisoners of war | เชลยศึก [TU Subject Heading] |
Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
War Crimes | อาชญากรรมสงคราม ตามกฎบัตรต่อท้ายความตกลงว่าด้วยการพิจารณาลงโทษ อาชญากรสางคามที่สำคัญ ๆ ของฝ่ายอักษะยุโรป (European Axis) การกระทำต่อไปนี้ถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามคือ การละเมิดกฎหมายหรือประเพณีของการสงคราม เช่น การฆ่า การปฏิบัติอันโหดร้าย หรือการขับคนไปทำงานเยี่ยงทาส หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใด ซึ่งกระทำต่อราษฎรพลเรือนของดินแดนที่ถูกยึดครอง การฆ่าหรือปฏิบัติอย่างโหดร้ายต่อเชลยศึกหรือบุคคลในท้องทะเล การฆ่าตัวประกัน การปล้นสะดมทรัพย์สินสาธารณะหรือส่วนบุคคล การทำลายล้างตัวเมืองหรือหมู่บ้าน ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่จำเป็นในแง่การทหาร [การทูต] |
เชลยศึก | [chaloēi seuk] (n, exp) EN: prisoner of war FR: prisonnier de guerre [ m ] ; captif [ m ] (litt.) |
ปล่อยเชลยศึก | [plǿi chaloēi seuk] (v, exp) EN: release the captives |
POW | (abbr) เชลยศึก (คำย่อของ prisoner of war) |
prisoner of war | (n) เชลยศึก, Syn. captive, POW |
prisoner | (พริซ'เซินเนอะ) n. นักโทษ, เชลยศึก, เชลย, คนคุก, ผู้ที่สูญเสียอิสรภาพ, Syn. convict |
extradite | (vt) คืนเชลยศึก, ส่งผู้ร้ายข้ามแดน |
extradition | (n) การคืนเชลยศึก, การส่งผู้ร้ายข้ามแดน |