เดน | (n) leftovers, See also: remnants, residue, dregs, remain, leavings, Syn. กาก, ของเหลือ, ส่วนที่เหลือ, ของที่ตกค้าง, Example: ฉันไม่กินข้าวเหลือเดนเขาหรอก, Thai Definition: ของเหลือที่ไม่ต้องการแล้ว โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่เหลือเลือกแล้ว ทิ้งแล้ว ไม่ต้องการแล้วเป็นต้น |
กากเดน | (n) remnant, See also: remains, Syn. เดน, เศษเดน, Example: เขาเห็นฉันเป็นกากเดนที่ไร้ค่าสำหรับเขาไปแล้ว, Thai Definition: สิ่งที่เหลือโดยไม่มีความต้องการแล้ว |
สวีเดน | (n) Sweden, Syn. ประเทศสวีเดน |
เดนตาย | (n) survivor, Example: เมื่อกองทัพถอยไปแล้วมีพวกเดนตายเหลืออยู่, Thai Definition: ที่รอดตายมาได้ทั้งๆ ที่น่าจะตาย, Notes: (ปาก) |
เดนนรก | (adj) bad, See also: base, mean, evil, vile, immoral, vicious, wicked, Syn. เลว, ชั่ว, เลวทรามต่ำช้า, Ant. ดี, Example: ไอ้เด็กเดนนรกพวกนี้ติดยาจนรักษาไม่ได้แล้ว, Thai Definition: เลวทรามต่ำช้าอย่างยิ่งจนนรกยังไม่ต้องการ, Notes: (ปาก) |
เดนมาร์ก | (n) Denmark, Example: ในยุโรปเดนมาร์กนำหน้าประเทศอื่นในด้านการให้สิทธิสตรี, Thai Definition: ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป |
คอนเดนเซอร์ | (n) condenser, Example: การบรรจุไฟเข้าในคอนเดนเซอร์จะกินเวลาหลายวินาที, Thai Definition: เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าใช้สำหรับเก็บประจุไฟฟ้าไว้ได้เป็นปริมาณมากกว่าแผ่นตัวนำธรรมดาที่มีขนาดเท่ากัน, Notes: ภาษาอังกฤษ |
Ardennes, Battle of the, 1944-1945 | การรบที่อาร์เดนส์, ค.ศ. 1944-1985 [TU Subject Heading] |
Art, Danish | ศิลปะเดนมาร์ก [TU Subject Heading] |
Art, Swedish | ศิลปะสวีเดน [TU Subject Heading] |
Arts, Danish | ศิลปกรรมเดนมาร์ก [TU Subject Heading] |
Arts, Swedish | ศิลปกรรมสวีเดน [TU Subject Heading] |
Authors, Danish | นักประพันธ์เดนมาร์ก [TU Subject Heading] |
Denmark | เดนมาร์ก [TU Subject Heading] |
Dentigerous cyst | ถุงน้ำเดนติเจอรัส [TU Subject Heading] |
Denver Developmental Screening Test | แบบทดสอบพัฒนาการเด็กของเดนเวอร์ [TU Subject Heading] |
Lindane | ลินเดน [TU Subject Heading] |
Asia Europe Meeting | การประชุมเอเชีย-ยุโรป " เป็นการประชุมระดับผู้นำจากเอเชีย 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ผู้นำจากยุโรป 15 ประเทศ คือ สหราช- อาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย และประธานคณะกรรมาธิการยุโรป การประชุมครั้งแรกมีขึ้น ที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2539 " [การทูต] |
Congress of Vienna | เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต] |
European Union | สหภาพยุโรป สหภาพยุโรปได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับ นับแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้า (European Coal and Steal Community) ในปี พ.ศ. 2494 ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดทำสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) ได้มีการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community : EEC) และประชาคมพลังงานปรมาณู (Euratom) ในช่วงเวลานั้นจึงเรียกชื่อกันว่าประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ต่อมาได้มีการรวม 3 ประชาคมเข้าด้วยกันและได้มีกฎหมายยุโรปตลาดเดียว (Single European Act) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2530 เพื่อให้ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ขั้นตอนการเป็นตลาดร่วมและตลาดเดียวที่ สมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2535 ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อเป็นประชาคมยุโรป (European Communities : EC) ตั้งแต่ พ.ศ. 2530 ต่อมาเมื่อสนธิสัญญามาสทริชท์ (Maastricht Treaty) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2536 ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายและขั้นตอนให้ประชาคมยุโรปพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพยุโรป จึงได้เปลี่ยนมาเรียกชื่อในทางปฏิบัติว่า สหภาพยุโรป (European Union : EU) ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบันมีสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย [การทูต] |
Great Powers | ประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต] |
Jus Soli | คือหลักความเชื่อถือซึ่งหลายประเทศยึดถืออยู่ คือบุคคลชาติใดก็ตาม ถือกำเนิด ณ ที่ไหนก็ได้สัญชาติของที่นั้น คนสวีเดนที่เกิดในประเทศไทยจะถือว่าได้สัญชาติไทยไปในตัวผิดกับหลักความ เชื่อถืออีกอันหนึ่งเรียกว่า Jus Sanguinis ซึ่งให้ถือสัญชาติของบุคคลตามสัญชาติของบิดามารดาของบุคคลนั้น ไม่ถือตามสถานที่เกิด [การทูต] |
North Atlanitc Treaty Organization | องค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] |
North Atlantic Treaty Organisation | องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2492 เป็นองค์การร่วมมือทางการทหาร มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 19 ประเทศคือ เบลเยี่ยม แคนาดา สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ฮังการี ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส สเปน ตุรกี สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
Organization of European Economic Cooperation | คือองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป สัญญาที่ก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 16 เมษายน ค.ศ.1948 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี โดยแม่ทัพของฝรั่งเศส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาที่ประจำอยู่ในเขตยึดครองในเยอรมนี (หลังเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง)จุดประสงค์สำคัญที่สุดขององค์การนี้คือ ต้องการให้ทวีปยุโรปมีภาวะเศรษฐกิจกลับคืนมาใหม่อย่างมั่นคง ด้วยการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก สำนักงานใหญ่ขององค์การนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสอย่างไรก็ดี บัดนี้ได้มีองค์การตั้งขึ้นใหม่แทนองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป เรียกว่า องค์การร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Cooperation and Development ) หรือ OECD สำหรับสัญญาจัดตั้งองค์การโอดีซีดีนี้ ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1961จุดประสงค์สำคัญขององค์การโออีซีดี มีดังนี้1. เพื่อให้บรรดาประเทศสมาชิกได้มีความเติบโตทางเศรษฐกิจ มีแรงงาน อาชีพ และมาตรฐานการครองชีพให้มากที่สุด ขณะเดียวกันก็พยายามรักษาเสถียรภาพทางการคลังไว้เพื่อเป็นการเกื้อกูลต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจของโลก2. ระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ให้ประเทศสมาชิกมีโอกาสขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมั่นคง รวมทั้งในประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกด้วย3. ต้องการมีส่วนเกื้อกูลต่อการขยายตัวทางการค้าในรูปพหุภาคี และปราศจากการกีดกันแต่อย่างใด ตามพันธกรณีระหว่างประเทศองค์การสำคัญในองค์การโออีซีดีคือคณะมนตรี ( Council ) ซึ่งประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด มีคณะกรรมการบริหารรวมทั้งเลขาธิการ สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] |
Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] |
Swedish International Development Cooperation Agency | สำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ แห่งสวีเดน [การทูต] |
The Nordic Council | องค์การที่ตั้งขึ้นเพื่อทำการปรึกษาหารือกัน ระหว่างรัฐสภาของประเทศเดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน รวมทั้งรัฐบาลของประเทศเหล่านี้ เกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องปฎิบัติร่วมกัน กฎข้อบังคับของคณะรัฐมนตรี (Council) ซึ่งประกอบด้วยประเทศเหล่านี้ ได้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1958 คณะมนตรีประกอบด้วยผู้แทนซึ่งได้รับการเลือกตั้ง 69 คน รวมทั้งผู้แทนของรัฐบาลด้วย คณะมนตรีนี้ไม่มีสำนักงานถาวร และไม่มีสำนักเลขาธิการระหว่างประเทศ การประชุมได้กระทำกันโดยหมุนเวียนไปตามนครหลวงของประเทศสมาชิก [การทูต] |
Dendrimer antibody | เดนดริเมอร์ แอนติบอดี้ คือ แอนติบอดี้ที่เชื่อมติดกับโมเลกุลพอลิเมอร์ที่มีแขนงกิ่งก้านยื่นออกมาคล้ายต้นไม้ ซึ่งเรียกว่า เดนดริเมอร์ โดย เดนดริเมอร์ แอนติบอดี้ มักใช้ในการตรวจวัดปริมาณสารแอนติเจน และถือว่าเป็นการประยุกต์ใช้เดนดริเมอร์ในการวัดสารภูมิคุ้มกันของร่างกายวิธีหนึ่ง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
คอนเดนเสท | ก๊าซธรรมชาติเหลว หรือไฮโดรคาร์บอนที่กลั่นตัวจากก๊าซธรรมชาติ, Example: อยู่ในสถานะที่เป็นของเหลวที่อุณหภูมิที่อุณหภูมิความดันบรรยากาศ เช่น เพนเทน เฮกเซน เฮปเทน และออกเทน เมื่อผลิตมาถึงปากบ่อบนแท่นผลิตสามารถขนส่งทางเรือหรือส่งตามท่อก็ได้ [ปิโตรเลี่ยม] |
Adenine | อะดีนีน, สาร; อะดินีน; สารอดีนีน; อะเดนีน; อะดีนีน [การแพทย์] |
Adenine-Catechol | อะเดนีน-แคทีคอล [การแพทย์] |
Aldol Condensation | แอนดอลคอนเดนเซชัน, ปฏิกิริยาแอลดอลคอนเดนเซชั่น [การแพทย์] |
Antibody-Dependent Cell Cytotoxicity | แอนติบอดีย์-ดีเพนเดนท์เซลล์ซัยโตท็อกซิกซิตีย์ [การแพทย์] |
Antioxidants | สารพวกแอนตี้อ๊อกซีแด้นท์, สารกันอ็อกซิเดชั่น, สารต้านการเสื่อมในอากาศ, สารกันหืน, สารต้านออกซิเดชัน, วัตถุกันหืน, แอนติออกซิเดนท์, สารยับยั้งออกซิเดชั่น, แอนตี้ออกซิแดนท์, สารป้องกันการเกิดอ๊อกซิไดซ์, สารแอนติออกซิแดนต์, สารต้านออกซิไดซ์, สารกันการเติมออกซิเจน, สารยับยั้งการออกซิไดส์, แอนตี้ออกซิแดนท์, ตัวต่อต้านการออกซิไดส์, สารตัวกันออกซิเดชัน, สารต้านการออกซิไดซ์, ป้องกันน้ำมันหืน [การแพทย์] |
Bandane | แบนเดน [การแพทย์] |
Bidentate | ไบเดนเทต [การแพทย์] |
Chlordan | คลอร์ดาน;คลอร์แดน, สาร;คลอเดน;คลอร์เดน [การแพทย์] |
Condensation | การควบแน่น, ควบแน่น, วิธีการควบแน่น, คอนเดนเซชัน, การสังเคราะห์โดยดึงน้ำออก [การแพทย์] |
Condensers | เครื่องควบแน่น, ที่รวมแสง, คอนเดนเซอร์, คอนเดนเซอร์ [การแพทย์] |
Cowden's Syndrome | กลุ่มอาการคาวเดน [การแพทย์] |
Crossed Aldol Condensations | ปฏิกิริยาครอสแอลดอลคอนเดนเซชั่น [การแพทย์] |
Dendrid | เดนดริด [การแพทย์] |
Dendrites | เดนไดรต์, ประสาท, เดนไดรท, ปลายนอก, แขนงประสาท, เดนไดรย์, เดนไดรท์ [การแพทย์] |
Dendrites of Mitral Cells | เดนไดรท์ของเซลล์ประสาทไมทราล [การแพทย์] |
Dendritic Cells | เซลล์รูปดาว, เซลล์เดนไดรท์ [การแพทย์] |
Dendritic Cytoplasmic Process | เดนไดรติคซัยโตพลาสมิคโพรเซส [การแพทย์] |
Dendritic Melanocyte | เดนไดรติคเมลาโนซัยท์ [การแพทย์] |
Densitometers | เดนซิโตมิเตอร์, เดนสิโตมิเตอร์ [การแพทย์] |
Densitometers, Scanning | ตรวจโดยใช้เดนสิโตมิเตอร์ [การแพทย์] |
Density | ทึบ, ความหนาแน่น, เงาทึบ, ความแน่น, เดนซิตี, ความทึบ [การแพทย์] |
Density, Bulk | ค่าความหนาแน่นปรากฏ, บัลคเดนซิตี้ [การแพทย์] |
Dentate Nucleus | เดนเตทนิวเคลียส [การแพทย์] |
Dentin | เดนติน, เดนติน, สาร, เนื้อฟัน [การแพทย์] |
Dentine | เนื้อเยื่อฟัน, เดนทีน, เนื้อฟัน [การแพทย์] |
Denver Developmental Screening Test | แบบมาตรฐานของเดนเวอร์ [การแพทย์] |
DNA Dependent Polymerases | ดีเอนเอดีเพนเดนท์โพลีเมอเรส [การแพทย์] |
aarhus | (ออร์' ฮูส) n. ชื่อเมืองท่าในเดนมาร์ค |
accidental | (แอคซิเดน' เทิล) adj., n. บังเอิญ, ส่วนประกอบ, ลักษณะสังกัด, ส่วนที่ไม่เรียบ, เครื่องหมาย (ดนตรี) ชั่วคราว. -accidentally adv., Syn. unexpected |
addend | (แอด' เดนดฺ) n. เลขหรือจำนวนที่บวกเข้าด้วยกัน |
addendum | (อะเดน' เดิม) n. (pl. -da) สิ่งที่เพิ่มเข้า, การเพิ่มหรือบวกเข้า, ภาคผนวก |
aden | (อาด' เดน, แอด' เดน) ชื่อเนื้อเยื่อน้ำเหลืองที่บวมโตในลำคอส่วนบน (a seaport in Yemen) |
adenosine | (อะเดน' โฯซีน) n. nucleotide ที่ประกอบด้วย adenine และ ribose |
al dente | (อาล' เดน ทิ) Italian ไม่นุ่มและไม่แข็งเกินไป (เมื่อกัดด้วยฟัน) |
bedridden | (เบด'ริดเดน) adj. ล้มหมอนนอนเสื่อ, ล้มป่วย, Syn. ailing |
cadenza | (คะเดน'ซะ) n. เสียงดนตรีที่แผ่วเบาก่อนจบ |
coincident | (โคอิน'ซิเดนทฺ) adj. บังเอิญ, พ้องกัน, ต้องกัน, สอดคล้องกัน, ประจวบกัน |
condensate | (คันเดน'เซท) n. สิ่งที่เกิดจากการรวมตัวกันแน่น |
condensation | (คอนเดนเซ'เชิน) n. การรวมตัวกันแน่น, See also: condensative adj. ดูcondensation |
condense | (คันเดนซฺ') { condensed, condensing, condenses } vt. ทำให้แน่นขึ้น, ลดปริมาตร, ทำให้สั้น, ทำให้กะทัดรัด, ย่อให้สั้น, ทำให้ข้น, (ไอน้ำ) จับตัวกันเป็นของเหลวหรือน้ำแข็ง, ทำให้เป็นของเหลว., See also: condensability n. ดูcondense condensibility n. ดูcondense |
condenser | (คันเดน'เซอะ) n. เครื่องทำให้ไอน้ำหรือแก๊สจับตัวกันเป็นของเหลว หรือของแข็ง, คนย่อ, คนเดี่ยว, เลนส์รวมแสง, เครื่องสะสมประจุไฟฟ้า |
confidential | (คอนฟิเดน'เชิล) adj. ลับ, เป็นที่ไว้วางใจ, ซึ่งแสดงว่าเชื่อถือ., See also: confidentiality, confidentialness n., Syn. honest |
copenhagen | (โคเพนเฮ'เกิน) n. เมืองท่าและเมืองหลวงของเดนมาร์ก |
credendum | (คริเดน'ดัม) n. ลัทธิที่ต้องการความเชื่อ, สิ่งที่เชื่อถือ -pl. credenda |
credenza | (คริเดน'ซะ) n. โต๊ะข้าง, โต๊ะข้างที่ใช้ในพิธีศีลมหาสนิท (Eucharist) |
dainty | (เดน'ที) n., adj. งดงาม, สวยงาม, มีรสชาติดี, อร่อย, ประณีต n. สิ่งที่งดงาม, สิ่งที่มีรสชาติดี, สิ่งที่อร่อย, See also: daintily adv. ดูdainty daintiness n. ดูdainty, Syn. nice, Ant. gross |
dane | (เดน) n. ชาวเดนมาร์ก, ชื่อสุนัขพันธุ์เดนมาร์กที่มีขนาดใหญ่, Syn. Great Dane |
danger | (เดน'เจอะ) n. อันตราย, ภัย, ความไม่ปลอดภัย, Syn. peril |
dangerous | (เดน'เจอรัส) adj. อันตราย, เป็นภัย, ไม่ปลอดภัย, See also: dangerousness n. ดูdangerous, Syn. risky |
danish | (เด'นิช) adj. เกี่ยวกับชาวเดนมาร์ก, ประเทศเดนมาร์กหรือภาษาเดนมาร์ก n. ภาษาเดนมาร์ก |
deign | (เดน) vi. ถ่อมตัวลงมา, ยอมลดเกียรติ vt. กรุณาให้, กรุณาอนุมัติ, กรุณา, ทรงพระกรุณา |
den | (เดน) { denned, denning, dens } n. ถ้ำสัตว์, รัง, กรงสัตว์, ซ่องโจร, ห้องสกปรกเล็ก ๆ , ห้องส่วนตัว vi. อาศัยอยู่ในถ้ำ vt. ไล่เข้าถ้ำ |
denary | (เดน'นะรี) adj. ประกอบด้วย 10, เป็น 10 เท่า, |
denigrate | (เดน'นิเกรท) vt. ใส่ร้าย, ป้ายสี, ทำให้เสียชื่อเสียง, ทำให้ดำ, See also: denigration n. ดูdenigrate denigrator n. ดูdenigrate |
denim | (เดน'นัม) n. ผ้าฝ้ายหยาบลายสอง |
denium | (เดน'เนียม) n. ชุดทำงานที่ทำด้วยผ้าฝ้ายหยาบ, ผ้าฝ้ายสำหรับทำชุดทำงาน |
denmark | (เดน'มาร์ค) n. ประเทศเดนมาร์ก |
denouement | (เดนูมาน') n. ผลสุดท้าย, ตอนจบ |
dense | (เดนซฺ) adj. แน่น, หนาแน่น, หนาทึบ, โง่เต็มที่, ทึบมัว, มีแสงสว่างน้อย, See also: denseness n., Syn. compact |
densimeter | (เดนซิม'มิเทอะ) n. เครื่องมอวัดความเข้มขน., See also: densimetric adj. ดูdensimeter densimetry n. ดูdensimeter |
density | (เดน'ซิที) n. ความหนาแน่น, ความแน่น, ความทึบ (แสง) , ความโง่, มวลต่อหน่วยปริมาตร |
dent | (เดนทฺ) { dented, denting, dents } n. ส่วนที่ยื่นที่คล้ายฟัน, ฟั่นเฟือง, แอ่ง, รอยเว้า, รอยตอก, vt. ทำเป็นรอยตอก, ทำเป็นรอยบุ๋มหรือแอ่ง. vi. จมลงเป็นรอย, กลายเป็นรอยเว้า |
dental | (เดน'เทิล) adj. เกี่ยวกับฟัน, เกี่ยวกับทันตกรรม, เกี่ยวกับการออกเสียงที่เกิดจากการเอาลิ้นแตะหลังฟันหน้า |
dentifrice | (เดน'ทะฟริส) n. ยาสีฟัน, ผงสีฟัน |
dentin | (เดน'ทิน) n. เนื้อเยื่อฟันที่แข็งประกอบด้วยแคลเซี่ยมคล้ายของกระดูกแต่แน่นกว่า เป็นส่วนประกอบสำคัญของฟัน, See also: dental adj. ดูdentin |
dentine | (เดน'ทิน) n. เนื้อเยื่อฟันที่แข็งประกอบด้วยแคลเซี่ยมคล้ายของกระดูกแต่แน่นกว่า เป็นส่วนประกอบสำคัญของฟัน, See also: dental adj. ดูdentin |
dentist | (เดน'ทิสทฺ) n. ทันตแพทย์, หมอฟัน |
dentistry | (เดน'ทิสทรี) n. ทันตกรรม |
dentition | (เดนทิช'เชิน) n. ชนิด จำนวน, และลักษณะการขึ้นของฟัน, การงอกของฟัน |
denture | (เดน'เชอะ) n. ฟันปลอม |
denudation | (เดนนิวเด'เชิน) n. การทำให้ว่างเปล่า, การทำให้เปลือย, การเปลือง, การชะ, การล้าง, การสึกกร่อน, การเพิกถอนสิทธิ์, See also: denudative adj. ดูdenudation |
disdain | (ดิสเดน') { disdained, disdaining, disdains } vt. ดูถูก, ดูหมิ่น, เหยียดหยาม, รังเกียจ. n. การดูถูก, การดูหมิ่น, ความรู้สึกที่รังเกียจ, Syn. scorn, contempt |
disdainful | (ดิสเดน'ฟูล) adj. เป็นการดูถูก (ดูหมิ่น, เหยียดหยาม, รังเกียจ) ., Syn. contemptuous, aloof |
eden | (อี'เดิน) n. แดนสวรรค์, สวนอีเดน -Edenic adj. ดูEden |
endanger | (เอนเดน'เจอ) vt. ทำให้เกิดอันตราย, See also: endangerment n. การทำให้เกิดอันตราย, Syn. imperil |
expedential | (อิคซฺพิเดน'เชิล) adj. เกี่ยวกับความสะดวก, เกี่ยวกับแผนฉุกเฉิน, ง่าย |
froth | (ฟรอธ) n. ฟอง, ฟองน้ำลาย, สิ่งที่ไร้ค่า, กาก, กากเดน. -v. ปกคลุมไปด้วยฟอง, ทำให้เกิดเป็นฟองขึ้น, ปล่อยฟองออก., Syn. bubbles, foam |