Fission yield | ฟิชชันยีลด์, ร้อยละของนิวไคลด์ใดๆ ต่อนิวไคลด์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการแบ่งแยกนิวเคลียส หรือหมายถึงพลังงานที่ปล่อยจากการแบ่งแยกนิวเคลียสในการระเบิดแบบเทอร์โมนิวเคลียร์ เมื่อเปรียบเทียบกับพลังงานที่ปล่อยจาก<font color="#8b0000">การหลอมนิวเคลียส</font> [นิวเคลียร์] |
radiolytic products | เรดิโอไลติกโปรดักส์, คือ สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีอาหาร เมื่อรังสีทะลุผ่านอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และเกิดปฏิกิริยาเรดิโอไลซิส ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียร และไปทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร ได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง ซึ่งเรียกโดยรวมว่า เรดิโอไลติก โปรดักส์ การเกิดอนุมูลอิสระนอกจากจะเกิดจากการใช้รังสีแล้ว ยังเกิดจากการใช้ความร้อน เช่น การต้ม การทอด การอบ การย่าง และการปิ้ง และอนุมูลอิสระที่เกิดจากการใช้ความร้อนนี้ทำให้เกิดสารประกอบต่างๆ ที่มี โมเลกุลเล็กลงได้เช่นกัน แต่เรียกโดยรวมว่าเทอร์โมไลติกโปรดักส์ และเมื่อเปรียบเทียบกับเรดิโอไลติกโปรดักส์ พบว่า สารประกอบส่วนใหญ่เป็นชนิดเดียวกัน และเป็นสารประกอบที่ตรวจพบได้ในอาหารที่ไม่ได้ฉายรังสี [พลังงาน] |
sterile insect technique | การควบคุมจำนวนแมลงด้วยแมลงที่เป็นหมัน, คือ วิธีการควบคุมประชากรแมลง โดยใช้แมลงชนิดเดียวกันที่เป็นหมันด้วยรังสี โดยมีหลักการคือ นำแมลงม ทำให้เป็นหมันด้วยรังสีชนิดก่อไอออน แล้วปล่อยไปในธรรมชาติ แมลงตัวเมียที่ได้รับการผสมพันธุ์กับแมลงตัวผู้ที่เป็นหมัน จะไม่สามารถขยายพันธุ์ต่อไปได้ การควบคุมแมลงวิธีนี้ จะต้องปล่อยแมลงที่เป็นหมันจำนวนมากหลายรุ่นต่อเนื่องกัน จนกว่าประชากรแมลงลดลงหรือหมดไป ข้อดีของวิธีการนี้เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการใช้ยาฆ่าแมลง คือ ไม่มีสารพิษตกค้างในผลิตผลการเกษตร และไม่ทำลายแมลงที่เป็นประโยชน์ ประเทศไทยมีการใช้วิธีการนี้ควบคุมแมลงวันผลไม้ (Oriental fruit fly) ที่ดอยอ่างขาง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง และ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา [พลังงาน] |
ฉลากเขียว | ฉลากที่ให้กับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกัน [พลังงาน] |
Compression moulding | การขึ้นรูปโดยใช้แม่พิมพ์แบบอัดเป็นวิธีการขึ้นรูปที่ใช้กันมากที่สุด ในโรงงานอุตสาหกรรมเมื่อเปรียบเทียบกับการขึ้นรูปโดยใช้แม่พิมพ์แบบอื่น ๆ เพราะเป็นวิธีที่ง่ายและไม่ต้องลงทุนทางด้านเครื่องจักรสูง เพราะแม่พิมพ์และเครื่องอัดมีราคาไม่สูงมากนัก เครื่องอัดที่นิยมใช้ ได้แก่ เครื่องอัดระบบไฮดรอลิค การผลิตเริ่มจากการนำยางคอมพาวด์มาวางในแม่พิมพ์ที่ร้อน ปิดแบบแม่พิมพ์ อัดด้วยความร้อนและความดันภายใต้อุณหภูมิที่กำหนด ยางจะเกิดการวัลคาไนซ์และคงรูปเป็นผลิตภัณฑ์ หลังจากนั้นถอดออกจากแม่พิมพ์ จะได้ผลิตภัณฑ์ตามต้องการ [เทคโนโลยียาง] |
Isoprene rubber or Polyisoprene | ยางพอลิไอโซพรีนหรือยาง IR เป็นยางสังเคราะห์ที่มีโครงสร้างทางเคมีเหมือนกับยางธรรมชาติ จึงมีสมบัติต่างๆ ใกล้เคียงกับยางธรรมชาติมาก และสามารถใช้แทนยางธรรมชาติในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติแล้ว ยาง IR มีสมบัติเชิงกล เช่น ความทนต่อแรงดึง และความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายางธรรมชาติเล็กน้อย เนื่องจากยาง IR มีสัดส่วนของโครงสร้างแบบ cis- ที่ต่ำกว่ายางธรรมชาติจึงมีแนวโน้มที่จะตกผลึกได้น้อยกว่า แต่มีข้อดีคือ ยางมีคุณภาพสม่ำเสมอมากกว่ายางธรรมชาติ มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และมีสีขาวสวย [เทคโนโลยียาง] |
Styrene-butadiene rubber | ยางเอสบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งผลิตโดยการเตรียมโคพอลิ เมอร์ระหว่างสไตรีนและบิวทาไดอีนด้วยวิธีพอลิเมอไรเซชั่นแบบอิมัลชัน (Emulsion polymerization) มีชื่อเรียกว่า Buna-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1) และ GR-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2) เป็นยางที่ใช้ในงานทั่วไป ราคาไม่แพง มีหลายเกรดขึ้นกับกระบวนการสังเคราะห์ ยางเอสบีอาร์เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติจะมีคุณภาพสม่ำเสมอกว่า มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และที่สำคัญคือ ไม่ต้องบดยางให้นิ่มก่อนทำการผสมเคมียางเนื่องจากยางชนิดนี้ถูกสังเคราะห์มา ให้มีน้ำหนักโมเลกุลที่ไม่สูงมากนัก จึงมีความหนืดที่เหมาะสมทำให้สารเคมีกระจายตัวได้ดี ไหลได้ง่ายในระหว่างการขึ้นรูป มีแนวโน้มที่จะเกิดยางตายในระหว่างกระบวนการผลิตน้อยกว่า มีอัตราเร็วในการคงรูปช้ากว่าและถูกออกซิไดซ์ได้ช้ากว่ายางธรรมชาติ ทำให้สามารถผสมยางในเครื่องผสมระบบปิดที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ แม้ว่ายางเอสบีอาร์จะมีค่าความทนต่อแรงดึงและความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายาง ธรรมชาติ เนื่องจากไม่สามารถเกิดการตกผลึกได้เมื่อถูกยืด แต่ถ้ามีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงลงไปก็สามารถทำให้ค่าดังกล่าวสูงใกล้ เคียงหรือต่ำกว่ายางธรรมชาติเพียงเล็กน้อย สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย เช่น การผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ และส่วนมากจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางล้อยานพาหนะขนาดเล็กโดยใช้ผสมกับ ยางชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติ ยางบิวทาไดอีน [เทคโนโลยียาง] |
Criterion Validity | ความถูกต้องโดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน [การแพทย์] |
Evaluation, Criterion Referenced | การประเมินผลโดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน [การแพทย์] |
Evaluation, Norm Referenced | การประเมินผลโดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ปกติวิสัย [การแพทย์] |
against | (prep) เปรียบเทียบกับ |
compare to | (phrv) เปรียบเทียบกับ, See also: เทียบกับ, Syn. compare with, equate to, liken to |
compare with | (phrv) เปรียบเทียบกับ, See also: เทียบกับ, Syn. compare to |
contrast with | (phrv) แสดงความแตกต่างกับ, See also: เปรียบเทียบกับ |
equate to | (phrv) เปรียบเทียบกับ, See also: เทียบกับ, Syn. compare to, compare with |
year on year | (idm) แต่ละปี (มักใช้เมื่อพูดถึงราคา, สถิติ ฯลฯ และเปรียบเทียบกับปีสุดท้าย) |
match against | (phrv) เปรียบเทียบกับ, See also: เทียบเท่ากับ, Syn. match with |
relatively | (adv) โดยเปรียบเทียบกับสิ่งอื่น |
wetware | (sl) สมองมนุษย์ (ใช้เปรียบเทียบกับสมองกลของคอมพิวเตอร์), See also: สมองคน |
vis-a- vis | (prep) เปรียบเทียบกับ, See also: เมื่อเทียบกับ, Syn. compared with |
vs | (n) เปรียบเทียบกับ (คำย่อของ versus), Syn. versus |
expert system | ระบบผู้เชี่ยวชาญหมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่แสดงความสามารถได้เหมือนกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ หรือในงานเฉพาะอย่าง เช่น งานด้านการแพทย์ ระบบนี้จะรวมเอาความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ซึ่งพวกมืออาชีพหรือผู้ชำนาญการได้รวบรวมไว้ กับต้องมีวิธีการที่จะใช้ในการประมวลผล โดยการตั้งคำถามให้ตอบ โปรแกรมประเภทนี้ จะต้องนำคำตอบเหล่านั้นมาประมวลผล เปรียบเทียบกับข้อมูลที่รวบรวมไว้แล้ว หาข้อสรุปให้ หรือช่วยแก้ปัญหาให้ คำตอบที่คอมพิวเตอร์ตอบนี้ ถือว่าเป็นคำตอบที่เหมือนกับที่ผู้เชี่ยวชาญจะตอบ |
mental age | ระดับความสามารถของสมองหรือความสามารถของบุคคล เพื่อเปรียบเทียบกับอายุบุคคลนั้น |
odd even check | การตรวจสอบภาวะคู่หรือคี่หมายถึง วิธีการตรวจสอบโดยการตรวจสอบแต่ละหน่วยข้อมูลไม่ว่าจะเป็นไบต์ (byte) หรือเป็นคำ (word) ว่ามีจำนวนบิต (bit) ที่เป็น 1 เป็นจำนวนคู่หรือคี่ โดยการเพิ่มหนึ่งบิตที่เรียกว่า บิตเสริม (parity bit) เข้าที่ท้ายหรือต้นข้อมูลนั้น ๆ เพื่อให้จำนวนบิตที่เป็น 1 เป็นเลขคี่หรือคู่เป็นการตรวจสอบความเคลื่อนคลาดในการอ่าน, บันทึก, หรือถ่ายโอนข้อมูลนั้น ๆ โดยปกติ พออ่านข้อมูลเข้าไปหน่วยหนึ่ง บิตเสริมก็จะถูกนำมาคำนวณและเปรียบเทียบกับบิตเสริมที่เก็บไว้แล้ว หากมีค่าเท่ากันก็แปลว่าการอ่านข้อมูลเข้าไปถูกต้อง มิฉะนั้น อาจต้องให้อ่านซ้ำอีกครั้งหนึ่งมีความหมายเหมือน parity check |
parity check | การตรวจสอบภาวะเสริมหมายถึง วิธีการตรวจสอบโดยการตรวจแต่ละหน่วยข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นไบต์ (byte) คำ (word) ว่าเป็นเลขคู่หรือเลขคี่ เป็นการตรวจสอบความเคลื่อนคลาดในการอ่าน บันทึก หรือ ถ่ายโอนข้อมูลนั้น ๆ โดยปกติ พออ่านข้อมูลเข้าไปหน่วยหนึ่ง บิตเสริม (parity bit) ก็จะถูกนำมาคำนวณแล้วเปรียบเทียบกับบิตเสริมที่เก็บไว้แล้ว หากมีค่าเท่ากัน ก็แปลว่า การอ่านข้อมูลเข้าไปถูกต้อง มิฉะนั้น อาจต้องให้มีการอ่านซ้ำอีกครั้งหนึ่งมีความหมายเหมือน odd even check |
than | (แธน) conj. กว่า, นอกจาก...เมื่อเปรียบเทียบกับ, เมื่อสัมพันธ์กับ |
vis- | ?, See also: vis วี'ซะ วี' adv., adj. เผชิญหน้า. prep. สัมพันธ์กัน, เปรียบเทียบกับ, เผชิญหน้ากับ, ต่อต้าน. n. ผู้ที่เผชิญหน้ากับผู้อื่น, ผู้ที่อยู่ตรงข้ามกัน, รถม้าที่มีที่นั่งที่หันเข้าหากัน |