Hydroxymethylglutaryl-CoA reductase inhibitors | สารยับยั้งไฮดรอกซีเมทิลกลูทาริลโคเอรีดักเทส [TU Subject Heading] |
Methyl Bromide | เมทิลโบรไมด์, Example: สารเคมีสังเคราะห์ ใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม อย่างกว้างขวาง เช่น อบพืชพันธุ์เพื่อฆ่าแมลง ใช้เป็นน้ำยากำจัดเหา เคมีดับเพลิง และอุตสาหกรรมทางเคมีผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับสี สารเคมีชนิดนี้ทำให้เกิดการคั่งน้ำในตับ ไต สมอง และปอด ถ้าได้รับในปริมาณมาก ค่ามาตรฐานที่ยอมรับได้ คือ 9 ไมโครกรัม/เดซิลิตร [สิ่งแวดล้อม] |
Epichlorohydrin | ยางอิพิคลอโรไฮดรินเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่มีสายโซ่หลักเป็นพอลิ อีเทอร์และมีหมู่คลอโรเมทิลเป็นกิ่งก้าน แบ่งได้เป็น 3 ชนิดหลัก คือ 1.โฮโมพอลิเมอร์ของอิพิคลอโรไฮดริน (CO) ได้จากการทำปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบเปิดวงแหวนของอิพิคลอโรไฮดริน 2.โคพอลิเมอร์ของอิพิคลอโรไฮดรินและเอทิลีนออกไซด์ (ECO) ได้จากการนำเอทิลีนออกไซด์ไปพอลิเมอไรเซชันร่วมกับอิพิคลอโรไฮดริน 3.เทอร์พอลิเมอร์ระหว่างอิพิคลอโรไฮดริน เอทิลีนออกไซด์ และมอนอเมอร์ชนิดที่ไม่อิ่มตัว (GECO/ETER) ได้จากการเติมมอนอเมอร์ชนิดที่สามลงไปเพื่อให้ยางชนิดนี้สามารถคงรูปได้โดย ใช้ระบบกำมะถันและเพอร์ออกไซด์ ยางอิพิคลอโรไฮดรินมีสมบัติเด่นหลายประการ คือ ทนต่อน้ำมันและน้ำมันเชื้อเพลิงได้ดี ทนต่อความร้อนและโอโซนได้ดีเยี่ยม มีอัตราการซึมผ่านของก๊าซและน้ำมันเชื้อเพลิงต่ำที่สุด ทนทานต่อการติดไฟได้ดี และมีสมบัติการหักงอที่อุณหภูมิต่ำดีมากอีกด้วย ยางชนิดนี้แม้ว่าจะมีสมบัติที่ดีหลายประการ แต่ไม่นิยมนำมาใช้มากนักเนื่องจากยางชนิดนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนโลหะและยางจะ อ่อนตัว (reversion) เมื่อใช้งานที่อุณหภูมิสูงเป็นเวลานานและมีราคาแพงมาก ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ทำจากยางชนิดนี้ ได้แก่ ซีล ปะเก็น ท่อน้ำมัน ปลอกหุ้มสายเคเบิล ลูกกลิ้งในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Silicone rubber | ยางซิลิโคนเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งในแกนสายโซ่หลักของโมเลกุล ประกอบด้วยอะตอมของซิลิกอน (Si) และออกซิเจน (O) มีสูตรโครงสร้างทางเคมีเป็นพอลิไซลอกเซน (polysiloxane) ยางซิลิโคนมีหลายเกรด แต่ละเกรดจะแตกต่างกันที่หมู่ R ที่เกาะอยู่บนสายโซ่หลัก ดังนี้ MQ หมู่ R เป็นหมู่เมทิล (CH 3 ) VMQ หมู่ R เป็นหมู่ไวนิล (CH 2 = CH 2) PMQ หมู่ R เป็นหมู่ฟีนิล (C 6 H 5 ) PVMQ หมู่ R มีทั้งหมู่ฟีนิล หมู่ไวนิล และหมู่เมทิล FVMQ หมู่ R มีทั้งหมู่ไตรฟลูออโรโพรพิล หมู่ไวนิล และหมู่เมทิล แต่เกรดที่ใช้กันมากที่สุดจะเป็นพอลิเมอร์ของไดเมทิลไซลอกเซน (หมู่ R คือ CH 3) หรือที่มีชื่อย่อว่า MQ สมบัติโดยทั่วไปมีค่าความทนต่อแรงดึง ความต้านทานต่อการขัดถู และความต้านทานต่อแรงกระแทกต่ำมาก ดังนั้นจึงต้องมีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงเช่น ซิลิกาเข้าช่วย แต่ยางซิลิโคนทนต่อสภาพอากาศ ออกซิเจน โอโซน แสงแดด และความร้อนได้ดี นอกจากนี้ยังสามารถใช้งานได้ที่อุณหภูมิสูงหรือต่ำมากๆ ได้ เนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูงมาก ดังนั้นการใช้งานจึงจำกัดอยู่ในผลิตภัณฑ์ที่ไม่สามารถใช้ยางชนิดอื่นๆ ได้ เช่น การผลิตชิ้นส่วนของยานอวกาศ เครื่องบิน รถยนต์ ยางโอริง หน้ากากออกซิเจน แป้นกดของโทรศัพท์มือถือ งานทางการแพทย์และเภสัชกรรม เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Alcohol, Methyl | เมทธิลแอลกอฮอล์; แอลกอฮอล์, เมทิล; เมทิลแอลกอฮอล์ [การแพทย์] |
Carbon Tetrachloride Methyl Alcohol | คาร์บอนเตตราคลอไรด์เมทิลแอลกอฮอส์ [การแพทย์] |
Carboxymethyl Cellulose | คาร์บอกซิมิทิลเซลลูโลส, คาร์บอกซิเมทิลเซลลูโลส [การแพทย์] |
Carboxymethylcellulose | คาร์บอกซิเมทิลเซลลูโลส [การแพทย์] |
Dimethylformamide | ไดเมทิลฟอร์มมาไมด์ [การแพทย์] |
Dimethylsiloxane | ไดเมทิลซิลอกเซน [การแพทย์] |
Dimetilan | ไดเมทิลาน [การแพทย์] |
butanoic acid | กรดบิวทาโนอิก, กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C3H7COOH เป็นของเหลว มีจุดเดือด 163.3 °C ใช้ในการเตรียมกลิ่นสังเคราะห์ เช่น เมื่อรวมกับเมทิลแอลกอฮอล์จะได้สารมีกลิ่นเหมือนมะละกอสุก เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
methyl bromide | เมทิลโบรไมด์, สารเคมีชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ CH3Br เป็นแก๊สไม่มีสีหนักกว่าอากาศ ใช้เป็นยาพ่นฆ่าแมลง และใช้สังเคราะห์สารอินทรีย์อื่น ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
methyl violet [ gentian violet ] | เมทิลไวโอเลต, สารเคมีชนิดหนึ่ง เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เจนเชียนไวโอเลต สูตรเคมี คือ C25H30CIN3 ใช้เป็นอินดิเคเตอร์ ยาระงับเชื้อ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
methyl orange | เมทิลออเรนจ์, สารเคมีชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C14H14N3NaO3S ผลึกสีส้มละลายได้ในแอลกอฮอล์ สารละลายของเมทิลออเรนจ์ .01% ใช้เป็นอินดิเคเตอร์ซึ่งมีช่วงการเปลี่ยนสีในสารละลายที่มี pH 3 - 4 เมื่ออยู่ในสารละลายที่มี pH ต่ำกว่า 3 จะมีสีแดงและสูงกว่า 4 จะมีสีเหลือง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
methyl alcohol | เมทิลแอลกอฮอล์, ดู methanol [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
amine | เอมีน, สารอินทรีย์ที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบในโมเลกุลเกิดจากหมู่ไฮโดรคาร์บอนแทนที่ไฮโดรเจนในโมเลกุลของแอมโมเนียเพียงหนึ่ง สอง หรือ ทั้งสามอะตอมก็ได้ เช่น อะนิลีน C6H5NH2 ไดเมทิลอามีน(CH3)2NH เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Hexamethylmelamine | เฮกซาเมทิลเมลามิน [การแพทย์] |
Methyl | กลุ่มเมธิล, เมทิล [การแพทย์] |
Methyl Alcohol Acetone | เมทิลแอลกอฮอส์อาซิโตน [การแพทย์] |
Methyl Group | หมู่เมทิล, หมู่เมธิล, สารกลุ่มแมททิล [การแพทย์] |
Methyl Mercaptan | สารเมทิลเมอร์แคพเทน [การแพทย์] |
Methyl Nitrosocarbamate | เมทิลไนโทรโซคาร์บาเมท [การแพทย์] |
Methyl Orange | เมธิลออเรนจ์, เมทิลออเรนจ์ [การแพทย์] |
Methyl Parathion | เมทิลพาราไธออน [การแพทย์] |
Methylcellulose | เมทิลเซลลูโลส [การแพทย์] |
Methylene Iodides | เมทิลลีนไอโอไดด์ [การแพทย์] |
Methylergonovine | เมทิลเออร์โกโนวีน, ยา; เมธิย์ลเออร์โกโนวีน [การแพทย์] |
Methylmethacrylate | เมทิลเมทาครายเลต, ยา [การแพทย์] |
Methylorange | เมทิลออเรนจ์ [การแพทย์] |
Methylparaben | เมทิลพาราเบน, เมธิลพาราเบน, เมทิลพาราเบน [การแพทย์] |