เมธ | (เมด) น. การเซ่นสรวง, การบูชายัญ, มักใช้เป็นส่วนหลังสมาส เช่น อัศวเมธ. |
เมธา | น. ปัญญา, ความรู้, ความฉลาดรอบคอบ. |
เมธาวี, เมธี | น. นักปราชญ์. |
สุเมธ | (-เมด) น. คนมีปัญญาดี, นักปราชญ์. |
อัศวเมธ | น. ชื่อพระราชพิธีเพื่อประกาศพระบรมเดชานุภาพของพระราชาธิราชในวรรณคดีอินเดีย โดยจะทรงปล่อยม้าอุปการพร้อมทั้งกองทัพให้เข้าไปในประเทศต่าง ๆ ถ้าประเทศใดไม่ยอมอ่อนน้อมกองทัพจะเข้าโจมตี เมื่อครบ ๑ ปีแล้วกองทัพก็ยกกลับพร้อมทั้งพระราชาที่ถูกปราบ พระราชาธิราชก็จะจัดพระราชพิธีโดยฆ่าม้านั้นบูชายัญ เรียกว่า พิธีอัศวเมธ. |
ธ ๑ | (ทอ) พยัญชนะตัวที่ ๒๔ เรียกว่า ธอ ธง เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น สุเมธ มคธ. |
พระ | ใช้ประกอบหน้าคำอื่นแสดงความยกย่อง ๑. เทพเจ้าหรือเทวดาผู้เป็นใหญ่ เช่น พระอิศวร พระนารายณ์ พระพิรุณ ๒. พระเจ้าแผ่นดินหรือของที่เกี่ยวข้องกับพระเจ้าแผ่นดินและเจ้านายชั้นสูง เช่น พระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ ๓. สมณศักดิ์ชั้นราชาคณะ เช่น พระราชเวที พระเทพเมธี ๔. ภิกษุ เช่น พระสมศักดิ์ ๕. สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น พระภูมิ |
ยชุรเวท | (ยะชุระ-) น. ชื่อคัมภีร์ที่ ๒ ของพระเวท กล่าวถึงพิธีบูชาสำคัญหลายพิธี เช่น พิธีราชสูยะ พิธีอัศวเมธ รายละเอียดในการประกอบพิธีและเรื่องเล่าแต่งเป็นร้อยแก้ว ส่วนบทสวดเป็นฉันท์นำมาจากฤคเวท. (ส.). (ดู เวท, เวท- ประกอบ). |
สาระยำ | ก. ชั่วมาก เช่น ผู้เฒ่าเหล่าเมธา ว่าใบ้บ้าสาระยำ (พระไชยสุริยา). |
อุปการ ๒ | (อุปะกาน, อุบปะกาน) น. เรียกม้าที่ปล่อยในพิธีอัศวเมธ ว่า ม้าอุปการ. |
Video | วีดิทัศน์, คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Video | วีดิทัศน์, <p>คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) <p>คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” [คำทับศัพท์ที่มักใช้ผิด] |
Butyl methy ether | บิวทิล เมธิล อีเธอร์ [TU Subject Heading] |
DNA methylation | ดีเอ็นเอ เมธิลเลชั่น [TU Subject Heading] |
Methyl parathion | เมธิล พาราไธออน [TU Subject Heading] |
Methyltestosterone | เมธิลเทสโตสเตอโรน [TU Subject Heading] |
Pyrimethamine | พัยริเมธามีน [TU Subject Heading] |
ASEAN Secretariat | สำนักเลขาธิการอาเซียน " ตั้งอยู่ที่กรุงจาการ์ตา มีหน้าที่ให้การสนับสนุนงานการประชุม ประสานงาน และเสนอข้อคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ และมีเลขาธิการอาเซียนเป็น หัวหน้าสำนักงาน อยู่ในตำแหน่งคราวละ 5 ปี ทั้งนี้ นายแผน วรรณเมธี เป็นคนไทยคนเดียวที่เคยดำรงตำแหน่งนี้ ระหว่าง ปี พ.ศ. 2527-2529 " [การทูต] |
Hugo Grotius (1583-1645) | บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations) [การทูต] |
Niccolo Machiavelli (1469-1527) | คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต] |
Amethopterin | อเมธอปเทอริน [การแพทย์] |
Beclomethasone | บีโคลเมทาโซน, ยา;บีโคลเมธาโซน [การแพทย์] |
Beta-Methasone Benzoate Gel | เบตาเมธาโซนเบนโซเอตในเจล [การแพทย์] |
Carboxymethyl Cellulose | คารบอคซีเมธธิลเซลลูโลส [การแพทย์] |
Chlormethiazole | คลอเมธิอะโซล [การแพทย์] |
Dimethicone | ไดเมธิโคน [การแพทย์] |
Dimethyl Pthalate | ไดเมธิลธาเลต [การแพทย์] |
Dimethyl Sulfoxide | ไดเมธิย์ลซัลฟ็อกไซด์ [การแพทย์] |
Dimethylamines | ไดเมธีลามีน [การแพทย์] |
Dimethylnitrosamine | ไดเมธิลไนโตรซามีน [การแพทย์] |
Dimethylphthalate | ไดเมธิลธาเลต [การแพทย์] |
Dimethylpolysiloxane | ไดเมธิลโพลีไซลอกเซน [การแพทย์] |
Dimethylpolysiloxanes | ไดเมธิย์ลโพลิย์ซิล็อกเซน [การแพทย์] |
Diphemanil Methyl-Sulfate | ไดฟีมานิลเมธิลซัลเฟต [การแพทย์] |
Dyes, Azomethine | สีจำพวกอะโซ่เมธีน [การแพทย์] |
Endomethacin | อินโดเมธาซิน [การแพทย์] |
Ethers, Dimethyl | ไดเมธิลอีเทอร์ [การแพทย์] |
Flumethasone Pivalate | ฟลูเมธาโซนไพวาเลต [การแพทย์] |
isomer | ไอโซเมอร์, สารที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่มีโครงสร้างและสมบัติแตกต่างกัน เช่น เอทิลแอลกอฮอล์(CH3CH2H) และเมธิลอีเธอร์(CH3OCH3) เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Gamma Methylene Glutamic Acid | กรดแกมม่าเมธิลีนกลูตามิค [การแพทย์] |
Imidazole-N-Methyltransferase | เอ็นซัยม์อิมิดาโซลเอ็นเมธิลทรานสเฟอเรส [การแพทย์] |
Indomethacin | อินโดเมทาซิน, ยา; อินโดเมธาซิน; ยาอินโดเมธาซิน; อินโดเมตาซิน [การแพทย์] |
Methacholine | เมธาโคลีน [การแพทย์] |
Methacholine Compounds | สารเมธาโฆลิน; เมทาโคลีน, ยา; สารประกอบเมธาโคลีน [การแพทย์] |
Methacholine Test | การทดสอบด้วยเมธาโฆลีน, การทดสอบเมธาโฆลีน [การแพทย์] |
Methacycline | เมธาซัยคลีน; เมทาไซคลีน, ยา; เมทาไซคลิน [การแพทย์] |
Methadone | เมทาโดน, ยา; ยาเมธาโดน; เมททาโดน; เมธาโดน [การแพทย์] |
Methadone Maintenance | การใช้ยาเมทาโดนทดแทน, ให้ยาเมธาโดนแทนฝิ่นเป็นประจำ [การแพทย์] |
Methandrostenolone | เมตแอนโดรสตีโนโลน, ฮอร์โมน; เมธแอนโดรสตีโนโลน [การแพทย์] |
Methanol | เมททานอล, เมธานอล, เมทานอล [การแพทย์] |
Methaqualone | เมธธาควาโลน, เมธาควาโลน [การแพทย์] |
Methdilazine | เมธดิลาซีน, เมธไดลาซีน [การแพทย์] |
Methemoglobin | เมตเฮโมโกลบิน, สาร; เมธธีโมโกลบิน; เมทฮีโมโกลบิน [การแพทย์] |
Methenamine Elixer | เมธินามีนในอีลิกเซอร์ [การแพทย์] |
Methenolone | เมธีโนโลน [การแพทย์] |
Methicillin | เมธิซิลลิน [การแพทย์] |
Methimazole | เมธิมาโซล [การแพทย์] |
Methionine | เมทิโอนีน, สาร; เมไธโอนีน; เมไทโอนิน; เมทธัยโอนีน; เมธไธโอนีน; มีทิโอนีน; เมธีโอนีน; เมไทโอนีน [การแพทย์] |
Methisazone | เมธิซาโซน, เมไธซาโซน [การแพทย์] |
Methoxamine | เมธ็อกซามีน; เมทอกซามีน, ยา [การแพทย์] |
method | (เมธ'เธิด) n. วิธีการ, วิธีดำเนินการ, Syn. procedure |
methodise | (เมธ'ธะไดซ) vt. ทำให้เป็นระบบ |
methodist | (เมธ'ธะดิสทฺ) n. สมาชิกนิกายโปรเตสแตนต์นิกายหนึ่ง |
methodology | (เมธธะดอล'ละจี) n. วิธี, วิธีการ, หลักการ, กฎ, การศึกษาเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ |
philosopher | (ฟิลิส'ซะเฟอะ) n. นักปรัชญา, ปรัชญาเมธี, ปราชญ์, ผู้รู้หลักธรรม, ผู้ที่ปลงตก, ผู้เล่นแปรธาตุ, ผู้มีใจเยือกเย็น ไม่สะทกสะท้านต่อภยันตราย, ผู้เล่นแปรธาตุ ุ, See also: philosophership n. |
savant | (เซวานทฺ'แซฟ'เวินทฺ) n. ชายที่มีความรู้มากและลึกซึ้ง, นักปราชญ์, เมธี, ผู้คงแก่เรียน |