กังหันน้ำชัยพัฒนา | น. ชื่อเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอยแบบหนึ่ง เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากาศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นแล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนา ศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม. |
ขอยืม | ก. ขอสิ่งของ เงิน เป็นต้น มาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน, นำของของผู้อื่นมาใช้เป็นของของตน เช่น ขอยืมคำในภาษาบาลีมาใช้ ขอยืมวัฒนธรรมตะวันตกมาใช้ ขอยืมความคิด, (คณิต) ในการลบเลข ถ้าเลขตัวตั้งในหลักใดน้อยกว่าเลขที่จะนำมาลบ ให้นำเลขจากหลักสูงถัดไปมาเพิ่มเลขตัวตั้งเพื่อให้มากพอที่จะลบได้ เช่น ๔๓ - ๕ ในที่นี้ ๕ ลบจาก ๓ ไม่ได้ ๓ ต้องขอยืม ๔ ซึ่งเป็นหลักสิบมา ๑ รวมเป็น ๑๓ แล้วลบออกเสีย ๕ เหลือ ๘ ๔ เมื่อถูกขอยืมไป ๑ ก็เหลือ ๓ ผลลัพธ์ ๓๘, ยืม ก็ว่า. |
ค่า | จำนวนหรือตัวเลขที่ระบุปริมาณหรือขนาดของตัวแปร |
จำนวนบวก | น. จำนวนเลขที่มีค่ามากกว่าศูนย์. |
จำนวนลบ | น. จำนวนเลขที่มีค่าต่ำกว่าศูนย์. |
ตัว ๒ | น. จำนวนเลขที่ใช้ในการคำนวณหาคำตอบตามวิธีการทางคณิตศาสตร์ เช่น ตัวบวก ตัวลบ ตัวคูณ ตัวหาร, ลักษณนามใช้เรียกตัวเลข เช่น เลขท้าย ๒ ตัว. |
ตัวตั้ง ๒ | น. จำนวนเลขที่ตั้งไว้ก่อนสำหรับบวกลบคูณหาร. |
ทศนิยม | น. จำนวนจริงในรูปเลขฐานสิบ โดยกำหนดจุดจุดหนึ่งให้ตัวเลขที่อยู่ข้างหน้าจุดแสดงจำนวนเต็ม ตัวเลขที่อยู่ข้างหลังจุดแสดงจำนวนที่เป็นส่วนของสิบ ร้อย พัน ไปเรื่อย ๆ เช่น ๘๕๖.๑๒๘ ล้านบาท หมายความว่า แปดร้อยห้าสิบหกล้านหนึ่งแสนสองหมื่นแปดพันบาท. |
โทรพิมพ์ | น. ระบบโทรคมนาคมที่ใช้เครื่องรับส่งสัญญาณโทรเลข ประกอบด้วยแป้นพิมพ์และแคร่พิมพ์ ลักษณะคล้ายเครื่องพิมพ์ดีด สามารถรับส่งสัญญาณโทรเลขเพื่อพิมพ์เป็นตัวอักษรบนกระดาษพิมพ์ และส่งตัวอักษรที่พิมพ์เป็นสัญญาณโทรเลขผ่านวงจรโทรเลขที่ต่ออยู่กับเครื่องโทรพิมพ์นั้นได้. |
บวก | ในทางคณิตศาสตร์เรียกจำนวนเลขที่มีค่ามากกว่าศูนย์ ว่า จำนวนบวก. |
ผูกดวง | ก. นำเครื่องหมายแทนพระเคราะห์มีอาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ศุกร์ เป็นต้น บรรจุลงในดวงตามช่องจักรราศีทั้ง ๑๒ ที่โคจรมาสถิตตามวัน เดือน ปี และเวลาตกฟากของเจ้าของชะตานั้น ดูว่าอาทิตย์ตกอยู่ในราศีใด แล้วเอาองศาอาทิตย์ของวันเกิดเจ้าของชะตามาคำนวณว่า เมื่อเวลา ๖.๐๐ นาฬิกา อาทิตย์อยู่ในราศีดังกล่าวมาแล้วนานเท่าใด เรียกว่า อดีตอุทัย และเวลาเหลืออีกนานเท่าใดจึงจะพ้นไปจากราศีนั้น เรียกว่า อนาคตอุทัย แล้วเอาเวลาตกฟากตั้งลบด้วย ๖.๐๐ นาฬิกา และอนาคตอุทัย ต่อไปเอาอันโตนาทีของราศีถัด ๆ ไปลบทีละราศี ถ้าเวลาหรือเลขที่เหลือไม่พอให้อันโตนาทีของราศีใดลบได้ ลัคนาก็อยู่ที่ราศีนั้น การผูกดวงนี้เพื่อทำนายโชคชะตาเป็นต้น. |
ยืม | ในการลบเลข ถ้าเลขตัวตั้งในหลักใดน้อยกว่าเลขที่จะนำมาลบ ให้นำเลขจากหลักสูงถัดไปมาเพิ่มเลขตัวตั้งเพื่อให้มากพอที่จะลบได้ เช่น ๔๓ - ๕ ในที่นี้ ๕ ลบจาก ๓ ไม่ได้ ๓ ต้องยืม ๔ ซึ่งเป็นหลักสิบมา ๑ รวมเป็น ๑๓ แล้วลบออกเสีย ๕ เหลือ ๘ ๔ เมื่อถูกยืมไป ๑ ก็เหลือ ๓ ผลลัพธ์ ๓๘, ขอยืม ก็ว่า. |
เลขยันต์ | น. ตัวเลขที่ประกอบในแผ่นยันต์. |
เลขลำดับ | น. จำนวนนับที่บอกรหัสหรือตำแหน่งที่ของสิ่งที่จัดเรียงกันอย่างมีระบบ เช่น บ้านเลขที่ ๑๕๐ รถประจำทางสาย ๖๒. |
เลขหมาย | น. จำนวนตัวเลขที่กำหนดไว้. |
วงเล็บ | ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น
ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ (๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 - b2 = (a + b)(a – b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า. |
สมมูลเคมี | น. จำนวนเลขที่บ่งแสดงนํ้าหนักของสารที่ทำปฏิกิริยาโดยทางตรงหรือทางอ้อมได้พอดีกับ ๑.๐๐๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุไฮโดรเจน หรือกับ ๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุออกซิเจน. |
ออกเบอร์ | น. วิธีการขายของด้วยการทำสลาก กำหนดตัวเลข มักใช้เลขท้าย ๒ ตัวของลอตเตอรี่รางวัลที่ ๑ เป็นเลขที่ได้รับของ. |
เอ็ด ๑ | ว. หนึ่ง (ใช้เรียกจำนวนเลขที่มี ๑ อยู่ท้าย เช่น ๑๑ ว่า สิบเอ็ด ๑๐๑ ว่า ร้อยเอ็ดหรือหนึ่งร้อยเอ็ด). |
Address | เลขที่อยู่, Example: เลขที่อยู่ประจำส่วนต่างๆ ตามแต่จะกำหนด เช่น เลขที่อยู่หน่วยความจำหมายถึงเลขที่อยู่ของที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจำซึ่งโดยปกติก็คือ เลขที่อยู่ประจำแต่ละไบต์ ทั้งนี้เพราะไบต์เป็นหน่วยความจำที่เล็กที่สุดที่สามารถอ้างถึงหรือระบุได้ [คอมพิวเตอร์] |
Application No. | เลขที่คำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Publication Number | หมายเลขที่ตีพิมพ์โฆษณาคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Priority Number | เลขที่คำขอรับสิทธิบัตรที่ถูกอ้างการมีสิทธิก่อน [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Patent No. | เลขที่สิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Scientific calculator | เครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์, เครื่องคิดเลขที่มีสูตรคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สถิติ สมการลีเนียร์หลายตัวแปรได้ เป็นต้น [Assistive Technology] |
Internet addresses | บ้านเลขที่บนอินเตอร์เน็ต [TU Subject Heading] |
ส่วนปลอดภัย | ส่วนปลอดภัย , ตัวเลขที่ใช้หารหน่วยแรงประลัยลงให้ถึงขนาดที่ จะใช้ได้ปลอดภัย สำหรับวัสดุที่มีกำลังครากหรือหน่วยแรงพิสูจน์ให้ใช้ค่ากำลังครากหรือหน่วย แรงพิสูจน์นั้นแทนหน่วยแรงประลัย [สิ่งแวดล้อม] |
ออกเทน | ค่าออกเทนเป็นตัวเลขที่บอกถึงคุณภาพการต้านทานการน็อค หรือความสามารถของน้ำมันเบนซินที่จะเผาไหม้โดยปราศจากการน็อคในเครื่องยนต์ ทดสอบได้หลายวิธี อาทิ <br>Research Octane Number (RON) เป็นการวัดโดยใช้เครื่องยนต์มาตรฐาน CFR F-1 วัดที่รอบเครื่องยนต์ต่ำ 600 รอบต่อนาที และอุณหภูมิไอน้ำมันผสมต่ำประมาณ 125 องศาฟาเรนไฮต์ <br>Motor Octane Number (MON) เป็นการวัดโดยใช้เครื่องยนต์มาตรฐาน CFR F-2 วัดที่รอบเครื่องยนต์รอบสูง 900 รอบต่อนาทีและอุณหภูมิไอน้ำมันผสม 300 องศาฟาเรนไฮต์ <br>Road Octane Number ทำการวัดโดยใช้รถยนต์จริงๆ วิ่งบนถนนซึ่งความเร็วและภาระเปลี่ยแนปลงไปต่างๆ กัน เพือ่ให้ได้ใกล้เคียงกับควาเมป็นจริงมากที่สุด วิธีนี้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก [ปิโตรเลี่ยม] |
Data, Continuous | ตัวเลขที่ต่อเนื่องกันข้อมูลมีลักษณะต่อเนื่องกัน [การแพทย์] |
Data, Counting | ข้อมูลชนิดนับ, ตัวเลขที่ได้มาจากการนับ [การแพทย์] |
Data, Numerical Continuous | ข้อมูลตัวเลขชนิดต่อเนื่อง, ตัวเลขที่ได้มาจากการวัด [การแพทย์] |
Data, Numerical Discrete | ตัวเลขที่ได้มาจากการนับ, ข้อมูลตัวเลขชนิดนับ [การแพทย์] |
Discrete | แยกได้ชัดเจน, กระจัดกระจาย, ไม่ต่อเนื่อง, ไม่เกาะติดกัน, ตัวเลขที่ได้มาจากการนับ [การแพทย์] |
body (of a table) | ตัวเรื่อง, ข้อความหรือตัวเลขที่แสดงไว้ในตารางสถิติ (ดู statistical table ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
exponent | เลขชี้กำลัง, ตัวเลขที่เขียนไว้ด้านบนขวาของจำนวนใด ๆ และใช้แสดงกำลังของจำนวนนั้น เช่น จำนวน 53 มี 3 เป็นเลขชี้กำลัง และ 5 เป็นฐาน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
table number | หมายเลขตาราง, ตัวเลขที่แสดงลำดับที่ของตารางสถิติ (ดู statistical table ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
period | คาบ, กลุ่มธาตุต่าง ๆ ที่อยู่ในแถวเดียวกันตามแนวนอนในตารางธาตุ ธาตุใดอยู่ในคาบที่เท่าใดก็จะมีจำนวนระดับพลังงานในอะตอม เท่ากับเลขที่ของคาบนั้น เช่น K, Ca และ Br อยู่ในคาบที่ 4 แสดงว่าแต่ละธาตุมีจำนวนระดับพลังงานในอะตอม 4 ระดับ ได้แก่ n = 1, n = 2, n = 3 และ n [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
significant figure | เลขนัยสำคัญ, จำนวนตัวเลขที่เป็นผลจากการวัดซึ่งมีความหมายและความเหมาะสมตามความละเอียดของเครื่องมือที่ใช้วัด เช่น ใช้ไม้บรรทัดวัดความยาวดินสอแท่งหนึ่งได้ 2.56 เซนติเมตร แต่ถ้าใช้ไมโครมิเตอร์วัดจะได้ 2.5632 เซนติเมตร แสดงว่าการใช้ไม้บรรทัดวัดจะได้เลขนัยสำคัญ 3 ตัว และใช [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
IP address | เลขที่อยู่ไอพีหรือไอพีแอดเดรส, หมายเลขอ้างอิงในการติดต่อสื่อสาร ประกอบด้วยเลข 4 ชุด ซึ่งแยกกันด้วยเครื่องหมายจุด และจะต้องไม่ซ้ำกัน เช่น 202.29.77.131 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
domain name system (DNS) | ระบบชื่อโดเมน, ระบบแปลงเลขที่อยู่ไอพีให้เป็นชื่อโดเมนที่อยู่ในรูปของชื่อย่อภาษาอังกฤษหลายส่วนคั่นด้วยเครื่องหมายจุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
antilogarithm | (แอนทีลอก' กะริธึม) n. ตัวเลขที่มีเลขที่กำหนดให้เป็น logarithm. -antilogarithmic adj. |
autocoder | (ออโทโค'เดอะ) n. เครื่องคิดเลขหรือเรียงเลขที่อัตโนมัติ (automatic coder) |
base address | หมายถึง ตำแหน่งเริ่มต้นที่ใช้เพื่อการคำนวณหาเลขที่อยู่ (address) ในแหล่งเก็บข้อมูล จากเลขที่อยู่สัมพัทธ์ (relative address) |
concrete number | ตัวเลขที่เกี่ยวกับวัตถุหรือสิ่งของเฉพาะอย่าง |
dde | (ดีดีอี) ย่อมาจาก dynamic data exchange คำนี้ใช้ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์และโอเอส/ทู หมายถึงการทำให้สองโปรแกรมบนวินโดว์ สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เป็นต้นว่า การนำตัวเลขที่อยู่ในโปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) มาใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ตัวเลขเหล่านั้นใหม่ นอกจากนั้น หากมีการแก้ไขตัวเลขในตารางจัดการ ตัวเลขในโปรแกรมประมวลผลคำ ก็จะได้รับการแก้ไขไปด้วยโดยอัตโนมัติ |
doorplate | (ดอร์'เพลท) n. ป้ายเลขที่บ้าน |
dynamic data exchange | การสับเปลี่ยนข้อมูลแบบพลวัตใช้ตัวย่อว่า DDE (อ่านว่า ดีดีอี) คำนี้ใช้ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์และโอเอส/ทู หมายถึงการทำให้สองโปรแกรมบนวินโดว์ สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เป็นต้นว่า การนำตัวเลขที่อยู่ในโปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) มาใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ตัวเลขเหล่านั้นใหม่ นอกจากนั้น หากมีการแก้ไขตัวเลขในตารางจัดการ ตัวเลขในโปรแกรมประมวลผลคำ ก็จะได้รับการแก้ไขไปด้วยโดยอัตโนมัติ |
electronic mail | ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า e-mail หมายถึงการสื่อสารหรือการส่งข้อความ โน้ต หรือบันทึกออกจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ผ่านไปเข้าเครื่องปลายทาง (terminal) หรือเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งโดยส่งผ่านทางระบบเครือข่าย (network) ผู้ส่งจะต้องมีเลขที่อยู่ (e-mail address) ของผู้รับ และผู้รับก็สามารถเปิดคอมพิวเตอร์เรียกข่าวสารนั้นออกมาดูเมื่อใดก็ได้ โดยปกติ จะไม่มีการพิมพ์ข้อความหรือข่าวสารนั้นลงแผ่นกระดาษ นับว่าเป็นการประหยัดกระดาษไปได้ส่วนหนึ่ง โดยทั่วไป ถือกันว่าเป็นงานส่วนหนึ่งของสำนักงานอัตโนมัติ (office automation) ปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอันมาก |
entry point | เลขที่อยู่แรกเข้าจุดแรกเข้าหมายถึง จุดเริ่มต้นของคำสั่งแรกในชุดคำสั่ง (program) หรือชุดคำสั่งประจำ (routine) การปฏิบัติงานจะเริ่มต้น ณ จุดนี้ |
fixed point number | จำนวนเต็มหมายถึง เลขที่มีจุดทศนิยม (สมมติ) ตายตัว หรือที่เรียกว่า เลขจำนวนเต็ม (integer) ตรงข้ามกับ floating point number ซึ่งหมายถึงเลขทศนิยมที่จะกำหนดให้มีเลขตามหลังจุด ทศนิยมกี่หลักก็ได้ตามที่ต้องการ |
floating point number | เลขทศนิยมหมายถึง เลขที่มีจุดทศนิยม จะมีเลขตามหลังจุดทศนิยมนี้กี่ หลักก็ได้ ตรงข้ามกับ fixed point number ซึ่งหมายถึง เลขจำนวนเต็ม (integer) |
handheld | ขนาดมือถือเป็นคำบอกขนาดของไมโครคอมพิวเตอร์ที่เล็กกว่าขนาดวางตัก (laptop) และขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook) มีลักษณะคล้ายเครื่องคิดเลขที่มีหน่วยความจำ มีสูตรคณิตศาสตร์ต่าง ๆ เก็บไว้ |
hexadecimal | ฐาน 16ระบบเลขฐาน 16 หมายถึงระบบเลขที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9) ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น เรานิยมใช้เลขฐาน 16 ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ จะรับรู้ได้ เลขฐานสิบหกก็คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F |
magnetic ink | หมึกแม่เหล็กเป็นหมึกพิเศษชนิดหนึ่ง มีสารแม่เหล็กเป็นส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านตัวอักษรที่พิมพ์ด้วยหมึกชนิดนี้ได้ และจะแยกได้ว่ามีข้อความใดบ้าง โดยใช้คุณสมบัติของแม่เหล็ก หมึกแม่เหล็กชนิดนี้ มักใช้พิมพ์ในกิจการธนาคาร เช่น เลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค หรือแบบฟอร์มเบิกเงิน เป็นต้น |
magnetic ink character re | เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็กใช้ตัวย่อว่า MICR (อ่านว่า เอ็มไอซีอาร์) หมายถึง เครื่องอ่านตัวอักขระที่พิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก การอ่านหมึกแม่เหล็กที่ว่านี้ ใช้วิธีอ่านด้วยแสง ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้น ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น |
mantissa | (แมนทิส'ซะ) n. เลขที่อยู่ทางขวาของจุดของ logarithm |
median | (มี'เดียน) adj. แนวหรือเส้นกึ่งกลาง, อยู่ตรงกลาง, ระหว่างกลาง. n. ค่าเฉลี่ยของเลขกลางจำนวนของกลุ่มเลขที่เรียงลำดับ ความมากน้อย, แนวแบ่ง, เส้นแบ่ง. |
micr | (เอ็มไอซีอาร์) ย่อมาจาก magnetic ink character reader แปลว่าเครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก การอ่านนี้จะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ หมึกที่ใช้ต้องมีลักษณะพิเศษ เช่นเป็นแม่เหล็ก ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น |
most | (โมสทฺ) adj. (คุณศัพท์เปรียบเทียบของmuchหรือmany) มากที่สุด, ส่วนใหญ่. n. จำนวนที่มากที่สุด, ปริมาณที่มากที่สุด, เลขที่สูงสุด, คนส่วนใหญ่, -Phr. (at the most อย่างมากที่สุด) adv. มากที่สุด, เกือบจะ |
number crunching | คิดเลขเร็วหมายถึง การคำนวณที่ซับซ้อน หรือที่มีตัวเลขที่มีค่ามาก ๆ (เช่น ตัวเลขทางธุรกิจ หรืองบประมาณ) ได้อย่างรวดเร็ว |
number system | ระบบจำนวนหมายถึงจำนวนตัวเลขในแต่ละระบบ เช่น ระบบฐานสิบ จะมีเลขที่ใช้ในระบบ 10 ตัว (นิยมใช้กันอยู่ทั่วไป) คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ฐานสอง จะมีเลขที่ใช้ในระบบ 2 ตัว คือ 0 กับ 1 นอกจากนี้ ยังมีระบบฐานแปด ฐานสิบหก ฯ เลขระบบฐานอื่นไม่สู้เป็นที่นิยมนัก |
numeric code | รหัสตัวเลขเป็นรหัสตัวเลขที่ใช้ป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเลข 1 จำนวน จะใช้ที่เก็บเป็นชุดของไบต์ 4 ชุด เรียกว่า wordดู word ประกอบ |
numeric format | รูปแบบการเขียนตัวเลขหมายถึง รูปแบบการแสดงจำนวนเลขที่อ่านได้ เห็นได้ เราอาจแสดงจำนวนเลขได้ในหลายรูปแบบด้วยกัน เช่น .25 หรือ 25% เป็นต้น รวมทั้งการเขียนเลขแบบต่าง ๆ อย่างที่ใช้ในโปรแกรมตารางจัดการ เช่น 1000, 1, 000, 1, 000.00 ฯ |
numeric punch | หมายถึง การเจาะบัตรคอมพิวเตอร์ให้เป็นรูตรงช่องที่เป็นตัวเลข ตั้งแต่แถว 0 - 9 ถ้าเจาะตัวเลข ต้องเจาะ 1 รูต่อ 1 คอลัมน์ ส่วนการเจาะตัวอักษร ต้องเจาะ 2 - 3 รูใน 1 คอลัมน์ รูหนึ่งที่แถวบนเหนือตัวเลขเรียกว่า zone punch และอีกรูหนึ่งที่ตัวเลขที่เรียกว่า numeric punchดู Hollerith code ประกอบ |
numerical constant | ค่าคงที่ตัวเลขหมายถึง ตัวเลขที่ประกอบด้วยเลข 0 - 9 โดยปกติเราแบ่งค่าตัวเลขเป็นค่าคงที่จำนวนเต็ม และค่าคงที่ทศนิยม |
octal | ฐานแปดอัฐนิยมหมายถึง ระบบตัวเลขที่มีตัวเลขแปดตัว คือ 0 - 7 อันที่จริงมนุษย์เราคุ้นเคยและใช้ระบบเลขฐานสิบซึ่งมีเลข 10 ตัว คือ 0 - 9 ก็เพราะเรามีนิ้วไว้ให้นับ 10 นิ้วด้วยกัน ส่วนคอมพิวเตอร์นั้นใช้ระบบเลขฐานสองเป็นหลัก |
passel | (แพส'เซล) n. กลุ่มของตัวเลขที่หาค่าไม่ได้ |
poke | (โพค) v. แหย่, กระทุ้ง, กระแทก, ปัก, เสียบ, ดัน, กระตุ้น, ค้นหา., See also: poke fun at หัวเราะ. n. การผลัก, การดัน, Syn. prod, โพก <คำอ่าน>เป็นคำสั่งหนึ่งในภาษาเบสิก BASIC ที่สั่งกำหนดให้เก็บค่าใดค่าหนึ่งในเลขที่อยู่ address ที่แน่นอนในหน่วยความจำได้ |
radiotelegraph | (เรดิโอเทล'ละกราฟ) n., v. (ส่ง) โทรเลขที่ส่งโดยวิทยุ, วิทยุโทรเลข., See also: radiotelegraphic adj. |
reading | (รีด'ดิง) n. การอ่าน, การอ่านออกเสียง, การพิจารณากฎหมายตามวิธีของรัฐสภา, ความรู้, การแปล, จำนวนตัวเลขที่อ่านได้จากอุปกรณ์ (เช่นจากปรอทวัดอุณหภูมิ) , การอ่านบทละคร, การบรรเลงดนตรี adj. เกี่ยวกับการอ่าน, ใช้สำหรับอ่าน, Syn. perusal, interpret |
real number | (เรียล-) n. ตัวเลขที่แท้จริง (ไม่ใช่เศษส่วนและไม่ใช่เลขผสม), Syn. real |
reciprocal | (รีซิพ'ระเคิล) adj. ซึ่งกันและกัน, ต่างตอบแทนกัน n. สิ่งที่เป็นไปทั้งสองฝ่าย, การแลกเปลี่ยนกัน, หมูไปไก่มา, จำนวนเลขที่กลับกัน, See also: reciprocality n., Syn. mutual |
relative address | เลขที่อยู่สัมพัทธ์หมายถึงเลขที่อยู่ (address) ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง โดยใช้จำนวนไบต์ จากเลขที่อยู่อื่นที่มีอยู่แล้ว เช่น เลขที่อยู่สัมพัทธ์ของ "0004" บ่งชี้ว่าข้อมูลนั้นได้เก็บเอาไว้ ห่างจากเลขที่อยู่อีกอันหนึ่งไปอีก 4 ที่ เป็นต้น |
rounding off | การปัดเศษหมายถึง การตัดตัวเลขที่มีค่าน้อยที่สุดออก เพื่อให้ตัวเลขกลม แม้จะมีค่าผิดพลาดบ้าง แต่ก็ควรให้น้อยมากจนสามารถยอมรับได้ เช่น 1, 048, 576 ไบต์ ปัดเศษให้เหลือเพียง 1 ล้านไบต์ เรียกว่า 1 เมกะไบต์ (รับรองตามกฎหมายของสหรัฐ) |