เล่าเรียน | ก. ท่องบ่น เช่น เล่าเรียนคาถาอาคม, ศึกษาหาความรู้ เช่น เขาเล่าเรียนมา อย่าไปเถียงเขา, เรียกเงินที่ต้องชำระเพื่อศึกษาหาความรู้ ว่า ค่าเล่าเรียน. |
เข้าพุง | ใช้ในความว่า ลืมความรู้ที่ได้เล่าเรียนมาหมด ก็มี. |
คงแก่เรียน | ว. ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมามาก. |
ความรู้ | น. สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ เช่น ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์, สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ เช่น ความรู้เรื่องสุขภาพ ความรู้เรื่องนิทานพื้นบ้าน |
คุรุศึกษา | น. การเล่าเรียนวิชาครู. |
เคี่ยวเข็ญ | บังคับให้ทำงานให้มากขึ้น เช่น เคี่ยวเข็ญให้ขยันหมั่นเพียรในการเล่าเรียน. |
ทิ้ง | โดยปริยายหมายความว่า ปล่อยด้วยกิริยาอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ทิ้งลูกทิ้งเมีย ทิ้งบ้าน ทิ้งการเล่าเรียน ทิ้งเพื่อน ทิ้งกันเสียไกล พูดทิ้งไว้ที. |
เทอม | (เทิม) น. ระยะเวลาที่กำหนดไว้เป็นตอน ๆ, ภาคเรียน, เรียกค่าเล่าเรียนที่เก็บในภาคเรียนหนึ่ง ๆ ว่า ค่าเทอม. |
ธุร-, ธุระ | (ทุระ-) น. หน้าที่การงานที่พึงกระทำ, กิจในพระศาสนา มี ๒ อย่าง คือ การเล่าเรียน เรียกว่า คันถธุระ และ การปฏิบัติทางใจ เรียกว่า วิปัสสนาธุระ |
นักเรียน | น. ผู้ศึกษาเล่าเรียน, ผู้รับการศึกษาจากโรงเรียน. |
นิสิต | ศิษย์ที่เล่าเรียนอยู่ในสำนัก, ผู้อาศัย. |
บาเรียน | น. ผู้เล่าเรียน, ผู้รู้ธรรม, ผู้คงแก่เรียน, เปรียญ. |
ปริยัติ | (ปะริยัด) น. การเล่าเรียนพระไตรปิฎก. |
ปริยัติธรรม | (ปะริยัดติทำ) น. ธรรมที่จะต้องเล่าเรียนได้แก่พระไตรปิฎก. |
พหูสูต | น. ผู้มีความรู้เพราะได้สดับตรับฟังหรือศึกษาเล่าเรียนมามาก. |
พาหุสัจจะ | น. ความเป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก, ความเป็นผู้ได้ศึกษาเล่าเรียนมาก. |
พิทยาคม | น. การเล่าเรียนวิชา, เวทมนตร์. |
เพดาน ๑ | โดยปริยายหมายความว่า ระดับสูงสุด เช่น เพดานค่าเล่าเรียน. |
ลูกศิษย์ | น. ผู้ศึกษาเล่าเรียนหรือผู้เยาว์วัยซึ่งอยู่ในความดูแลคุ้มครองของอาจารย์, ศิษย์ หรือ ลูกศิษย์ลูกหา ก็ว่า. |
วิชา | น. ความรู้, ความรู้ที่ได้ด้วยการเล่าเรียนหรือฝึกฝน, เช่น วิชาภาษาไทย วิชาช่าง วิชาการฝีมือ. |
ศาลาวัด | น. อาคารที่ปลูกไว้ในวัดสำหรับทำบุญและศึกษาเล่าเรียนเป็นต้น. |
ศิกษก, ศิกษกะ | (สิก-สก, สิกสะกะ) น. ผู้เล่าเรียน |
ศึกษา | น. การเล่าเรียน ฝึกฝน และอบรม. |
สอบไล่ | ก. สอบความรู้ที่เล่าเรียนมาว่าได้ตามมาตรฐานของหลักสูตรแต่ละขั้นหรือทั้งหมด. |
สิกขา | การศึกษา, การเล่าเรียน, เช่น ปริยัติสิกขา ปฏิบัติสิกขา. |
ใส่ใจ | ก. ใส่ไว้ในใจ, จดจำ, เช่น จำใส่ใจไว้ให้ดีนะ, เอาใจจดจ่อ เช่น นักเรียนควรใส่ใจในการศึกษาเล่าเรียนให้มาก. |
อัธยาย | การอ่าน, การเล่าเรียน. |
อุคห-, อุคหะ | (อุกคะหะ-) น. การเล่าเรียน. |
fee | (n) ค่าธรรมเนียม, See also: ค่าตอบแทน, ค่าบริการ, ค่าเล่าเรียน, Syn. charge, payment |
learn | (vi) เรียน, See also: เรียนรู้, ศึกษา, เล่าเรียน, เข้าเรียน, ฝึกปรือ, ฝึกหัด |
learn | (vt) เรียน, See also: เรียนรู้, ศึกษา, เล่าเรียน, เข้าเรียน, ฝึกปรือ, ฝึกหัด |
scholarship | (n) ทุนการศึกษา, See also: ทุนเล่าเรียน |
schoolfee | (n) ค่าเล่าเรียน |
study | (vi) ศึกษา, See also: เรียน, เล่าเรียน, Syn. learn, read |
study | (vt) ศึกษา, See also: เรียน, เล่าเรียน, Syn. learn, read |
study | (n) การศึกษา, See also: การเล่าเรียน, Syn. education, learning, reading |
study | (n) ห้องค้นคว้า, See also: ห้องศึกษาเล่าเรียน, ห้องเขียนหนังสือ, Syn. library, schoolroom |
study for | (phrv) ศึกษาอย่างหนัก, See also: เรียน, เล่าเรียน |
tuition | (n) ค่าเล่าเรียน, See also: ค่าเรียน |
erudition | (n) ความคงแก่เรียน, การเล่าเรียน, ความรู้ |
fee | (n) ค่าบริการ, ค่าตอบแทน, ค่าธรรมเนียม, ค่าเล่าเรียน |
learn | (vi, vt) เรียน, ศึกษา, เล่าเรียน, รู้, ทราบ, หัด |
learner | (n) ผู้เรียน, ผู้ศึกษาเล่าเรียน |
learning | (n) การเรียน, การเรียนรู้, การศึกษา, ความรู้, การเล่าเรียน |
scholarship | (n) ทุนเล่าเรียน |
scholastic | (adj) เกี่ยวกับโรงเรียน, เกี่ยวกับการศึกษา, เกี่ยวกับการเล่าเรียน |
school | (n) โรงเรียน, วิทยาลัย, สถาบันการศึกษา, การเล่าเรียน, ฝูงปลา |