เหตุผล | น. เหตุ, เหตุและผล. |
กล, กล- | (กน, กนละ-) ว. เช่น, อย่าง, เหมือน, เช่น เหตุผลกลใด |
ขึ้น ๒ | มีเหตุผลสมควร เช่น ฟังขึ้น, ถ้าใช้ในความปฏิเสธ เช่น เถียงไม่ขึ้น หมายความว่า เถียงไม่ชนะ. |
เข้าเค้า | ก. เหมาะกับรูปร่าง เค้าหน้า หรือ กิริยาท่าทาง, เหมาะกับเรื่องราวหรือเหตุผล. |
งมงาย | ก. หลงเชื่อโดยไม่มีเหตุผล หรือโดยไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นหรือเหตุผลของผู้อื่น. |
จินตนิยม | น. ขบวนการในประวัติศาสตร์ของปรัชญาและศิลปะที่เน้นการเป็นตัวของตัวเอง เป็นอิสระจากกฎเกณฑ์และระเบียบการที่ยึดถือกันมา นักปรัชญาและศิลปินของขบวนการนี้ถือว่าอารมณ์ ความรู้สึกสำคัญกว่าเหตุผล |
ชักแม่น้ำทั้งห้า | ก. พูดจาหว่านล้อมยกเหตุผลต่าง ๆ เพื่อโน้มน้าวให้ได้สิ่งที่ประสงค์ เช่น เถ้าก็พูดจาหว่านล้อมด้วยคำยอ ชักเอาแม่นํ้าทั้งห้าเข้ามาล่อ (ม. ร่ายยาว กุมาร). |
ชันสูตร | (ชันนะสูด) ก. ตรวจสอบเพื่อหาสาเหตุหรือหลักฐานข้อเท็จจริง เช่น ชันสูตรบาดแผล ชันสูตรพลิกศพ, สอบสวนโดยเหตุผล. |
ดึงดื้อ | ว. ดื้อไม่ยอมฟังเหตุผล, ดื้อดึง ก็ว่า. |
ดื้อดึง | ว. ดื้อไม่ยอมฟังเหตุผล, ดึงดื้อ ก็ว่า. |
เดา | ก. คิดคาดเอาเองโดยไม่มีหลักหรือเหตุผล. |
ตรรก-, ตรรกะ | (ตักกะ) น. ความตรึก, ความคิดอย่างใช้เหตุผล. |
ตรรกศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการคิดหาเหตุผลว่าจะสมเหตุสมผลหรือไม่, ใช้ว่า ตรรกวิทยา ก็มี. |
ตักกะ | น. ตรรก, ความตรึก, ความคิดอย่างใช้เหตุผล. |
ถก | โดยปริยายหมายความว่า ยกเอาขึ้นมาพิจารณากันด้วยเหตุผล เช่น ถกปัญหา. |
ทฤษฎี | (ทฺริดสะดี) น. หลักการทางวิชาการที่ได้ข้อสรุปมาจากการค้นคว้าทดลองเป็นต้น เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ เช่น ทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก ทฤษฎีแสง. (ส.; ป. ทิฏฺ ิ). |
ทั่วไป, ทั่ว ๆ ไป | ว. ธรรมดา ๆ เช่น โดยเหตุผลทั่ว ๆ ไป, ไม่จำกัด เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เป็นกฎหมายทั่วไป ใช้กับทุกคน, ส่วนใหญ่, ส่วนมาก, เช่น คนทั่ว ๆ ไป. |
น้ำหนัก | น. ความหนักของสิ่งต่าง ๆ, ความสำคัญ เหตุผล หรือพยานหลักฐาน เป็นต้น ที่ควรแก่การเชื่อถือ หรือที่จูงใจให้เชื่อถือ. |
นิรนัย | (-ระไน) น. วิธีการใช้เหตุผลที่ดำเนินจากส่วนรวมไปหาส่วนย่อย เช่น มนุษย์ทุกคนเกิดมาแล้วต้องตาย นาย ก. เป็นมนุษย์ เพราะฉะนั้นนาย ก. ก็ต้องตาย, ตรงข้ามกับ อุปนัย. |
ปฏิภาณโวหาร | (ปะติพานนะ-, ปะติพาน-) น. การกล่าวเหมาะด้วยเหตุผลในทันที. |
พิสูจน์ | ก. บ่ง, ชี้แจงให้รู้เหตุผล, เช่น เอาพยานหลักฐานไปพิสูจน์ความจริงในศาล, ทดลองให้เห็นจริง, ทดลองหาความจริง, เช่น มีวิธีพิสูจน์ว่าเป็นผงชูรสแท้หรือไม่. |
พุทธิศึกษา | น. การศึกษาที่เน้นในเรื่องการสอนให้เกิดความรู้ความคิดอย่างมีเหตุผล. |
ฟังขึ้น | ว. พอจะยึดถือได้ (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เหตุผลฟังไม่ขึ้น. |
ฟ้าผ่า | โดยปริยายหมายความว่า คำสั่งด่วนที่ออกมาโดยไม่คาดหมายและไม่รู้เหตุผล. |
มนุษย-, มนุษย์ | (มะนุดสะยะ-, มะนุด) น. สัตว์ที่รู้จักใช้เหตุผล, สัตว์ที่มีจิตใจสูง, คน. |
มองการณ์ไกล | ก. คาดคะเนเหตุการณ์ล่วงหน้าได้ถูกต้องหรือใกล้เคียง โดยอาศัยเหตุผลหรือประสบการณ์เป็นต้น, เห็นการณ์ไกล ก็ว่า. |
มุทะลุ | ก. หุนหันพลันแล่น, โกรธแล้วทำลงไปอย่างไม่คำนึงถึงเหตุผลหรือไม่ยับยั้ง. |
ยุติธรรม | น. ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความชอบด้วยเหตุผล, เช่น ศาลย่อมทรงไว้ซึ่งความยุติธรรม |
ยุติธรรม | ว. เที่ยงธรรม, ไม่เอนเอียงเข้าข้างใดข้างหนึ่ง, ชอบด้วยเหตุผล, เช่น ราคายุติธรรม กรรมการตัดสินอย่างยุติธรรม. |
แยบคาย | ว. เข้าที, เหมาะกับเหตุผล, เช่น ความคิดแยบคาย พูดจาแยบคาย. |
ระบบ | น. กลุ่มของสิ่งซึ่งมีลักษณะประสานเข้าเป็นสิ่งเดียวกันตามหลักแห่งความสัมพันธ์ที่สอดคล้องกัน ด้วยระเบียบของธรรมชาติหรือหลักเหตุผลทางวิชาการ เช่น ระบบประสาท ระบบทางเดินอาหาร ระบบจักรวาล ระบบสังคม ระบบการบริหารประเทศ. |
รับฟังได้ | ก. รับว่ามีเหตุผลน่าเชื่อถือ, รับว่ามีเหตุผลพอที่จะเชื่อถือได้, เช่น เหตุผลที่อ้างมานั้นรับฟังได้. |
รู้แจ้ง, รู้แจ้งแทงตลอด | ก. เข้าใจตลอด, รู้ตามเหตุผลอย่างชัดเจน. |
ลอย ๆ | ไม่มีเหตุผลหรือหลักฐาน เช่น เขียนกฎขึ้นมาลอย ๆ พูดลอย ๆ ไม่มีที่อ้างอิง |
ว่าส่ง ๆ, ว่าส่งเดช | ก. พูดพล่อย ๆ ไม่มีเหตุผล. |
วิจารณญาณ | (วิจาระนะยาน) น. ปัญญาที่สามารถรู้หรือให้เหตุผลที่ถูกต้องได้. |
วิทยาศาสตร์ | น. ความรู้ที่ได้โดยการสังเกตและค้นคว้าจากปรากฏการณ์ธรรมชาติแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ, วิชาที่ค้นคว้าได้หลักฐานและเหตุผลแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ. |
เศรษฐกิจพอเพียง | น. ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเป็นแนวทางการดำรงชีวิตและปฏิบัติตนของประชาชนตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง ไม่ประมาท ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตให้รอดพ้นจากวิกฤติ มีความมั่นคงและยั่งยืนท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ. |
สมเหตุสมผล | ว. มีเหตุผลสมควร, มีเหตุผลรับกัน, เช่น คำชี้แจงของเขาสมเหตุสมผล เขาอภิปรายได้สมเหตุสมผล. |
สมมติฐาน, สมมุติฐาน | (สมมดติ-, สมมุดติ-) น. ข้อคิดเห็นหรือถ้อยแถลงที่ใช้เป็นมูลฐานแห่งการหาเหตุผล การทดลอง หรือการวิจัย. |
หลวม | โดยปริยายหมายความว่า ไม่กระชับ, ไม่รัดกุม, เช่น สำนวนหลวมไป เหตุผลยังหลวมอยู่, ไม่รอบคอบ เช่น สัญญาฉบับนี้ทำไว้หลวมเกินไป. |
เหตุ | เหตุผล. |
เห็นการณ์ไกล | น. คาดคะเนเหตุการณ์ล่วงหน้าได้ถูกต้องหรือใกล้เคียง โดยอาศัยเหตุผลหรือประสบการณ์เป็นต้น, มองการณ์ไกล ก็ว่า. |
อนุมาน | ก. คาดคะเนตามหลักเหตุผล. |
อุปนัย | (อุปะ-, อุบปะ-) น. วิธีการใช้เหตุผลที่ดำเนินจากส่วนย่อยไปหาส่วนรวม เช่น นาย ก. เกิดมาแล้วต้องตาย นาย ข. เกิดมาแล้วต้องตาย นาย ค. เกิดมาแล้วต้องตาย เพราะฉะนั้นมนุษย์ทุกคนเกิดมาแล้วต้องตาย, ตรงข้ามกับ นิรนัย. |
เอาข้างเข้าถู | ว. ไม่ใช้เหตุผล, ดื้อดันจะเอาชนะให้ได้, เอาสีข้างเข้าถู ก็ว่า. |
เอาสีข้างเข้าถู | ว. ไม่ใช้เหตุผล, ดื้อดันจะเอาชนะให้ได้, เอาข้างเข้าถู ก็ว่า. |
proof, ontological | การให้เหตุผลทางภววิทยา, ข้อพิสูจน์ทางภววิทยา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pari ratione (L.) | ด้วยเหตุผลเดียวกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
proof beyond reasonable doubt | การพิสูจน์จนสิ้นข้อสงสัยอันมีเหตุผล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rational treatment | การรักษาแบบมีเหตุผล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rationale | เหตุผล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rationalisation; rationalization | การใช้เหตุผลเข้าข้างตน (กลไกทางจิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rationalism | เหตุผลนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rationalism | เหตุผลนิยม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rationalism | เหตุผลนิยม [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rationalization; rationalisation | การใช้เหตุผลเข้าข้างตน (กลไกทางจิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rationalization | การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rational | ถูกเหตุผล, เป็นไปตามเหตุผล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rational actor | ผู้ดำเนินนโยบายตามเหตุผล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
raison d'etat | เหตุผลแห่งรัฐ, เหตุผลของรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ratio (L.) | ๑. อัตราส่วน๒. เหตุผล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ratio decidendi (L.) | เหตุผลในการวินิจฉัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ratio legis (L.) | เหตุผลในการตรากฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ratio legis est anima legis (L.) | เหตุผลในการตรากฎหมาย คือเจตนารมณ์ของกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ratione materiae (L.) | ตามเหตุผลเนื่องจากมูลกรณี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ratione personae (L.) | ตามเหตุผลเนื่องจากตัวบุคคล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reasonable doubt | ความสงสัยที่สมเหตุผล, ข้อสงสัยอันมีเหตุผล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ontological argument; ontological proof | การให้เหตุผลทางภววิทยา, ข้อพิสูจน์ทางภววิทยา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ontological proof; ontological argument | การให้เหตุผลทางภววิทยา, ข้อพิสูจน์ทางภววิทยา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
opinion, concurring | ความเห็นพ้อง (ที่มีเหตุผลแตกต่างกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
analogy, argument by | การให้เหตุผลโดยอาศัยแนวเทียบ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
actor, rational | ผู้ดำเนินนโยบายตามเหตุผล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
argument | การให้เหตุผล, การถกเถียง, ข้อโต้แย้ง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
argument | ๑. การอ้างเหตุผล๒. อาร์กิวเมนต์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
argument by analogy | การให้เหตุผลโดยอาศัยแนวเทียบ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
argument, ontological | การให้เหตุผลทางภววิทยา, ข้อพิสูจน์ทางภววิทยา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Age of reason | ยุคเหตุผล [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
argumentation | วิธีการให้เหตุผล [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
à tort (Fr.) | โดยมิชอบ, โดยไม่มีเหตุผล (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
justification | การให้เหตุผลว่าชอบด้วยกฎหมาย, การกล่าวอ้างที่มีเหตุผล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
justification | การให้เหตุผล [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
justification | การให้เหตุผลว่าชอบด้วยกฎหมาย, การกล่าวอ้างที่มีเหตุผลสมควร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
besetting | การเฝ้าติดตามบุคคลโดยไม่มีเหตุผลตามกฎหมาย(เพื่อบีบบังคับให้กระทำหรืองดเว้นกระทำการบางอย่าง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
memorandum, explanatory | บันทึกหลักการและเหตุผล (ประกอบร่างกฎหมาย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
memorandum, explanatory | บันทึกหลักการและเหตุผล (ประกอบร่างกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
concurring opinion | ความเห็นพ้อง (ที่มีเหตุผลแตกต่างกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
doubt, reasonable | ความสงสัยที่สมเหตุผล, ข้อสงสัยอันมีเหตุผล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
groundless | ไร้เหตุผล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fallacy | เหตุผลวิบัติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
explanatory memorandum | บันทึกหลักการและเหตุผล (ประกอบร่างกฎหมาย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
explanatory memorandum | บันทึกหลักการและเหตุผล (ประกอบร่างกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
irrationallism | คติปฏิเสธเหตุผลนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
valid argument | การอ้างเหตุผลอย่างสมเหตุสมผล [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
transcendentalism | คตินิยมเหนือเหตุผล [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
treatment, rational | การรักษาแบบมีเหตุผล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unreasonable | ไม่มีเหตุผล, ไม่มีเหตุผลอันสมควร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Flaring | การเผาก๊าซทิ้ง, การเผาก๊าซทิ้งซึ่งเป็นก๊าซส่วนเกินที่ไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์หรือไม่ได้นำมาซื้อขาย หรือเนื่องมาจากเหตุผลทางเทคนิค [ปิโตรเลี่ยม] |
Rationalization | การจัดให้เข้าหลักเหตุผล [เศรษฐศาสตร์] |
Humanitarian intervention | การแทรกแซงด้วยเหตุผลทางมนุษยธรรม [TU Subject Heading] |
Psychotherapy, Rational-Emotive | จิตบำบัดตามแนวพิจารณาเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรม [TU Subject Heading] |
Rational choice theory | ทฤษฎีการเลือกอย่างมีเหตุผล [TU Subject Heading] |
Reason | เหตุผล [TU Subject Heading] |
Reasoning | การใช้เหตุผล [TU Subject Heading] |
Reasoning in children | การใช้เหตุผลในเด็ก [TU Subject Heading] |
Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Certificate of Identity (C.I.) | หนังสือสำคัญประจำตัว จะออกให้แก่คนไทยในต่างประเทศที่มีความจำเป็นต้องเดินทางกลับประเทศไทยโดย รีบด่วน หากแต่ไม่มีหนังสือเดินทาง เพราะสูญหายหรือปล่อยให้ขาดอายุนาน แต่ยังไม่มีเหตุผลสมควรที่จะต่ออายุหรือออกหนังสือเดินทางให้ใหม่ [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] |
Declaration | คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต] |
diplomatic clearance number | หมายเลขการอนุญาตให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งของประเทศหนึ่ง ๆ ผ่านเข้าไปในอาณาเขตของอีกประเทศหนึ่งได้โดยเหตุผลทางการทูต อาทิ อากาศยานเฉพาะกิจ เรือที่ใช้ในการสงคราม ฯลฯ [การทูต] |
Diplomatic Privileges and Immunities | เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตที่ได้ให้แก่เจ้า หน้าที่ทางการทูต โดยถือว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้แทนส่วนตัวของประมุขของรัฐ เหตุผลที่ให้มีการคุ้มกันทางการทูต ก็เพราะถือว่ารัฐบาลหนึ่งใดก็ตามจะถูกกีดกันขัดขวางด้วยการจับกุม หรือกีดกันมิให้ผู้แทนของรัฐบาลนั้นปฏิบัติหน้าที่ในความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศนั้นมิได้ ถ้าหากเห็นว่าผู้แทนนั้นมีพฤติกรรมหรือพฤติการณ์ที่ก้าวร้าวซึ่งรัฐผู้รับ ไม่อาจรับได้ก็ชอบที่รัฐผู้รับจะขอร้องให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวผู้แทนของตนกลับ ประเทศได้ อนึ่ง การที่สถานเอกอัครราชทูตได้รับความคุ้มกันจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ เพราะต้องการให้บรรดาผู้แทนทางการทูตเหล่านั้น รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาได้มีโอกาสมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของประเทศของเขาอนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตมีบทบัญญัตินิยามคำว่า เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตในเรื่องต่างๆ ไว้มากพอสมควร เช่น เรื่องสถานที่ของคณะผู้แทนทางการทูต รวมทั้งบรรณสารและเอกสาร เรื่องการอำนวยความสะดวกให้แก่การปฏิบัติงานของคณะผู้แทน และเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายรวมทั้งการคมนาคมติดต่อ เป็นต้น [การทูต] |
Extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง [การทูต] |
Exercise of Consular Functions in a Third State | การปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในรัฐที่สาม (A Third State) ในเรื่องนี้ข้อ 7 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้ระบุว่า?เมื่อได้บอกกล่าวให้รัฐที่เกี่ยวข้องทราบ แล้ว รัฐูผู้ส่งอาจมอบหมายให้สถานีที่ทำการทางกงสุลที่ได้ตั้งอยู่ในรัฐหนึ่งโดย เฉพาะปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในอีกรัฐหนึ่งได้ นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดเจนโดยรัฐหนึ่งในบรรดารัฐที่เกี่ยวข้อง?นอกจาก นี้ สถานที่ทำการทางกงสุลยังอาจปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลแทนรัฐที่สามได้ เรื่องนี้ข้อ 8 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้กำหนดว่า เมื่อบอกกล่าวอย่างเหมาะสมแก่รัฐผู้รับแล้ว สถานที่ทำการทางกงสุลของรัฐผู้ส่งอาจปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในรัฐผู้รับ แทนรัฐที่สามได้ นอกจากรัฐผู้รับนั้นจะคัดค้าน และพนักงานฝ่ายกงสุลอาจปฏิบัติการหน้าที่ของตนนอกเขตกงสุลได้ในพฤติการณ์ พิเศษ และด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ ทั้งนี้เป็นไปตามข้อ 6 แห่งอนุสัญญากรุงเวียนนา อย่างไรก็ดี ยังไม่มีความเห็นเป็นเอกฉันท์ที่จะให้พนักงานฝ่ายกงสุลปฏิบัติการหน้าที่ทาง กงสุลนอกเขตกงสุล ฝ่ายที่เห็นด้วยว่าควรปฏิบัติการนอกเขตกงสุลได้ อ้างว่า การใช้เอกสิทธิ์เช่นนั้นเป็นการชอบแล้ว ด้วยเหตุผลที่ว่า อาจจะมีภาวะฉุกเฉินเกิดขึ้นในสถานที่นอกเขตกงสุล ซึ่งเป็นความจำเป็นที่พนักงานฝ่ายกงสุลจะได้ให้บริการในทันที่ที่มีการแจ้ง โดยกะทันหัน [การทูต] |
Exequatur | คำนี้แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า ?let him perform? เป็นหนังสือหรืออนุมัติบัตรแสดงการรับรองผู้ที่ดำรงตำแหน่งกงสุลโดยประมุข หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐซึ่งกงสุลผู้นั้นได้ถูกส่งไป ประจำ Exequatur เป็นอนุมัติบัตรที่มอบให้กงสุล แสดงว่ามีอำนาจที่จะปฏิบัติตามหน้าที่ของกงสุลทั้งหมด สามารถเป็นหลักฐานที่ใช้แสดงต่อเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นภายในเขตอาณัติของกงสุล ด้วย รัฐที่ปฏิเสธไม่ออก Exequatur ให้นั้น ไม่จำเป็นต้องบอกเหตุผลแก่รัฐผู้ส่งว่าเพราะเหตุผลใดจึงปฏิเสธ ในเรื่องนี้ข้อ 12 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ว่า?1. หัวหน้า สถานที่ทำการทางกงสุล จะเข้าปฏิบัติการหน้าที่ของตนได้ โดยอนุมัติจากรัฐผู้รับเรียกว่า อนุมัติบัตรไม่ว่าการให้อนุมัติจะเป็นไปในรูปใดก็ตาม 2. รัฐซึ่งปฏิเสธไม่ให้อนุมัติบัตรไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการปฏิเสธ เช่นว่านั้นแก่รัฐผู้ส่ง 3. ภายในข้อบังคับแห่งบทของข้อ 13 และ 15 หัวหน้าสถานที่ทำการทางกงสุลจะไม่เข้ารับหน้าที่ของตนจนกว่าจะได้รับอนุมัติ บัตรแล้ว? [การทูต] |
Freedom of Movement of Diplomatic Agents | เสรีภาพในการเคลื่อนย้ายและการเดินทางของผู้แทน ทางการทูต โดยปกติ รัฐผู้รับย่อมอนุญาตโดยเสรีแก่ผู้แทนทางการทูต ที่จะเคลื่อนย้ายและเดินทางไปไหนมาไหนได้ทั่วประเทศ แต่ระหว่างสงครามเย็นที่ผ่านมา ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการทูตของกลุ่ม ประเทศคอมมิวนิสต์บางแห่ง ได้แก่ สหภาพโซเวียต บัลแกเรีย เชคโกสโลวาเกีย ฮังการี รูเมเนีย และโปแลนด์ นัยว่าสหรัฐฯ ได้กำหนดเขตแขวงในดินแดนของตน 355 แห่ง หรือประมาณร้อยละ 11 ของพื้นที่ทั้งหมด เป็นเขตห้ามเข้าสำหรับผู้แทนทางการทูตของประเทศเหล่านั้นในทำนองเดียวกัน กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ดังกล่าวก็ได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการ ทูตของสหรัฐฯ เช่นกัน สำหรับเสรีภาพการเคลื่อนย้ายนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในข้อ 26 ว่า?ภายในบังคับของกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตหวงห้ามหรือวางระเบียบไว้ โดยเหตุผลของความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันแก่สมาชิกทั้งมวลของคณะเกี่ยวกับเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน? [การทูต] |
Freedom of Movement of Member of Consular Post | เสรีภาพในการเคลื่อนไหวของบุคคลในสถานที่ทำการทาง กงสุล เรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้บัญญัติไว้ในข้อ 34 ว่า?ภายในบังคับแห่งกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตซึ่งเป็นที่หวงห้าม หรือที่ได้กำหนดระเบียบไว้ เพราะเหตุผลในทางความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน แก่บุคคลทั้งปวงในสถานที่ทำการทางกงสุล? [การทูต] |
Passport | หนังสือเดินทาง คือเอกสารทางราชการที่ใช้แสดงตัวและสัญชาติ ซึ่งทางราชการออกให้แก่บุคคลที่จะเดินทางไป หรือพำนักอยู่ชั่วคราวในต่างประเทศเมื่อสมัยก่อนสงครามโลกทั้งสองครั้ง ประเทศต่าง ๆ มิได้ขอให้คนต่างด้าวที่จะเข้าไปในประเทศของตนต้องมีหนังสือเดินทาง มีการเริ่มใช้หนังสือเดินทางอย่างแพร่หลายก็ในระยะหลังสงครามดังกล่าว ทุกวันนี้ ประเทศส่วนมากในโลกต่างต้องการให้คนต่างด้าวที่จะเดินทางเข้าไปในดินแดนของ ตนมีหนังสือเดินทางซึ่งได้รับการตรวจลงตรา (Visa) โดยถูกต้องจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนเสียก่อน อย่างไรก็ดี ทุกวันนี้ประเทศส่วนมากได้มอบอำนาจให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนในต่าง ประเทศเป็นผู้ออกหนังสือเดินทางได้ด้วยหนังสือเดินทางที่ใช้กันในปัจจุบันมี อยู่หลายประเภทอันได้แก่1. หนังสือเดินทางทูต (Diplomatic passports ) ออกให้แก่ผู้ที่มีตำแหน่งเอกอัครราชทูต อัครราชทูต เจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งทางการทูต รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น2. หนังสือเดินทางพิเศษ (Special passports) ออกให้ แก่ข้าราชการที่ไม่มีสถานะทางการทูต และบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น3. หนังสือเดินทางธรรมดา ( Regular passports ) ออกให้แก่บุคคลธรรมดา (Private persons) ซึ่งมีสิทธิจะขอหนังสือเดินทางดังกล่าวได้ตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของ ประเทศของตนมีบางประเทศได้ออกหนังสือเดินทางประเภทอื่น นอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาข้างต้นด้วยเหตุผลเฉพาะ เช่น ภายใต้ระบบของสหรัฐอเมริกา มีการออกหนังสือเดินทางที่เรียกว่า1. หนังสือเดินทางบริการ (Service passports) ออกให้แก่คนอเมริกัน หรือชนชาติที่สวามิภักดิ์ต่อสหรัฐอเมริกาที่อยู่ในต่างประเทศ2. หนังสือเดินทางบุคคลในครอบครัว (Dependent passports) ออกให้แก่บุคคลที่ถือหนังสือเดินทางนี้ในกรณีที่เดินทางไปชั่วคราว หรือพำนักอยู่นาน ๆ ในต่างประเทศในฐานะที่เป็นบุคคลในครอบครัวของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ หรือพลเรือนอเมริกันที่ยังรับราชการอยู่นอกเขตประเทศสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
persona non grata | บุคคลทางการทูตที่รัฐผู้รับไม่ยอมรับ เช่น กรณีนักการทูตทำผิดกฎหมายหรือข้อบังคับทางศาสนาในประเทศที่พำนักอยู่ จนทางรัฐบาลของประเทศนั้นไม่อาจยอมรับได้และต้องให้เดินทางกลับออกนอกประเทศ นั้น อย่างไรก็ตาม นักการทูตอาจถูกรัฐบาลของรัฐผู้รับให้ออกนอกประเทศเป็น persona non grata ด้วยเหตุผลของการดำเนินการโต้ตอบทางการเมืองระหว่างรัฐผู้รับและรัฐผู้ส่งก็ เป็นได้ โดยที่นักการทูตผู้นั้นมิได้กระทำผิดกฎหมายของรัฐผู้รับหรือกระทำผิดทาง ศาสนาของรัฐผู้รับแต่อย่างใด [การทูต] |
Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities | บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] |
Political Appointee | หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต] |
Political Offenses | ความผิดทางการเมือง หลักการข้อหนึ่งของการส่งตัวผู้กระทำความผิดไปให้อีก ประเทศหนึ่ง หรือที่เรียกว่าการส่งผู้ร้ายข้ามแดน คือ ผู้ที่กระทำผิดทางการเมืองจะถูกส่งข้ามแดนไปให้อีกประเทศหนึ่งไม่ได้เป็นอัน ขาด แต่อย่างไรก็ดี มีปัญหาในปฏิบัติคือว่า จะแยกความแตกต่างกันอย่างไรระหว่างความผิดทางการเมือง กับที่มิใช่ด้วยเหตุผลทางการเมือง นักวิชาการบางท่านนิยามความหมายของคำว่าความผิดทางการเมืองไว้ว่า คือ ความผิดฐานกบฏ (Treason) ซึ่งในกฎหมายของหลายประเทศหมายถึงการประทุษร้าย หรือพยายามประทุษร้ายต่อประมุขของประเทศ หรือช่วยฝ่ายศัตรูทำสงครามกับประเทศของตน ความผิดฐานปลุกปั่นให้เกิดความไม่สงบภายในประเทศ (Sedition) หรือการประกอบจารกรรม (Espionage) อันเป็นการคุกคามต่อความั่นคงหรือต่อระบบการปกครองของประเทศผู้ร้องขอ (หมายถึงประเทศที่ร้องขอให้ส่งตัวผู้กระทำผิดไปให้ในลักษณะผู้ร้ายข้ามแดน) ไม่ว่าจะกระทำโดยคนเดียวหรือหลายคนก็ตาม [การทูต] |
Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] |
Termination of Mission of Diplomatic Agent | ภารกิจของผู้แทนทางการทูตหรือหัวหน้าคณะทูตจะสิ้น สุดลง 1. ระยะเวลาที่ผู้แทนทางการทูตได้รับแต่งตั้งให้ประจำอยู่ในประเทศผู้รับได้ครบ กำหนดตามวาระ2. เมื่อวัตถุประสงค์ของภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติได้สัมฤทธิผลเรียบ ร้อยแล้ว3. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากต้องโยกย้ายไปที่อื่น หรือลาออก หรือเนื่องจากครบเกษียณอายุ4. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากไม่เป็นที่พอใจของรัฐบาลของตน หรือกระทำตามคำขอร้องของรัฐบาลของประเทศผู้รับ ซึ่งเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่5. เนื่องจากการเสด็จสวรรคตของพระมหากษัตริย์ของประเทศตน หรือประเทศที่ตนได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงาน6. หากตัวเขาเองได้กระทำการอันเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศบางอย่าง หรือเนื่องจากเกิดเหตุการณ์บางอย่างที่คาดไม่ถึง และมีลักษณะร้ายแรงจริง ๆ ตัวเขาเองจะต้องรับผิดชอบในการตัดความสัมพันธ์7. เมื่อรัฐบาลผู้รับ ซึ่งตัวเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่นั้น แล้วจะด้วยเหตุผลอย่างใดก็ตาม ได้แจ้งให้เขาเดินทางออกไปจากประเทศในทันที โดยไม่ต้องระให้รัฐบาลของตนเรียกตัวกลับ8. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในตำแหน่งของผู้แทนทางการทูต ดังเช่น ได้รับเลื่อนตำแหน่งจากอัครราชทูตขึ้นเป็นเอกอัครราชทูต9. เนื่องจากเกิดสงครามขึ้นระหว่างรัฐทั้งสอง10. เนื่องจากถูกถอดจากตำแหน่ง หรือสละราชบัลลังก์ของประมุขของประเทศใดประเทศหนึ่ง 11. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในประเทศใดประเทศหนึ่ง จากระบบพระมหากษัตริย์เป็นระบบสาธารณรัฐ หรือเป็นระบบสาธารณรัฐอันมีประมหากษัตริย์ทรงอยู่ใต้กฎหมาย12. เนื่องจากรัฐใดรัฐหนึ่งของทั้งสองรัฐต้องสูญสภาวะในการเป็นรัฐเหตุผลข้างต้น ทั้งหมดนี้ เป็นทรรศนะของเซอร์เออร์เนสท์ ซาทาว ซึ่งได้ให้ไว้ในหนังสือของท่าน ชื่อว่า ?A Guide to Diplomatic Practice? ฉบับเรียบเรียงใหม่ครั้งที่ 4 โดยเซอร์เนวิลล์ แบลนด์ [การทูต] |
Waiver of Immunity | การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก? [การทูต] |
Abortion, Elective | การทำแท้งที่ถูกกฏหมายแต่ไม่มีเหตุผลทางการแพทย์ [การแพทย์] |
Abstract Reasoning | การหาเหตุผลทางนามธรรม [การแพทย์] |
Constipation, Psychogenic | ท้องผูกเนื่องจากเหตุผลทางด้านจิตใจ [การแพทย์] |
Fear, Irrational, Persistent | ความกลัวที่เกิดอยู่นานและไร้เหตุผล [การแพทย์] |
Framework, Logical | กรอบเหตุผล [การแพทย์] |
scientific attitude | เจตคติทางวิทยาศาสตร์, ลักษณะของการคิดและปฏิบัติแบบนักวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความสนใจที่จะคิดและค้นคว้าทำความเข้าใจในปัญหาต่าง ๆ อยู่เสมอ ความละเอียดถี่ถ้วน มานะบากบั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์ในการคิดและปฏิบัติ ไม่เชื่อสิ่งใดอย่างง่าย ๆ โดยไม่มีเหตุผล ใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
inductive reasoning | การให้เหตุผลแบบอุปนัย, วิธีการสรุปผลในการค้นหาความจริงจากการสังเกต หรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อย ๆ แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
deductive reasoning | การให้เหตุผลแบบนิรนัย, การให้เหตุผลโดยการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อนและยอมรับว่าเป็นจริงมาประกอบเพื่อนำไปสู่ข้อสรุป [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
technology evolution | วิวัฒนาการของเทคโนโลยี, พัฒนาการของสิ่งของเครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ หรือวิธีการ ซึ่งมีเหตุผลและปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงเพื่อแก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการทำงานของมนุษย์ โดยมีการปรับปรุงกระบวนการผลิต ลักษณะทางกายภาพ วัสดุ หน้าที่ใช้สอย การใช้งาน รวมถึงประสิทธิภาพอย่า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Illogical | พูดไม่มีเหตุผล [การแพทย์] |
Images | มโนภาพ, ภาพพจน์, ภาพ, จินตนภาพ, จินตนาการความคิดและเหตุผล [การแพทย์] |
Irritability | หงุดหงิดฉุนเฉียว, ตื่นตัว, การตอบสนองต่อสิ่งเร้า, อารมณ์หงุดหงิดฉุนเฉียวง่ายโดยไม่มีเหตุผล, โมโหง่าย, ความหงุดหงิด, หงุดหงิดโกรธง่าย, อีริตาบิลิตี, ถูกกระตุ้น, หงุดหงิด [การแพทย์] |
Medical Reasons | เหตุผลทางการแพทย์ [การแพทย์] |
Mutism | การไม่ยอมพูด, ใบ้, ความเป็นใบ้, การไม่พูดเพราะเหตุผลในจิตสำนึกและจิตไร้สำนึก, พูดไม่ได้ [การแพทย์] |
ชอบด้วยเหตุผล | [chøp dūay hētphon] (adj) EN: justifiable |
โดยไม่มีเหตุผล | [dōi mai mī hētphon] (adv) EN: without reason ; for no reason FR: sans raison |
โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร | [dōi mai mī hētphon an somkhūan] (x) EN: without sufficient reason |
หาเหตุผล | [hā hētphon] (v, exp) FR: raisonner |
เหตุผล | [hētphon] (n) EN: reason ; reasoning ; cause ; grounds FR: raison [ f ] ; motif [ m ] ; cause [ f ] |
เหตุผลทางการแพทย์ | [hētphon thāng kān phaēt] (n, exp) EN: medical reason FR: raison médicale [ f ] |
จำนนต่อเหตุผล | [jamnon tø hētphon] (v, exp) EN: yield to superior logic ; surrender ; yield ; submit ; listen to reason |
การอธิบายด้วยหลักเหตุผล | [kān athibāi dūay lak hētphon] (n, exp) EN: rationalization |
การคิดอย่างมีเหตุผล | [kān khit yāng mī hētphon] (n, exp) EN: logical thinking FR: pensée logique [ f ] |
การแสดงเหตุผล | [kān sadaēng hētphon] (n, exp) EN: justification [ f ] |
การโต้แย้งด้วยเหตุผล | [kān tōyaēng dūay hētphon] (n, exp) EN: dialectic FR: dialectique [ f ] |
การวิเคราะห์เชิงเหตุผล | [kān wikhrǿ choēng hētphon] (n, exp) EN: causal analysis |
ข้อเรียกร้องที่ไม่มีเหตุผล | [khørīekrøng thī mai mī hētphon] (n, exp) EN: unfounded claim |
ข้อสงสัยอันมีเหตุผล | [khøsongsai an mī hētphon] (n, exp) EN: reasonable doubt |
ความชอบด้วยเหตุผล | [khwām chøp dūay hētphon] (n, exp) EN: justice ; fairness |
ความดึงดูดใจด้านเหตุผล | [khwām deungdūtjai dān hētphon] (n, exp) EN: rational appeal |
หลักเหตุผล | [lak hētphon] (n, exp) EN: principle of rationality ; logic |
ไม่ชอบด้วยเหตุผล | [mai chøp dūay hētphon] (adj) EN: illogical ; absurd |
ไม่มีเหตุผล | [mai mī hētphon] (v, exp) EN: have no reason; be unreasonable FR: il n'y a pas de raison |
ไม่มีเหตุผล | [mai mī hētphon] (adj) EN: unfounded FR: infondé |
ไม่มีเหตุผล | [mai mī hētphon] (adv) EN: without reason ; unreasonably FR: sans raison |
มีเหตุผล | [mī hētphon] (adj) EN: reasonable ; rational ; logical ; practical ; plausible FR: raisonnable ; rationnel ; pratique ; logique |
มีเหตุผลดี | [mī hētphon dī] (adj) FR: sensé |
ปฏิเสธข้อเรียกร้องที่ไม่มีเหตุผล | [patisēt khørīekrøng thī mai mī hētphon] (v, exp) EN: repudiate an unfounded claim |
ปราศจากเหตุผล | [prātsajāk hētphon] (x) EN: without reason ; unjustified FR: sans raison ; injustifié |
ไร้เหตุผล | [rai hētphon] (adj) EN: groundless ; illogical FR: sans fondement ; illogique |
แสดงเหตุผล | [sadaēng hētphon] (v, exp) EN: justify |
ตามหลักเหตุผล | [tām lak hētphon] (adv) EN: theoretically FR: rationnellement |
ทฤษฎีการเรียนรู้จากการคิดอย่างมีเหตุผล | [thritsadī kān rīenrū jāk kān khit yāng mī hētphon] (n, exp) EN: cognitive learning theory |
ถูกต้องตามเหตุผล | [thuktǿng tām hētphon] (adj) EN: logical ; legitimate |
อย่างมีเหตุผล | [yāng mī hētphon] (adj) EN: rational FR: rationnel |
อย่างมีเหตุผล | [yāng mī hētphon] (adv) EN: rationally |
Age of Reason | (n) ยุคที่มนุษย์มีเหตุผล |
allege | (vt) ให้เหตุผล |
allege | (vi) ให้เหตุผล |
analogize | (vi) ให้เหตุผลโดยเปรียบเทียบความคล้ายคลึงกัน |
analogize | (vt) ให้เหตุผลโดยเปรียบเทียบความคล้ายคลึงกัน, Syn. compare, liken, make a comparison |
argue | (vi) ให้เหตุผล, See also: อ้างเหตุผล, Syn. claim, explain |
argue | (vt) ให้เหตุผล, See also: อ้างเหตุผล, อภิปราย |
argument | (n) เหตุผล |
ascribe | (vt) ให้เหตุผล |
attribute | (vt) ถือว่าเป็นของ, See also: ถือว่า, ให้เหตุผลว่าเป็น, Syn. credit, accredit |
account for | (phrv) อธิบาย, See also: ให้เหตุผลสำหรับ, เป็นเหตุผลของ |
argue into | (phrv) ชักชวนโดยให้เหตุผล, Syn. coax into, persuade into, reason into |
argue out of | (phrv) ชักชวนโดยให้เหตุผลเพื่อ, Syn. coax out of, dissuade from, persuade out of, reason out of, talk out of |
baseless | (adj) ไม่มีมูลความจริง, See also: ไม่มีเหตุผล, Syn. unfounded, groundless |
bigotry | (n) การแสดงความรู้สึกหรือความเชื่อที่ไม่มีเหตุผล |
blind | (adj) (ความเชื่อ, การกระทำ) ที่ขาดเหตุผล, Syn. unreasoning, irrational |
be behind | (phrv) ให้เหตุผลสำหรับ (บางสิ่ง), See also: ให้เหตุผลที่อยู่เบื้องหลัง, Syn. lie behind |
be in one's right mind | (idm) สามารถใช้เหตุผลตัดสินได้, See also: มีสติรู้รับผิดชอบชั่วดี, Syn. be out of, go out of |
black out | (phrv) ปิดข่าว (เพราะเหตุผลทางการเมือง), Syn. blacken out |
blacken out | (phrv) ปิดข่าว (เพราะเหตุผลทางการเมือง), Syn. black out |
bring someone to his senses | (idm) ทำให้กลับมามีเหตุผลหรือใช้เหตุผลใคร่ครวญ, See also: ทำให้รู้สึกตัว, Syn. come to |
case | (n) เหตุผลสนับสนุน, See also: ข้อสนับสนุน |
casuist | (n) คนที่อ้างเหตุผลเพื่อทำให้เชื่ออย่างผิดๆ |
casuistry | (n) การใช้เหตุผลเพื่อทำให้เชื่ออย่างผิดๆ (คำไม่เป็นทางการ) |
causable | (adj) ที่สามารถเป็นเหตุผลได้ |
cause | (n) เหตุผลที่ดี, See also: เหตุผลที่เหมาะ, Syn. good reason |
causeless | (adj) ที่ปราศจากเหตุผล, Syn. groundless |
circumstantiate | (vt) ให้รายละเอียด, See also: ให้เหตุผลสนับสนุน |
coherent | (adj) ซึ่งสอดคล้อง, See also: ซึ่งเห็นพ้องตรงกัน, ไม่ขัดแย้งในตัวเอง, ซึ่งมีเหตุผล, Syn. consistent, harmonious |
consecution | (n) ลำดับของเหตุผล, Syn. logical sequence, chain of reasoning |
crackbrained | (adj) ที่ไม่มีเหตุผล, See also: ที่ไม่สมเหตุสมผล, Syn. irrational, crazy |
crazed | (adj) บ้าแบบไร้เหตุผล, Syn. crazy, cracked, insane |
carp at | (phrv) จับผิด, See also: บ่นอย่างไร้เหตุผลเกี่ยวกับ, หาเรื่อง, Syn. cavil at |
do with | (phrv) มีเหตุผลอะไรที่มีบางสิ่งไว้หรือหาบางสิ่งมา |
for the hell of it | (idm) เพื่อสนุก, See also: อย่างไม่มีเหตุผล |
deduct | (vi) ลงความเห็น (ตามหลักเหตุผล), See also: อนุมาน, สรุป, Syn. deduce, derive, infer |
defense | (n) คำให้การ, See also: คำแก้ตัว, คำอ้างเหตุผล, คำแก้ต่าง, การแสดงหลักฐาน, หลักฐาน, การเป็นพยาน, Syn. argument, excuse, justification |
demagogic | (adj) ซึ่งปลุกปั่น / ชักชวนด้วยอารมณ์ความรู้สึกมากกว่าเหตุผล |
demagogue | (n) นักการเมืองที่ใช้คำพูดที่เต็มไปด้วยความรู้สึกมากกว่าเหตุผลในการหาเสียง, Syn. agitator, fanatic |
demonstrate | (vt) อธิบาย, See also: ให้เหตุผล, Syn. explain, describe, express |
demonstration | (n) การอธิบาย, See also: การให้เหตุผล |
dialectic | (adj) เกี่ยวกับการโต้แย้งด้วยเหตุผล, See also: ตรรกวิทยา |
dictatorial | (adj) เกี่ยวกับเผด็จการ, See also: ซึ่งใช้อำนาจสั่งให้คนอื่นทำตามใจตัวเองโดยไม่มีเหตุผล, เกี่ยวกับการกดขี่ข่มเหง, Syn. tyrannical, autocratic, Ant. democratic |
excuse | (vt) อ้างเหตุผล, See also: แก้ตัว, Syn. justify |
give for | (phrv) ให้เหตุผลกับ, See also: เพื่อ |
go far | (phrv) พูดไม่รู้เรื่อง, See also: ไม่มีเหตุผล, ทำตัวเหลวไหล |
go off | (phrv) พูดโกรธๆ (โดยไม่มีเหตุผล), Syn. dive off, jump off |
grow out of | (phrv) มีเหตุผลหรือเเก่เกินกว่าจะชอบ (บางสิ่ง) |
grumble about | (phrv) บ่นในเรื่อง (มักไม่มีเหตุผล), See also: บ่นไม่พอใจเรื่อง, Syn. grumble over |
grumble at | (phrv) บ่นในเรื่อง (มักไม่มีเหตุผล), See also: บ่นไม่พอใจเรื่อง, Syn. complain about |
a fortiori | (เอฟฟอร์ชิออร์' ไร) Latin ด้วยเหตุผลที่ดีกว่า, ยิ่งไม่ต้องสงสัย, ยิ่งขึ้น (all the more) |
age of reason | ยุคที่มนุษย์มีเหตุผล |
ai | (เอไอ) abbr. 1. ย่อมาจากคำว่า aortic insufficiency 2. ย่อมาจากคำว่า artificial intelligence แปลว่า ปัญญาประดิษฐ์ หมายถึงแขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ |
arbitrary | (อาร์'บิทระรี) adj. ตามอำเภอใจ, ไร้เหตุผล, เอาแต่อารมณ์, โดยพลการ, ตัดสินโดยผู้ตัดสิน (แทนที่จะโดยกฎหมายของรัฐ) . -arbitrariness n., Syn. capricious, frivolous |
argue | (อาร์'กิว) vt., vi. ถกเถียง, เถียง, โต้คารม, อ้างเหตุผล, อภิปราย, พูดให้ยอม, โต้แย้งพิสูจน์ว่า, แสดงให้เห็นว่า-arguer n., Syn. debate |
argument | (อาร์'กิวเมินทฺ) n. การโต้เถียง, การโต้คารม, การอ้างเหตุผล, ขบวนการให้เหตุผล, ข้อโต้เถียง, เรื่อง, ข้อสรุป, หลักฐาน, ข้อพิสูจน์ |
argumentation | (อาร์กิวเมนเท'เชิน) n. ขบวนการโต้เถียงการให้เหตุผล, การอภิปราย, การถกเถียง, บทความเชิงอภิปราย, ข้อพิสูจน์, ข้อสรุป, ข้ออนุมาน, Syn. discussion |
artificial intelligence | ปัญญาประดิษฐ์ใช้ตัวย่อว่า AI หมายถึง แขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ |
ascribe | (อะสไครบ') vt. ให้เหตุผล, ลงความเห็นว่าเป็นของสันนิษฐาน, Syn. credit, attribute |
ascription | (อัสคริพ'เชิน) n. การให้เหตุผล, การลงความเห็นว่าเป็นของ, Syn. description |
attribute | (อะทริบ'บิวทฺ) vt. ให้เหตุผลว่า, ถือเอา, อ้างเหตุผล. -n. คุณลักษณะ. -attributer, attributor n. -attribution n., Syn. assign, consider, quality ลักษณะประจำหมายถึง คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ มีการเน้นความแตกต่างจากของอื่นในประเภทเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลในระบบดอส จะมีลักษณะประจำต่างกันเป็น 4 อย่าง คือ แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ archive แฟ้มที่อ่านได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ read only แฟ้มที่ไม่แสดงตัว hidden และแฟ้มระบบ system หรือถ้าต้องการหาคำใดคำหนึ่ง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำ นอกจากจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าสะกดอย่างไรแล้ว อาจบอกเพิ่มเติมว่า ...เป็นคำที่ใช้แบบอักษร Times New Roman ขนาด 14 จุด ข้อความที่บ่งบอกคุณสมบัติเพิ่มเติมไปนี้ก็เรียกว่า " attribute " ทั้งสิ้น |
baseless | adj. ไร้ฐาน, ไร้เหตุผล, Syn. unfounded |
bestial | (เบส'เชิล) adj. เกี่ยวกับสัตว์ป่า, เหมือนสัตว์ป่า, โหดร้าย, ทารุณ, ซึ่งไร้เหตุผล, ไร้ปัญญา, Syn. animalistic, Ant. human, humane |
blind | (ไบลนดฺ) adj., adv., vi., vt., n. (ทำให้, สิ่งที่ทำให้) ตาบอด, ไม่สามารถเข้าใจ, ไร้เหตุผล, ไร้สติ, เมาเหล้า, มืด, ไม่บังเกิดผล, ซ่อนเร้น, ลึกลับ, ดูไม่ออก, เข้าใจยาก, อุดตัน, ไม่มีทางออก, ตัวล่อ, นกต่อ, See also: blindness n. ดูblind, Syn. s |
brutal | (บรู'เทิล) adj. โหดร้าย, คล้ายสัตว์, โหดเหี้ยม, ทารุณ, หยาบคาย, หยาบ, ไร้เหตุผล, Syn. cruel |
brute | (บรุท) { bruted, bruting, brutes } n. สัตว์เดรัจฉาน, สัตว์ป่า, คนที่มีใจโหดเหี้ยมอย่างสัตว์, ลักษณะของสัตว์. adj. ไม่ใช่คน, เป็นสัตว์, ไร้เหตุผล, เป็นลักษณะของสัตว์, โหดเหี้ยม, ทารุณ vt. (เพชร) ตัดเพชร, See also: bruteness n. ดูbrute brutify vt., vi. กระทำกา |
brutish | (บรู'ทิช) adj. โหดร้าย, ทารุณ, คล้ายสัตว์, ไร้เหตุผล., See also: brutishness n. ดูbrutish, Syn. savage |
carp | (คาร์พ) { carped, carping, carps } vi. จับผิด, หาเรื่อง, บ่นอย่างไร้เหตุผล -n. ปลาคาร์พ, ปลาลี้ฮื้อ, Syn. find fault |
causation | (คอเซ'เชิน) n. การทำให้เกิดขึ้น, ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุผล, สิ่งทำให้เกิดผล, สิ่งทำให้เกิดผล, สาเหตุ |
choplogic | n. การโต้เถียงที่อ้างเหตุผลผิด ๆ |
coherent | (โคเฮีย'เรินทฺ) adj. เชื่อมโยงกัน, เกาะติดกัน, เกี่ยวข้องกัน, สอดคล้องกัน, มีเหตุผล |
conscience | (คอน'เชินซฺ) n. สติรู้ผิดรู้ชอบ, สติสัมปชัญญะ, หิริโอตตัปปะ, ความกลัวบาป -Phr. (for conscience's sake เพราะมีความบริสุทธิ์ใจ) -Phr. (in all conscience แน่นอน อย่างไม่ต้องสงสัย โดยเหตุผล) -Conf. conscious -Conf. conscientous, conscious |
consecution | (คอนซิคิว'เชิน) n. การต่อเนื่องกัน, การเป็นไปตามลำดับ, การต่อเนื่องกันของเหตุผล |
dialectics | n. วิธีการโต้แย้งด้วยเหตุผล |
disconnected | adj. ซึ่งแยกออก, ไม่ปะติดปะต่อ, ไม่เชื่อมติดกัน, ไม่ต่อกัน, ซึ่งไร้เหตุผล, ไม่เป็นระเบียบ., Syn. rambling |
disconnection | n. การแยกออก, การไม่ต่อกัน, การไร้เหตุผล, การไม่เป็นระเบียบ, Syn. disconnexion |
discussion | (ดิสคัส'เชิน) n. การอภิปราย, การโต้แย้งหาเหตุผล |
empiric | (เอมเพอ'ริค) n. ผู้ที่อาศัยความชำนาญหรือประสบการณ์ (ไม่ใช่ความรู้) . ผู้อาศัยความสังเกต (ไม่ใช่อาศัยเหตุผล) หมอเถื่อน, หมอกำมะลอ. adj. ดูempirical, See also: empiricism n. ดูempiric empiricist n. ดูempiric |
fallacy | (แฟล'ละซี) n. การหลอกลวง, การทำให้เข้าใจผิด, ความผิดพลาด, การอ้างเหตุผลหรือความเชื่อที่ผิด, Syn. delusion |
groundless | (เกราดฺ'ลิส) adj. ไร้เหตุผล, ไม่มีมูลเหตุ., See also: groundlessness n., Syn. unreasonable |
hooly | (ฮุค'กี) adj. เต็มไปด้วยขอ, เป็นรูปขอ n. การขาดโรงเรียนโดยไม่มีเหตุผลที่สมควร. |
how | (เฮา) adv. อย่างไร, อย่างไรบ้าง, ยังไง, ด้วยเหตุผลใด, อะไร, ชื่ออะไร conj. อย่างไร, อะไร, อย่างไรก็ตาม. n. อย่างไร interj. คำอุทานเชิงทะเล้น -Phr. (how come? ทำไม?เป็นอย่างไร?) |
idle | (ได'เดิล) adj. ไม่ทำงาน, ว่าง, เฉย ๆ , เกียจคร้าน, อยู่ว่าง, ไม่มีเหตุผล, ไร้ผล, ไม่มีประโยชน์, ไร้สาระ, หมุนเปล่า ๆ (เครื่องยนต์) . vi. ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยไปโดยเปล่าประโยชน์, เดินเตร่, (เครื่องยนต์) หมุนเปล่า. vt. ทำให้เสียเวลาไปเปล่า ๆ , ทำให้ไม่ทำงาน. คำศัพท์ย่อย: |
ill-founded | adj. ซึ่งมีหลักฐานอ่อน, ไม่ยืนยัน, ด้วยเหตุผล |
intellect | (อิน'ทะเลคทฺ) n. ปัญญา, สติปัญญา, อำนาจในการคิดและหาความรู้, อำนาจในการเข้าใจเหตุผล, ผู้มีปัญญาสูง., See also: intellective adj., Syn. mind, reason |
intellectual | (อินทะเลค'ชวล) adj. เกี่ยวกับปัญญา, ซึ่งมีปัญญาสูง, ใช้สติปัญญา n. ผู้มีปัญญาสูง, ผู้ที่มีเหตุผลสูง, ผู้ที่ใช้สติปัญญา (แทนการใช้อารมณ์) , intellectuals อำนาจในการเข้าใจเหตุผล, สิ่งที่เกี่ยวกับปัญญา., See also: intellectuality n. คำที่มีความหมายเหมือ |
irrational | (อิแรช'เชินเนิล) adj. ไร้เหตุผล, ไม่มีสติสัมปชัญญะ, (เลข) ไม่ลงตัว. n. เลขไม่ลงตัว., See also: irrationalness n., Syn. demented |
justifiable | (จัส'ทะไฟอะเบิล) adj. แก้ตัวได้, โต้แย้งได้, อ้างเหตุผลสนับสนุนได้, See also: justifiability n. ดูjustifiable justifiableness n. ดูjustifiable justifiably adv. ดูjustifiable, Syn. verifiable |
justification | (จัสทิฟิเค'เชิน) n. การแสดงความบริสุทธิ์, การมีเหตุผลอันสมควร |
lame | (เลม) { lamed, laming, lames } adj. ขาเสีย, ขาพิการ, ขาเป๋, พิการ, ใช้ไม่ได้, อ่อนแอ, (เหตุผล) ไม่เพียงพอ, ฟังไม่ขึ้น. vt. ทำให้พิการ, ทำให้บกพร่อง., See also: lameness n. ดูlame, Syn. crippled |
logic | (ลอจ'จิค) n. ตรรกวิทยา, ตรรก, เหตุผล, การตัดสินด้วยเหตุผล, การอนุมานด้วยเหตุผล |
logical | (ลอจ'จิเคิล) adj. มีเหตุผล, เกี่ยวกับตรรกวิทยา, เกี่ยวกับการตัดสินด้วยเหตุผล., See also: logicality n. ดู logical, Syn. clear |
lucid | (ลู'ซิด) adj. แจ่มแจ้ง, สว่าง, โปร่งใส, สามารถเข้าใจได้ง่าย, ฉลาด, หลักแหลม, มีเหตุผล, มีจิตที่ปกติ., See also: lucidity n. ดูlucid lucidness n. ดูlucid, Syn. shining, bright |
mad | (แมด) adj. บ้า, วิกลจริต, โกรธ, คลั่ง, ตื่นเต้นมาก, หลงใหล, โง่มาก, ไร้เหตุผล, กระตือรือร้นมาก, ร่าเริงมาก, เป็นโรคกลัวน้ำ. -Phr. (like mad เร่งรีบมาก, กระตือรือร้น) |
matter | (แมท'เทอะ) n. วัตถุ, สสาร, สาระ, เนื้อหา, สิ่งที่อยู่ในช่องว่าง, วัตถุทางกาย, สารเฉพาะอย่าง, สารที่ถูกขับถ่ายออกจากร่างกาย, หนอง, สิ่งตีพิมพ์, สิ่งขีดเขียน, สถานการณ์, สภาวะ, ธุรกิจ, ความสำคัญ, ความลำบาก, เหตุผล, สาเหตุ, สำเนา, แบบ vi. เป็นสิ่งสำคัญมีความหมาย มีหนอง |
methodical | (มะธอด'ดิเคิล) adj. มีระบบ, มีแบบแผน, มีระเบียบ, มีเหตุผล, อดทน, รอบคอบ |
mind | (ไมน์ดฺ) n. จิต, ใจ, จิตใจ, จริต, ความคิด, ปัญญา, เหตุผล, ข้อคิดเห็น, ความตั้งใจ, สติสัมปชัญญะ, ความจำ -Phr. (bear (keep) in mind จำ) -Phr. (make in one's mind ตัดสินใจ) . -Phr. (out of one's mind บ้า, วิกลจริต) v. ใส่ใจ, สนใจ, ระวัง, เชื่อฟัง, ดูแล, เป็นห่วง, คัดค้าน, สังเกต, จำได้ |
mindless | (ไมดฺ'ลิส) adj. ไร้เหตุผล, สะเพร่า, เลินเล่อ, ไม่ระวัง, โง่., See also: mindlessly adv. mindlessness n., Syn. stupid |
misology | (มิสซอล'โลจี) n. ความไม่ไว้วางใจ, ความเกลียดความมีเหตุผล., See also: misologist n. |
neurotic | (นิวรอท'ทิค) adj. เกี่ยวกับหรือเป็นโรคประสาท n. คนที่เป็นโรคประสาทซึ่งมีอารมณ์อยู่เหนือเหตุผล, See also: neurotic ally adv. |
absurd | (adj) ไร้สาระ, ไร้เหตุผล, ไม่สมเหตุผล, น่าหัวเราะ |
absurdity | (n) ความไร้เหตุผล, ความไร้สาระ, ความไม่สมเหตุสมผล |
account | (vt) กำจัด, ให้เหตุผล, เป็นเหตุให้ |
adduce | (vt) อ้างอิง, อ้างเหตุผล, ยกตัวอย่าง |
arbitrary | (adj) โดยพลการ, ตามอำเภอใจ, ปราศจากเหตุผล |
ascribe | (vt) อ้าง, ให้เหตุผล, สันนิษฐาน, ลงความเห็น |
ascription | (n) การอ้าง, การให้เหตุผล, การสันนิษฐาน, การลงความเห็น |
baseless | (adj) ไม่มีรากฐาน, ไร้เหตุผล, ไม่มีมูลความจริง |
causal | (adj) เกี่ยวกับเหตุผล, เกี่ยวกับสาเหตุ, เป็นมูลเหตุ |
deduce | (vt) อ้างจาก, อนุมานจาก, ลงความเห็นจาก, พิจารณาเหตุผลจาก |
dogmatic | (adj) เกี่ยวกับกฎเกณฑ์, ดันทุรัง, ดื้อรั้น, ไม่มีข้อพิสูจน์, ไม่มีเหตุผล |
groundless | (adj) ไม่มีหลักฐาน, ไม่มีเหตุผล |
hypothetical | (adj) โดยสมมุติ, ไม่มีเหตุผล, น่าสงสัย |
illogical | (adj) ไม่สมเหตุผล, ไร้เหตุผล |
inconsequent | (adj) ไม่สมเหตุผล, นอกประเด็น, ไม่ต่อเนื่องกัน |
inconsequential | (adj) ไม่สมเหตุผล, เล็กน้อย, ไม่สำคัญ |
insensible | (adj) หมดความรู้สึก, สลบ, หาเหตุผลไม่ได้ |
irrational | (adj) ไม่มีเหตุผล, ไม่สมเหตุสมผล, ไม่ลงตัว |
judicious | (adj) ฉลาด, สุขุม, รอบคอบ, สมควร, เหมาะ, มีเหตุผล |
just | (adj) เที่ยงตรง, เป็นธรรม, ยุติธรรม, ถูกต้อง, สมควร, สมเหตุผล |
justifiable | (adj) แก้ตัวได้, อ้างเหตุผลได้ |
justification | (n) การให้เหตุผล, การแสดงความบริสุทธิ์, การอ้างเหตุผล |
justify | (vt) ให้เหตุผล, แสดงความบริสุทธิ์, แก้ตัว |
logic | (n) ตรรกวิทยา, เหตุผล |
logical | (adj) ตามเหตุผล, ตามหลักตรรกวิทยา |
methodical | (adj) ทำตามระเบียบวิธี, รอบคอบ, มีระเบียบ, มีเหตุผล |
motive | (n) สาเหตุ, ใจความสำคัญ, เหตุผล, แรงดลใจ, เป้าหมาย, เจตนา |
panic | (adj) หวาดกลัว, ตื่นตกใจ, ที่ไม่คิดถึงเหตุผล |
plausibility | (n) ความมีเหตุผล, ความน่าเชื่อถือ |
plausible | (adj) มีเหตุผล, น่าเชื่อถือ, เป็นไปได้ |
rational | (adj) ด้วยเหตุผล, มีเหตุผล, ตามเหตุผล |
rationalist | (n) ผู้มีเหตุผล, ผู้รักเหตุผล, ผู้รักความชอบธรรม |
rationality | (n) ความชอบธรรม, ความมีเหตุผล |
rationally | (adv) อย่างสมเหตุสมผล, อย่างมีเหตุผล, อย่างชอบด้วยเหตุผล |
reason | (n) เหตุผล, ความสำนึก, สัมปชัญญะ, มติ |
reason | (vt) ชี้แจงเหตุผล, ให้เหตุผล |
reasonable | (adj) เหมาะสม, มีเหตุผล, พอสมควร |
reasoning | (n) การชี้แจงเหตุผล, การให้เหตุผล, เหตุผล |
sane | (adj) มีสุขภาพจิตดี, มีสติ, มีเหตุผล |
sense | (n) ความรู้สึก, ไหวพริบ, ความเข้าใจ, ประสาทสัมผัส, สติปัญญา, เหตุผล |
silly | (adj) เซ่อ, โง่, เหลวไหล, บ้า, ไร้เหตุผล |
sophism | (n) การให้เหตุผลอย่างชาญฉลาด |
sophist | (n) ผู้ให้เหตุผลอย่างชาญฉลาด |
sophistry | (n) การให้เหตุผลอย่างชาญฉลาด |
theoretic | (adj) ตามทฤษฎี, ตามเหตุผล, ตามหลักวิชา |
theoretical | (adj) ตามทฤษฎี, ตามเหตุผล, ตามหลักวิชา |
theory | (n) ทฤษฎี, กฎ, หลัก, ข้อสมมุติ, เหตุผล, ความเห็น |
ungrounded | (adj) ไม่มีมูล, ไม่แข็งแรง, ไม่มีเหตุผล, ไม่มั่นคง |
unreasonable | (adj) ไม่มีเหตุผล, ขาดสติ, เกินสมควร |
valid | (adj) ถูกต้อง, มีเหตุผล, ใช้ได้, สมบูรณ์ |