แก้ไข | (v) solve, See also: resolve, Syn. แก้, ไขปัญหา, คลี่คลาย, แก้ปัญหา, สะสาง, Example: รัฐบาลแก้ไขปัญหาแต่ละปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
แก้ไข | (v) repair, See also: fix, mend, Syn. ซ่อม, ซ่อมแซม, Example: ช่างจะต้องแก้ไขเครื่องยนต์อันนี้เสียก่อน |
แก้ไข | (v) amend, See also: revise, improve, edit, rectify, correct, alter, Syn. แก้, ดัดแปลง, ปรับปรุง, Example: มีข่าวว่าอังกฤษและจีนจะแก้ไขสนธิสัญญาการเช่าเกาะฮ่องกง, Thai Definition: ทำส่วนเสียให้ดีขึ้น |
ข้อแก้ไข | (n) editing, See also: revision, correction, Syn. การแก้ไข, Example: ข้อแก้ไขของบรรณาธิการทำให้เรื่องเสียความไป |
ทางแก้ไข | (n) settlement, See also: solution, Syn. ทางออก, ทางแก้, Example: ทางแก้ไขเรื่องการจราจรติดขัดทางหนึ่งก็คือ โดยสารรถคันเดียวกัน เมื่อจะเดินทางไปทางเดียวกัน, Count Unit: ทาง |
ผู้แก้ไข | (n) repairman, See also: editor, Syn. คนแก้ไข, Example: บทความที่พวกเราอ่านอยู่นี้ อาจารย์อัมพิกาเป็นผู้แก้ไข จนกระทั่งได้ภาษาที่สละสลวยเช่นนี้, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ดัดแปลงให้ดีขึ้น |
ยากจะแก้ไข | (v) be difficult to fix, See also: be difficult to solve or repair, Syn. แก้ไขยาก, Example: กระทรวงแรงงานฯ กำลังมีความวุ่นวาย ยากที่จะแก้ไข, Thai Definition: แก้ไขได้ยากลำบาก |
แก้ไขปัญหา | (v) solve, See also: remedy, fix, Syn. แก้ปัญหา, แก้ไข, ขจัดปัญหา, Example: สหรัฐพยายามแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างยิวและอาหรับ, Thai Definition: หาทางแก้ หรือทางออกให้กับความยุ่งยากที่เกิดขึ้น |
หมดทางแก้ไข | (v) have no solution, See also: end of wisdom, be at the end of one's wits, Syn. จนปัญญา, หมดปัญญา, Example: ทุกฝ่ายต่างหมดทางแก้ไขปัญหาการซื้อสิทธิขายเสียง เนื่องจากประชาชนไม่ให้ความร่วมมือเลย, Thai Definition: ไม่มีทางที่จะทำให้เป็นเหมือนเดิมได้ |
ดัดแปลงแก้ไข | (v) adapt, See also: adjust, modify, Syn. ดัดแปลง, Example: ชาวญี่ปุ่นได้นำลูกคิดหินของชาวจีนมาดัดแปลงแก้ไขเป็นลูกคิดโดยใช้วัสดุอื่นแทนลูกหินและใช้โลหะแทนเชือก, Thai Definition: เปลี่ยนแปลงให้ต่างไปจากสภาพเดิม |
ปรับปรุงแก้ไข | (v) rectify, See also: correct, adjust, improve, remedy, Syn. แก้ไขปรับปรุง, Example: สหรัฐฯ เรียกร้องให้ไทยปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา, Thai Definition: ทำให้ดีกว่าเดิม |
แก้ไขปรับปรุง | (v) adjust, See also: fine-tune, Syn. ปรับปรุงแก้ไข, Example: ประเทศไทยจำเป็นต้องแก้ไขปรับปรุงกฎหมายล้มละลายเสียใหม่, Thai Definition: การทำส่วนที่เสียให้ดีขึ้นอย่างเดิม แล้วดัดแปลงให้ดีขึ้น |
แก้ไข | ก. ทำส่วนที่เสียให้คืนดีอย่างเดิม, ดัดแปลงให้ดีขึ้น, แก้ ก็ว่า. |
กฎหมายตราสามดวง | น. ประมวลกฎหมายโบราณของไทยซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้าฯ ให้ชำระและปรับปรุงแก้ไขตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่ใช้กันมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงต้นรัตนโกสินทร์ เมื่อทำเสร็จแล้วได้ประทับดวงตราพระราชสีห์ พระคชสีห์ และบัวแก้ว ไว้เป็นสำคัญ จึงเรียกว่า กฎหมายตราสามดวง. |
กระดูกสันหลัง | น. กระดูกที่อยู่ในแนวกึ่งกลางทางด้านหลังของลำตัว เป็นแกนของร่างกาย มีลักษณะเป็นข้อ ๆ ต่อกันเป็นแนวตั้งแต่บริเวณคอต่อจนถึงบริเวณด้านหลังของทวารหนัก ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่ไขสันหลัง, โดยปริยายหมายถึงส่วนที่สำคัญ, ส่วนที่เป็นพลังคํ้าจุน, เช่น ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ. |
กล่าว | ขับร้อง เช่น จะกล่าวกลอนแก้ไข (อิเหนา) |
กายภาพบำบัด | น. การบำบัด ป้องกัน แก้ไข และฟื้นฟูความบกพร่องของร่างกายที่เกิดเนื่องจากภาวะของโรคหรือการเคลื่อนไหวที่ไม่ปรกติ. |
แก้ ๒ | ทำให้ดีขึ้น, ทำให้ใช้การได้, ทำส่วนที่เสียให้คืนดีอย่างเดิม, ดัดแปลงให้ดีขึ้น, เช่น แก้นาฬิกา แก้เครื่องจักร, แก้ไข ก็ว่า |
แก้ฟ้อง | ก. แก้ไขคำฟ้องตามที่ศาลสั่งในกรณีที่คำฟ้องไม่ถูกต้องตามกฎหมาย |
ขยับขยาย | (-ขะหฺยาย) ก. แก้ไขให้คลายความลำบากหรือความคับแคบเป็นต้น เพื่อให้เหมาะแก่ความต้องการหรือเหตุการณ์ เช่น บ้านหลังนี้คับแคบลงไปแล้ว ต้องหาทางขยับขยาย อดทนทำงานนี้ไปก่อนแล้วค่อยขยับขยาย. |
ขัดตาทัพ | แก้ไขไปพลาง ๆ ก่อน. |
เข้าตาจน | ก. หมดทางไป, หมดทางที่จะแก้ไข, หมดหนทางหากิน. |
เข้าปิ้ง | อยู่ในความลำบากแก้ไขยาก, (ปาก) ถูกจับกุมคุมขัง, เข้าข่ายมีความผิดไปด้วย. |
ความรู้สึกเขื่อง, ความรู้สึกเด่น | น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าหรือดีเด่นกว่าผู้อื่น ความรู้สึกนี้ไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สำนึก แต่ถ้าเกิดขึ้นเสมอ ๆ และมิได้แก้ไขหรือได้รับการสนับสนุน เช่นในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก ก็อาจเก็บสะสมไว้เกิดเป็นนิสัยของบุคคลนั้นได้ |
ความรู้สึกด้อย | น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถไม่เท่าเทียมบุคคลทั่วไป ความรู้สึกนี้ไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สำนึกและผู้นั้นไม่จำเป็นต้องมีปมด้อย อาจเกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมหรือในบางขณะเท่านั้น แต่ถ้าเกิดขึ้นเสมอ ๆ และมิได้แก้ไข ก็อาจเก็บกดไว้จนเกิดเป็นปมด้อยได้ |
คิดอ่าน | ก. ตริตรองหาทางแก้ไข. |
โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาทดลองงานทางด้านการเกษตร ภายในบริเวณสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต ข้อมูลที่ได้จากการทดลองนำมาเป็นแบบอย่างสำหรับปฏิบัติตามหรือปรับปรุงแก้ไขในการประกอบอาชีพของราษฎร แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ โครงการไม่ใช่ธุรกิจ เช่น บ่อเพาะเลี้ยงปลานิล ป่าไม้สาธิต นาข้าวทดลอง และโครงการกึ่งธุรกิจ เช่น โรงงานผลิตและแปรรูปนมสดครบวงจร โรงสีข้าว. |
จิตบำบัด | (จิดตะ-, จิด-) น. วิธีรักษาผู้ป่วยหรือผู้มีปัญหาทางด้านจิตใจด้วยวิธีที่จิตแพทย์หรือนักจิตวิทยาสนทนากับผู้ที่มารับการรักษา เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุของโรคหรือปัญหาแล้วหาทางแก้ไข. |
ฉุกเฉิน | ว. ที่เป็นไปโดยปัจจุบันทันด่วนและจะต้องรีบแก้ไขโดยฉับพลัน เช่น เหตุฉุกเฉิน, ที่อาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักร เช่น ภาวะฉุกเฉิน สถานการณ์ฉุกเฉิน. |
เฉพาะหน้า | ว. ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ๆ และจะต้องรีบแก้ไขให้ทันท่วงที เช่น ปัญหาเฉพาะหน้า เหตุการณ์เฉพาะหน้า. |
ช่างไฟ | ช่างติดตั้ง ควบคุม หรือแก้ไขไฟฟ้า. |
ชำระ | สะสาง, ปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น, เช่น ชำระพระไตรปิฎก ชำระพจนานุกรม |
ซ่อมแซม | ก. แก้ไขปรับปรุงเพิ่มเติมของที่ชำรุดให้กลับคืนสู่สภาพเดิม. |
ซ่อมแปลง | ก. แก้ไขดัดแปลงของที่ชำรุดให้คืนดี. |
ซิงโคนา | น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Cinchona วงศ์ Rubiaceae เปลือกมีควินินใช้เป็นยาแก้ไข้จับสั่น. |
ดัดแปลง | (-แปฺลง) ก. แก้ไขเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม, เปลี่ยนจากรูปเดิมโดยแก้ไขเปลี่ยนแปลงบ้างเล็กน้อย, เช่น ดัดแปลงเรือนชั้นเดียวให้เป็น ๒ ชั้น. |
เดินเหิน | ก. วิ่งเต้นเพื่อขอความช่วยเหลือ เช่น ผู้ใดรับสินบนเดินเหินช่วยแก้ไขให้คนเช่นนั้นได้ไปเป็นผู้สำเร็จราชการหัวเมือง จะได้บาปกรรมมากนัก (ประกาศ ร. ๔) |
ตรีสันนิบาตผล | น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีสรรพคุณแก้ไข้สันนิบาต ๓ อย่าง คือ ผลดีปลี รากกะเพรา รากพริกไทย. |
ตามล้างตามเช็ด | คอยแก้ไขให้ถูกต้องอยู่เนือง ๆ. |
ตึงตัว | ว. แก้ไขให้คลายความลำบากหรือความคับแค้นได้ยาก เช่น เศรษฐกิจอยู่ในภาวะตึงตัว. |
ทั้งดุ้น | ว. ทั้งหมดโดยมิได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือตัดแบ่งเลย เช่น ลอกมาทั้งดุ้น. |
ปฏิภาณปฏิสัมภิทา | (ปะติพานะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในปฏิภาณ คือ ความเข้าใจทำให้สามารถแก้ไขเหตุการณ์ได้ในเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือกล่าวโต้ตอบได้ทันท่วงที, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรม-ปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. |
ปรับปรุง | ก. แก้ไขให้เรียบร้อยยิ่งขึ้น. |
ปัญหา | น. ข้อสงสัย, ข้อขัดข้อง, เช่น ทำได้โดยไม่มีปัญหา, คำถาม, ข้อที่ควรถาม, เช่น ตอบปัญหา, ข้อที่ต้องพิจารณาแก้ไข เช่น ปัญหาเฉพาะหน้า ปัญหาทางการเมือง. |
แปลง ๒ | (แปฺลง) ก. เปลี่ยนสิ่งเดิมให้ผิดแปลกออกไป, เปลี่ยนรูปทั้งหมดให้กลายเป็นอีกรูปหนึ่ง เช่น ยักษ์แปลงเป็นมนุษย์, จำแลง ก็ว่า, เปลี่ยนจากรูปเดิมแต่บางส่วน เช่น คนดีแปลงเป็นคนง่อย, เปลี่ยนจากรูปเดิมโดยแก้ไข เปลี่ยนแปลงบ้างเล็กน้อย เช่น เรือนชั้นเดียวแปลงให้เป็น ๒ ชั้น, ดัดแปลง ก็ว่า |
ผงเข้าตาตัวเอง | น. เมื่อปัญหาหรือความเดือดร้อนเกิดแก่ผู้อื่น ช่วยแก้ไขให้เขาได้ แต่เมื่อเกิดแก่ตน กลับแก้ไขไม่ได้. |
พิธีสาร | น. ความตกลงระหว่างประเทศอย่างหนึ่ง ได้แก่ ตราสารอันบรรจุไว้ซึ่งความตกลงที่มีความสำคัญรองลงมาจากสนธิสัญญาและอนุสัญญา โดยมากเป็นพิธีสารต่อท้ายหรือแก้ไขเพิ่มเติมสนธิสัญญาหรืออนุสัญญา. |
พิสูจน์อักษร | ก. ตรวจและแก้ไขที่ผิดในการพิมพ์หนังสือ. |
เพิ่มเติม | ก. เสริมหรือเติมของที่มีอยู่แต่ยังไม่สมบูรณ์ให้มีมากหรือสมบูรณ์ยิ่งขึ้น เช่น ศึกษาเพิ่มเติม แก้ไขเพิ่มเติม. |
มเหาษธ ๑ | การแก้ไข้อย่างชะงัด. |
ไม้เป็น | น. ท่าสำคัญของกระบี่กระบองหรือมวยในการป้องกันตัวโดยใช้ปฏิภาณไหวพริบแก้ไขให้พ้นภัยจากปรปักษ์เมื่อคราวเข้าที่คับขัน, ตรงข้ามกับ ไม้เด็ด หรือ ไม้ตาย. |
ยาเขียว ๑ | น. ยาแก้ไข้ ทำด้วยใบไม้ล้วน มีหลายชนิด เช่น ยาเขียวใหญ่ ยาเขียวเล็ก ยาเขียวมหาอุดม. |
เยียวยา | แก้ไข, ทำให้ดีขึ้น, เช่น เศรษฐกิจกำลังทรุดหนัก ยากที่จะเยียวยาได้. |
เรียนผูกต้องเรียนแก้ | ก. รู้วิธีทำก็ต้องรู้วิธีแก้ไข, รู้กลอุบายทุกทาง ทั้งทางก่อและทางแก้. |
วัวหายล้อมคอก | น. ของหายแล้วจึงจะเริ่มป้องกัน, เรื่องเกิดขึ้นแล้วจึงคิดแก้ไข. |
โศธนะ | การแก้ไข, การตรวจตรา, การชำระสะสาง. |
สะระตะ | ก. เก็งหรือคาดหมายเอาโดยยึดเค้าเดิมเป็นหลัก เช่น ข้าพระพุทธเจ้าคิดสะระตะอยู่ว่าจะแก้ไขอย่างไรดี (หนังสือเจ้าพระยาพระเสด็จฯ กราบบังคมทูล ร. ๕), สรตะ ก็ว่า. |
สาย ๑ | ว. ช้ากว่าเวลาที่กำหนด, ล่าช้า, เช่น มาทำงานสาย, โดยปริยายหมายความว่า พ้นเวลาที่จะแก้ไข, สุดที่จะแก้ไขได้ เช่น เรื่องนี้ทำอะไรไม่ได้ สายเกินไปเสียแล้ว. |
อนุโลม | นำมาใช้โดยอาศัยหลักการอย่างเดียวกันแต่ให้แก้ไขในรายละเอียดได้ตามควรแก่กรณี. |
อัศวินม้าขาว | น. ผู้ที่มาช่วยแก้ไขสถานการณ์ที่คับขันให้กลับดีขึ้น. |
provisional remedy | วิธีแก้ไขชั่วคราว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rigid constitution | รัฐธรรมนูญที่แก้ไขยาก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
remedy | เยียวยา, แก้ไข, ทางแก้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
referendum, mandatory | การลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญ, การลงประชามติแก้ไขกฎบัตร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
revision | การแก้ไขปรับปรุง, การตรวจชำระใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
revision | การตรวจชำระ, การแก้ไขเพิ่มเติม, การทบทวน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
revision of statutes | การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
revisionism | ลัทธิแก้ (ลัทธิที่แก้ไขลัทธิมากซ์) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reformation | การแก้ไขให้ตรงกับเจตนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
statute, curative | บทกฎหมายแก้ไขข้อบกพร่อง, บทกฎหมายแก้ไขเพิ่มเติม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
alteration | การแปลง, การเปลี่ยนแปลงแก้ไข [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
alteration | การแปลง, การเปลี่ยนแปลงแก้ไข [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
act, validating | กฎหมายแก้ไขข้อบกพร่อง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
act, validating | กฎหมายแก้ไขข้อบกพร่อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
agreement, modifying | ข้อตกลงที่แก้ไขเพิ่มเติม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
amendment | ๑. การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย๒. การแปรญัตติ, คำแปรญัตติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
amendment | ๑. การแก้ไขเพิ่มเติม๒. การแปรญัตติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
amendment file | แฟ้มแก้ไข [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
amendment record | ระเบียนแก้ไข [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
amendment tape | แถบแก้ไข [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
amendment to the plaint | การแก้ไขเพิ่มเติมคำฟ้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
amendment, constitutional | การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
justice, corrective | ความยุติธรรมเพื่อแก้ไขความประพฤติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mandatory referendum | การลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญ, การลงประชามติแก้ไขกฎบัตร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mischief rule | หลักการตีความกฎหมายเพื่อแก้ไขสิ่งที่ผิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
modification | การแก้ไขเพิ่มเติม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
modifying agreement | ข้อตกลงที่แก้ไขเพิ่มเติม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
marking up | การแก้ไขร่างกฎหมาย (เรียงมาตรา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
marking up | การแปรญัตติโดยแก้ไขอย่างมาก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
correctable impression | รอยพิมพ์แก้ไขได้ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
corrected rate | อัตราที่แก้ไข [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
civil remedy | การแก้ไขทดแทน (ความเสียหาย) ทางแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
corrective justice | ความยุติธรรมเพื่อแก้ไขความประพฤติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
codicil | พินัยกรรมฉบับแก้ไขพินัยกรรมฉบับเดิม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
constitutional amendment | การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
curative statute | บทกฎหมายแก้ไขข้อบกพร่อง, บทกฎหมายแก้ไขเพิ่มเติม [ ดู validating act ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
constituent power | อำนาจเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
constitution, flexible | รัฐธรรมนูญที่แก้ไขง่าย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
constitution, rigid | รัฐธรรมนูญที่แก้ไขยาก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
constitutional amendment | การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
grinding-in | การกรอแก้ไข [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
febrifugal | -แก้ไข้, -ลดไข้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
flexible constitution | รัฐธรรมนูญที่แก้ไขง่าย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
improvement | การปรับปรุง, การแก้ไข [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
improvement notice | คำสั่งให้แก้ไข (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
irreparable damage | ความเสียหายที่ไม่อาจแก้ไขได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
validating act | กฎหมายแก้ไขข้อบกพร่อง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
validating act; validating statue | กฎหมายแก้ไขข้อบกพร่อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
validating statue; validating act | กฎหมายแก้ไขข้อบกพร่อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
trouble shooting | การหาเหตุแก้ไขข้อขัดข้อง [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Enlarge edition | ฉบับแก้ไข [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Revised edition | ฉบับแก้ไข [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Error control coding | รหัสแก้ไขความผิดพลาด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Action level | ระดับต้องปฏิบัติ, ระดับอัตราปริมาณรังสี หรือ ความเข้มข้น<em>กัมมันตภาพ</em> ซึ่งต้องดำเนินการตามมาตรการแก้ไขหรือป้องกันทันที เพื่อไม่ให้บุคคลได้รับรังสีแบบเรื้อรัง หรือกรณีฉุกเฉิน [นิวเคลียร์] |
structural programming | การเขียนโปรแกรมโครงสร้าง, การเขียนโปรแกรมโดยใช้เฉพาะโครงสร้างควบมากเกินไปคุมที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้โปรแกรมซับซ้อนมากเกินไป วิธีนี้ช่วยช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจโปรแกรมได้ง่ายขึ้น อันจะทำให้แก้ไขดัดแปลงโปรแกรมได้ง่ายขึ้นด้วย [คอมพิวเตอร์] |
syntax error | ผิดไวยากรณ์, ความผิดพลาดในโปรแกรมอันเกิดจากการสะกดคำสั่งผิดบ้าง หรือใช้รูปแบบคำสั่งผิดบ้าง โปรแกรมทีเขียนด้วยภาษาระดับสูงนั้นจะต้องนำไปแปลเป็นภาษาเครื่องก่อนจึงจะนำไปใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ ในการแปลนั้นตัวแปลภาษาจะตรวจสอบการใช้ไวยากรณ์ในโปรแกรมนั้นไปด้วย ถ้าหากมีที่ผิดตัวแปลภาษาก็จะรายงานความผิดพลาดให้ทราบ เพื่อที่เราจะได้นำไปพิจารณาแก้ไข [คอมพิวเตอร์] |
Property fund for resolving financial institution problems “Type 2 Fund” | กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงิน (กอง 2), Example: กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ที่ บลจ. จัดตั้งขึ้นเพื่อจำหน่ายหน่วยลงทุนแก่ผู้ลงทุนสถาบัน โดยมีวัตถุประสงค์หลัก ในการนำเงินที่ได้รับจากการจำหน่ายหน่วยลงทุนไปซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ หรือลงทุนในสิทธิเรียกร้องที่เกิดจากการประกอบธุรกิจของสถาบันการเงินที่มีอสังหาริมทรัพย์เป็นหลักประกัน และจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิเรียกร้องดังกล่าว [ตลาดทุน] |
Mutual fund for resolving financial institution problems “Type 3 Fund” | กองทุนรวมเพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงิน (กอง 3) , กองทุนรวมเพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงิน (กอง 3), Example: กองทุนรวมที่ บลจ. จัดตั้งขึ้นเพื่อจำหน่ายหน่วยลงทุนแก่ผู้ลงทุนสถาบัน โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการนำเงินที่ได้รับจากการจำหน่ายหน่วยลงทุนที่ไปลงทุนในทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องที่เกิดจากการประกอบธุรกิจของสถาบันการเงิน ไม่ว่าจะมีหลักประกันหรือไม่ก็ตาม ทั้งนี้เพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงิน [ตลาดทุน] |
Mutual fund for resolving capital problem of commercial banks | กองทุนรวมเพื่อแก้ไขปัญหาการดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์, Example: กองทุนรวมที่มีนโยบายการลงทุนเพื่อแก้ไขปัญหาการดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ โดยจะต้องเป็นกองทุนรวมที่กำหนดอายุโครงการจัดการกองทุนรวมที่แน่นอน [ตลาดทุน] |
Community-based corrections | การแก้ไขผู้กระทำผิดแบบใช้ชุมชนเป็นฐาน [TU Subject Heading] |
Constitutional amendments | การแก้ไขรัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] |
Correctional psychology | จิตวิทยาการแก้ไขผู้กระทำผิด [TU Subject Heading] |
Defect correction methods (Numerical analysis) | วิธีการแก้ไขจำนวนพร่อง (การวิเคราะห์เชิงตัวเลข) [TU Subject Heading] |
Digital audio editors | ส่วนชุดคำสั่งแก้ไขเสียงระบบดิจิทัล [TU Subject Heading] |
Exhaustion of administrative remedies | การแก้ไขความเสียหายให้ครบขั้นตอนก่อนฟ้องคดีปกครอง [TU Subject Heading] |
Juvenile corrections | การแก้ไขเยาวชนที่กระทำผิด [TU Subject Heading] |
Legislative amendments | การแก้ไขกฎหมาย [TU Subject Heading] |
Orthodontics, Corrective | ทันตกรรมจัดฟันด้านแก้ไข [TU Subject Heading] |
Post-conviction remedies | การแก้ไขความเสียหายหลังการตัดสิน [TU Subject Heading] |
Remedies (Law) | การแก้ไขความเสียหาย (กฎหมาย) [TU Subject Heading] |
ASEAN Finance Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียน จัดขึ้นปีละครั้ง ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 ต่อมาได้มีการจัดการประชุม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียนกับญี่ปุ่น (AFMM + Japan) เพื่อหารือเกี่ยวกับความร่วมมือในการแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและความช่วยเหลือที่ ญี่ปุ่นให้แก่อาเซียน อาทิ แผนมิยาซาวา ควบคู่กันไปด้วย [การทูต] |
ASEAN Finance Minister + 3 (China, Japan and the Republic of Korea) Meeting | การประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียนกับผู้แทนจากจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี มีการประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2542 ในช่วงการประชุม ประจำปีของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) ที่กรุงมะนิลา และได้ ตกลงในหลักการที่จะจัดเป็นประจำทุกปี เพื่อหารือสถานการณ์การเงินและเศรษฐกิจในภูมิภาค และร่วมมือหามาตรการเพื่อป้องกันและแก้ไขวิกฤตการณ์การเงินในภูมิภาค ผลงานที่สำคัญคือ ข้อตกลงริเริ่มที่เชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative) [การทูต] |
amendment | การแก้ไขเพิ่มเติม [การทูต] |
Amendments to the Charter of the United Nations | การแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรของสหประชาชาตินั้น เปิดโอกาสให้มีการแก้ไขได้โดยสมัชชาสหประชาชาติหรือโดยที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ของสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งอาจจะประชุมกัน ณ วันเวลาและสถานที่ตามแต่จะมีการตกลงกัน โดยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ส่วนของสมัชชาใหญ่ และโดยคะแนนเสียงของสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงใด ๆ 7 เสียง ในที่ประชุมใหญ่นั้น สมาชิกแต่ละประเทศของสหประชาชาติจะมีเสียงลงคะแนน 1 เสียงการที่จะแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติให้เป็นผลสำเร็จ จะต้องได้เสียงสนับสนุนจากสมาชิกเป็นจำนวน 2 ใน 3 ส่วนของสมาชิกทั้งหมดในสมัชชาหรือจากที่ประชุมใหญ่ เมื่อการแก้ไขกฎบัตรเป็นที่รับรองแล้ว จะมีผลบังคับต่อสมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ก็ต่อเมื่อได้รับการสัตยาบันจากสมาชิก 2 ใน 3 ส่วนของจำนวนทั้งหมด รวมทั้งการรับรองจากสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงด้วยอาทิเช่น ในสมัยประชุมที่ 18 ของสมัชชาใหญ่ การแก้ไขกฎบัตรได้รับการรับรองเห็นชอบด้วย โดยผ่านข้อมติที่ 1991 (XVII) ในการแก้ไขครั้งนี้ได้เพิ่มจำนวนสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงจาก 11 เป็น 15 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจาก 18 เป็น 27 ประเทศ การแก้ไขดังกล่าวได้รับการลงมติรับรองเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1963 ในปัจจุบันนี้ ประเทศสมาชิกเป็นจำนวนมากกำลังเรียกร้องให้มีการปรับจำนวนสมาชิกถาวรของคณะ มนตรีความมั่นคงเสียใหม่ [การทูต] |
ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] |
comprehensive plan of action | แผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบ เป็นแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาผู้หนีภัยอย่างสมบูรณ์ โดยความร่วมมือระหว่างประเทศต้นเหตุ ประเทศที่ต้องแบกรับภาระ สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ และประเทศที่ให้ความช่วยเหลือ แผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบนี้เป็นการแก้ไขปัญหาแบบครบวงจร ตั้งแต่กระบวนการป้องกันปัญหา การให้ความช่วยเหลือผู้หนีภัย โดยจัดที่พักพิงชั่วคราวตามหลักมนุษยธรรม การส่งตัวกลับเมื่อสถานการณ์ในประเทศต้นเหตุกลับคืนสู่สภาพปกติแล้ว และการหาที่พักพิงให้แก่ผู้หนีภัยในประทศที่สาม [การทูต] |
Drug-Free ASEAN | อาเซียนที่ปลอดจากยาเสพติด เป็นคำประกาศของอาเซียนในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน สมัยที่ 31 ที่กรุงมะนิลา เมื่อเดือนกรกฎาคม 2541 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยการตั้งเป้าหมาย ที่จะทำให้ภูมิภาคนี้ปลอดจากยาเสพติดในปี พ.ศ. 2563 และต่อมา ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน สมัยที่ 33 ที่กรุงเทพฯ เมื่อเดือนกรกฎาคม 2543 ได้ประกาศร่นกำหนดเวลาดังกล่าวให้เร็วขึ้น 5 ปี จากเดิมในปี พ.ศ. 2563 เป็นปี พ.ศ. 2558 [การทูต] |
East Asia Vision Group | กลุ่มวิสัยทัศน์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อเสนอของประธานาธิบดีคิม แด จุง แห่งสาธารณรัฐเกาหลี ในระหว่างการประชุมหัวหน้ารัฐบาลอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี ที่กรุงฮานอย เมื่อเดือนธันวาคม 2541 เพื่อเป็นเวทีระดมความคิดและแสวงหาแนวทางขยายความร่วมมือระหว่างกันในทุก ด้านและทุกระดับเพื่อมุ่งแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและพัฒนาภูมิภาคนี้อย่างต่อเนื่อง [การทูต] |
endorsements and amendments | รายการบันทึกและแก้ไขหนังสือเดินทาง [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Humanitarian Intervention | การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ " [การทูต] |
International Monetary Fund | กองทุนการเงินระหว่างประเทศ จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเงิน อำนวยความสะดวก เพื่อให้เกิดความเจริญเติบโตด้านการค้าระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้เกิดระบบการแลกเปลี่ยนเงินตราที่มั่นคงและเป็นระเบียบ การกำจัดข้อจำกัดด้านการแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ และช่วยเหลือประเทศสมาชิกโดยการจัดหาทรัพยากรด้านการเงินเป็นการชั่วคราว เพื่อแก้ไขปัญหาด้านดุลการชำระเงิน [การทูต] |
International Trade Organization | องค์การการค้าระหว่างประเทศ มีหน้าที่ดำเนินงานเกี่ยวกับความตกลงทั้วไปว่าด้วยภาษี ศุลกากรและการค้าระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการขยายการค้าของโลกให้กว้างขวางขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยให้มีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้น ขจัดการกีดกันการค้า หรือพยายามลดให้เหลือน้อยที่สุด เช่น การตั้งข้อจำกัดโควต้า เป็นต้น ตัดทอนภาษีศุลกากรทั่วโลกให้ต่ำลง ดูแลตลาดวัตถุดิบให้เป็นไปอย่างยุติธรรม และพยายามควบคุมด้านการค้าของการร่วมมือกันทางธุรกิจ (Cartels) จุดมุ่งหมายสำคัญที่สุดคือ ป้องกันมิให้กลับไปสู่การดำเนินการทางการค้าที่ตัดราคากันอย่างหั่นแหลก เหมือนเมื่อระยะปี ค.ศ. 1930 ถึง 1939 นั่นเองอย่างไรก็ดี ตั้งแต่มีการปฏิบัติใช้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้ามาจนบัด นี้ ก็ได้รับผลสำเร็จตามแนววัตถุประสงค์อย่างมากมาย เช่น มีประเทศสมาชิกหลายสิบประเทศลดภาษีศุลกากรและรักษาระดับภาษีอย่างมีเสรีภาพ แต่ละปี ประเทศสมาชิกจะได้ยินได้ฟังเสียงร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการค้า ละเมิดกฎเกณฑ์ของความตกลงทั่วไป แล้วเสียงร้องเรียนดังกล่าวก็ได้รับการแก้ไขจนเป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่าย เป็นต้น นอกจากนี้ ได้มีการปรับปรุงและดัดแปลงข้อกำหนดของความตกลงทั่วไป ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา [การทูต] |
Joint Development Area | พื้นที่พัฒนาร่วม " หมายถึง พื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซีย อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการแก้ไขปัญหาเขตแดนทางทะเลระหว่างทั้งสองประเทศ ทั้งนี้ ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงที่จะแปรปัญหาเขตทับซ้อนในไหล่ทวีป ซึ่งมีพื้นที่ 7,250 ตารางกิโลเมตร ให้เป็นพื้นที่พัฒนาร่วม โดยการแสวงหาและนำเอาทรัพยากรปิโตรเลียมในพื้นที่ดังกล่าวมาใช้และแบ่งปันผล ประโยชน์ บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันในลักษณะ 50 : 50 ซึ่งนับว่าเป็น ตัวอย่างที่ดีในการแก้ไขกรณีพิพาทเกี่ยวกับเขตทับซ้อนทางทะเลสำหรับประเทศ อื่น ๆ " [การทูต] |
The New Partnership for Africa?s Development | หุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน [การทูต] |
Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] |
peace keeping | การรักษาสันติภาพ " หมายถึง การส่งคณะเจ้าหน้าที่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนในนามของสหประชาชาติเข้าไปใน พื้นที่ที่มีความขัดแย้งโดยความยินยอมของ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำหน้าที่ดูแลให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงหยุดยิง หรือความตกลงสันติภาพ หรือกระบวนการแก้ไขปัญหาโดยวิถีทาง การเมือง " [การทูต] |
Plan Puebla-Panama | สมาชิก เม็กซิโก เบลิซ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส เอลซัลวาดอร์ นิการากัว คอสตาริกา และปานามา วัตถุประสงค์ ริเริ่มโดยประธานาธิบดี Vicente Fox ของเม็กซิโก เมื่อปี พ.ศ. 2543 เพื่อแสวงหาความร่วมมือและให้การสนับสนุนด้านเงินทุนแก่ประเทศภูมิภาค อเมริกากลางในการเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมและสาธารณูปโภค เช่น ถนน สายส่งไฟฟ้า ท่อก๊าซ ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจจากเม็กซิโกลงไปยังประเทศทางตอนใต้ ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศร่วมกัน และเพื่อแก้ไขปัญหาการอพยพของแรงงานผิดกฎหมายจากประเทศในแถบอเมริกากลางเข้า สู่เม็กซิโก หมายเหตุ Puebla เป็นชื่อเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของเม็กซิโก และเป็นจุดเริ่มต้นโครงการ ซึ่งสิ้นสุดที่ปานามา [การทูต] |
protocol | 1. พิธีการทูต 2. พิธีสาร " 1. พิธีการทูต หมายถึง หลักปฏิบัติ หรือมารยาททางการทูต (etiquette) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันในนานาประเทศจนกลายเป็นรูปแบบที่ใช้กันในงานพิธีการ หรือรัฐพิธีต่าง ๆ รวมถึงเรื่องเอกสิทธิ์ ความคุ้มกัน ลำดับอาวุโส ฯลฯ ทั้งนี้ บุคคลซึ่งเป็นหัวหน้ารับผิดชอบด้านพิธีการทูต เรียกว่า Chief of Protocol สำหรับประเทศไทย คือ อธิบดีกรมพิธีการทูต ส่วนเจ้าหน้าที่พิธีการทูต เรียกว่า protocol official 2. พิธีสาร เป็นความตกลงระหว่างประเทศอย่างหนึ่ง โดยมากเป็นพิธีสารต่อท้ายสนธิสัญญาหรืออนุสัญญา หรือพิธีสารแก้ไขเพิ่มเติมสนธิสัญญาหรืออนุสัญญานั้น " [การทูต] |
Shanghai Cooperation Organization | พัฒนามาจากเวทีการประชุม Shanghai Five ซึ่งจีนเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2539 เดิมมีสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ จีน รัสเซีย คาซัคสถาน สาธารณรัฐคีร์กีซ และทาจิกิสถาน ต่อมาเมื่อเดือนมิถุนายน 2544 อุซเบกิสถาน ได้เข้าเป็นสมาชิกด้วย จึงมีการเปลี่ยนชื่อกลไกความ ร่วมมือนี้เป็น Shanghai Cooperation Organization เดิมมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจและแก้ไขข้อพิพาทเกี่ยวกับพรมแดนของประเทศสมาชิก และต่อมาได้ขยายขอบเขตความร่วมมือให้ครอบคลุม ทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจการค้า วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม การศึกษา พลังงาน การคมนาคม [การทูต] |
Stalemate | ภาวะจนมุม เป็นคำที่ยืมมาจากเกมหมากรุกและใช้ในความหมายที่ว่า ตกอยู่ในสภาพชะงักงันหรือทางตัน คำนี้จะใช้กันแพร่หลายในด้านการทูต และในด้านการเจรจาระหว่างประเทศ คือ ทั้งสองฝ่ายต่างยึดมั่นในหลักการของแต่ละฝ่าย ซึ่งแตกต่างกันได้ก็ด้วยอาศัยมือที่สาม หรือประเทศที่สามเข้ามาแทรกแซงแก้ไขให้ [การทูต] |
Treaty of Amity and Cooperation | สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต] |
Write off | แก้ไขข้อผิดพลาดรายการบัญชี, ตัดออก [การบัญชี] |
Absorbance, Corrected | ค่าการดูดแสงที่แก้ไขแล้ว [การแพทย์] |
Adaptational Factors | องค์ประกอบทางด้านการปรับปรุงแก้ไขสภาพ [การแพทย์] |
Albee Shelf Procedure | การผ่าตัดเพื่อแก้ไขข้อตะโพกหลุดแต่กำเนิด [การแพทย์] |
Arthroplasty | ผ่าตัดเข้าแก้ไขที่ข้อโดยตรง, การตบแต่งข้อ, ผ่าตัดทำข้อใหม่แทน, การผ่าตัดแต่งข้อตะโพก [การแพทย์] |
Barr and Record Procedure | การผ่าตัดแก้ไขเท้าปุกวิธีหนึ่ง [การแพทย์] |
Breast, Reshaping of Ptosis of | การผ่าตัดแก้ไขเต้านมที่หย่อนยาน [การแพทย์] |
Bristow Procedure | การผ่าตัดแก้ไขข้อไหล่หลุดซ้ำโดยวิธีของบริสโตว์ [การแพทย์] |
adjust | (vt) ปรับเปลี่ยน, See also: เปลี่ยนแปลง, แก้ไข, ปรับปรุง |
alteration | (n) การเปลี่ยนแปลงแก้ไข, See also: การแก้ไข, การปรับเปลี่ยน, การดัดแปลง, Syn. modification, revision, remodeling |
amend | (vt) ทำให้ถูกต้อง, See also: แก้ไข, Syn. correct, mend, revise |
amendatory | (adj) ซึ่งแก้ไข, See also: ที่ทำให้ถูกต้อง, Syn. corrective |
amendment | (n) การแก้ไข, Syn. correction, revision |
amends | (n) การแก้ไข, See also: การปรับปรุง |
atone | (vi) ไถ่โทษ, See also: ชดเชย, แก้ไข, ใช้โทษ, ชดใช้ |
be beyond redemption | (idm) ยากเกินกว่าจะแก้ไข, See also: ยากเกินกว่าจะช่วยเหลือ, ยากเกินกว่าจะกลับคืน เหมือนเดิม, Syn. be past redemption |
be past praying for | (idm) ยากจะแก้ไข, See also: เกินกว่าจะช่วย |
be past redemption | (idm) ยากเกินกว่าจะแก้ไขหรือช่วยเหลือ, Syn. be beyond |
break of | (phrv) แก้ไข, See also: รักษา, เยียวยา |
bring something to the boil | (idm) ทำให้เป็นปัญหาเร่งด่วนที่ต้องแก้ไข, Syn. come to |
complicated | (adj) ยากที่จะเข้าใจ, See also: ยากที่จะแก้ไข, Syn. complex, involved |
copy-edit | (vt) แก้ไขต้นฉบับ, See also: ปรับปรุงต้นฉบับ, Syn. copyread, subedit |
copyread | (vt) แก้ไขต้นฉบับ, See also: ปรับปรุงต้นฉบับ, Syn. copy-edit, subedit |
correct | (vt) แก้ไขให้ถูกต้อง, See also: ทำให้ถูกต้อง, ตรวจแก้, ตรวจให้ถูกต้อง, Syn. right |
correct | (vt) ตำหนิ, See also: ตำหนิเพื่อแก้ไข, Syn. castigate, chastise |
correction | (n) การแก้ไข, See also: การตรวจแก้, Syn. revision, revising, improvement |
correctional | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับการแก้ไขให้ถูกต้อง |
corrigendum | (n) ข้อผิดพลาดที่ต้องแก้ไข, Syn. error, mistake |
cure | (n) การแก้ไขปัญหา |
cure | (vt) แก้ไขปัญหา |
clean up | (phrv) แก้ไขหรือขจัดสิ่งไม่ถูกต้อง |
come along | (phrv) ปรับปรุง, See also: แก้ไข, ทำให้ดีขึ้น, Syn. come on |
cross a bridge when one comes to it | (idm) จงแก้ไขเมื่อต้องเผชิญกับปัญหา |
fiddle with | (phrv) รื้อส่วนต่างๆ ของเครื่องจักรเพื่อแก้ไข, Syn. tinker with |
fit up | (phrv) ตระเตรียมให้พร้อมสำหรับ, See also: ซ่อมแซม, แก้ไขให้พร้อมสำหรับ |
deadlock | (n) ความล้มเหลวในการแก้ไขความขัดแย้ง |
disabled | (vt) ทำให้หายเข้าใจผิด, See also: ช่วยแก้ไขข้อผิดพลาด, Syn. undeceive, clarify |
discern | (vt) เข้าใจกระจ่าง [ แก้ไขโดยทีมงาน Longdo ], See also: รู้ไม่ชัดแจ้ง, เข้าใจผิด, Syn. descry, distinquish, see, Ant. misunderstand, miss the point |
discern | (vt) มองเห็นชัด, แยกแยะออก [ แก้ไขโดยทีมงาน Longdo ], See also: แยกแยะไม่ออก, Syn. perceive, recognize |
edit | (vt) แก้ไข, See also: ทำให้ถูกต้อง, Syn. correct, revise, rewrite |
editorial | (adj) เกี่ยวกับบรรณาธิการ, See also: เกี่ยวกับการแก้ไขข้อผิดพลาด |
emend | (vt) ปรับเปลี่ยนข้อเขียน, See also: ตรวจแก้ข้อเขียน, แก้ไขข้อเขียน, Syn. correct, edit, revise |
emendate | (vt) ปรับเปลี่ยนข้อเขียน, See also: ตรวจแก้ข้อเขียน, แก้ไขข้อเขียน, Syn. correct, edit, revise |
expiate | (vt) ยอมรับผิดและแก้ไขความผิดนั้น, Syn. atone for, make amends |
finesse | (n) ความสามารถในการแก้ไขสถานการณ์, See also: กลเม็ด, Syn. tact, skill, delicacy |
improve in | (phrv) ทำให้ดีขึ้น, See also: ปรับปรุง, แก้ไขให้ดีขึ้น |
have something up one's sleeve | (idm) มีแผนลับ, See also: มีหนทางแก้ไข |
make the best of | (idm) พยายามแก้ไขให้ดี, See also: พยายามทำให้ดี |
mend one's ways | (idm) แก้ไขพฤติกรรม, See also: ปรับปรุงตัว, ปรับปรุงความประพฤติ |
open Pandora's box | (idm) เผยปัญหาที่แก้ไขได้ยาก |
set the record straight | (idm) แก้ไขความเข้าใจผิด, See also: แจกแจ้งให้เข้าใจความเข้าใจผิด |
improvement | (n) การปรับปรุง, See also: การแก้ไข, การทำให้ดีขึ้น, Syn. amelioration, development, Ant. decay, deterioration |
incorrigible | (adj) ซึ่งไม่สามารถแก้ไขได้, See also: ซึ่งไม่สามารถปรับปรุงได้, Syn. unredeemable, Ant. repenting |
insoluble | (adj) แก้ไขไม่ได้, See also: อธิบายไม่ได้ |
insolvable | (adj) ที่อธิบายไม่ได้, See also: ที่แก้ไขไม่ได้, ที่แก้ไม่ตก |
irredeemable | (adj) ไม่สามารถแก้ไขปรับปรุงได้, Syn. irreparable, irremediable |
irreparable | (adj) ที่แก้ไขไม่ได้, Syn. irreversible, Ant. reparable |
irresoluble | (adj) ไม่สามารถแก้ไขได้ |
access key | กุญแจการเข้าถึงหมายถึง รหัส หรือคำหลักที่ใช้เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลที่มีเก็บไว้ได้ ข้อมูลบางอย่างต้องทำเป็นการเฉพาะ และจะยอมให้เรียกมาใช้ได้เฉพาะคนบางกลุ่ม จึงต้องมีกุญแจที่จะให้รู้กันเฉพาะคนในกลุ่ม ผู้ที่ไม่รู้กุญแจ ก็ไม่สามารถเรียกเอาข้อมูลออกมาดู หรือมาใช้หรือแก้ไขได้ |
adaptation | (แอดแดพเท' เชิน) n. การปรับตัว, การปรับให้เหมาะ, สิ่งที่ได้จากการปรับให้เหมาะ, ภาวะที่เหมาะสม, ฉบับแก้ไขปรับปรุง, สิ่งที่แก้ไขปรับปรุง, การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม, การปรับตัวของรูม่านตา, Syn. version, adjustment, Ant. rigid |
adjustment | (อะจัสทฺ' เมินทฺ) n. การปรับตัว, การจัด, การปรองดอง, การแก้ไข, ตัวปรับ |
adobe photoshop | โปรแกรมอโดบี โฟโทช็อป <คำแปล>Photoshopเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จโปรแกรมหนึ่งที่ช่วยในการแก้ไขปรับแต่งภาพ โดยเฉพาะภาพถ่าย ปัจจุบันนิยมใช้กันมาก มักใช้ในการจัดทำสิ่งพิมพ์คู่กับโปรแกรม อโดบี เพจเมกเกอร์ (Adobe PageMaker) บริษัทอโดบีเป็นบริษัทที่ผลิตซอฟต์แวร์ใหญ่ที่สุดบริษัทหนึ่ง โปรแกรมดัง ๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบันนอกจาก Photoshop, PageMaker แล้ว ยังมี Adobe Acrobat, Adobe Illustrator, Adobe Type Manager เป็นต้น) |
alias | (เอ' ลิแอส) 1. n., (pl. -ases) นามแฝง, สมญานาม. -adv. มีนามแฝงว่า, Syn. pseudonym 2. สมนาม คอมพิวเตอร์แมคอินทอชที่ใช้ System 7 มีคำสั่ง Make Alias ใต้เมนู File คำสั่งนี้ใช้สำหรับสร้างสัญรูป icon อีกอันหนึ่งของแฟ้มข้อมูลที่เลือกไว้ แฟ้มใหม่นี้จะมีคำ alias ต่อท้ายชื่อเดิม หากเมื่อใดมีการแก้ไขแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง โดยเรียกมาทำในจอภาพ แล้วสั่งบันทึกเก็บลงในจานบันทึก การแก้ไขนั้นก็จะมีผลต่อแฟ้มสมนามนั้นด้วย ทั้งนี้เพราะอันที่จริงแล้ว สัญรูปสมนามนั้นไม่ว่าจะมีสักกี่อัน จะโยงถึงแฟ้มข้อมูลอันเดียวกันทั้งสิ้น ดู duplicate เปรียบเทียบ |
alpha test | การทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะมีข้อความบ่งบอกไว้ว่า เป็น alpha version หมายความว่า รุ่นทดสอบรอบแรก ดู beta version ประกอบ |
alpha version | รุ่นทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีข้อความบ่งบอกไว้ว่าเป็นรุ่นทดสอบรอบแรก มีความหมายเหมือน alpha testดู beta version ประกอบ |
alter | (ออล' เทอะ) vt., vi. เปลี่ยน , แปลง, แก้ไข, ดัดแปลง, ผันแปร -alteration n. ทำหมัน |
amend | (อะเมนดฺ') vt., vi. แก้ไข, ปรับปรุง, ทำให้ถูกต้อง, แปรหรือแก้ญัตติ, คำแปรหรือคำแก้ญัตติ -amender n. -amendatory adj. |
amendment | (อะเมนดฺ' เมินทฺ) n. การแก้ไข, การปรับปรุง, การแก้หรือแปรญัตติ, คำแก้หรือคำแปรญัตติ, Syn. improvement |
amendment file | แฟ้มแก้ไข <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่บรรจุรายการเปลี่ยนแปลงหรือรายการแก้ไข เพื่อนำมาใช้ปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลัก (master file) ให้ทันสมัยมีความหมายเหมือน transaction file |
atone | (อะโทน') vt., vi. ชดเชย, ไถ่คืน, แก้ไข, ตกลง, ทำให้ปรองดองกัน. -atonable adj. -atoner n., Syn. expiate, repent |
attribute | (อะทริบ'บิวทฺ) vt. ให้เหตุผลว่า, ถือเอา, อ้างเหตุผล. -n. คุณลักษณะ. -attributer, attributor n. -attribution n., Syn. assign, consider, quality ลักษณะประจำหมายถึง คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ มีการเน้นความแตกต่างจากของอื่นในประเภทเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลในระบบดอส จะมีลักษณะประจำต่างกันเป็น 4 อย่าง คือ แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ archive แฟ้มที่อ่านได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ read only แฟ้มที่ไม่แสดงตัว hidden และแฟ้มระบบ system หรือถ้าต้องการหาคำใดคำหนึ่ง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำ นอกจากจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าสะกดอย่างไรแล้ว อาจบอกเพิ่มเติมว่า ...เป็นคำที่ใช้แบบอักษร Times New Roman ขนาด 14 จุด ข้อความที่บ่งบอกคุณสมบัติเพิ่มเติมไปนี้ก็เรียกว่า " attribute " ทั้งสิ้น |
auxiliary memory | หน่วยความจำช่วย <คำแปล>หมายถึงหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์ |
auxiliary storage | หน่วยเก็บช่วย <คำแปล>หมายถึงหน่วยความจำหรือหน่วยเก็บที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์มีความหมายเหมือน auxiliary memory |
bak | (แบ็ก) คำ ๆ นี้ใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลเพื่อบ่งบอกว่า เป็นแฟ้มข้อมูลสำรอง (backup file) เช่น autoexec.bak (แฟ้มข้อมูลเดิมชื่อ autoexec.bat) นี้ ในบางกรณี โปรแกรมจะสร้างนามสกุลให้แฟ้มข้อมูลเหล่านี้เองโดยไม่ต้องสั่ง โดยเฉพาะถ้ามีการเก็บแฟ้มข้อมูลที่นำมาแก้ไขแล้วซ้ำอีกครั้งหนึ่ง แฟ้มที่แก้ใหม่จะใช้ชื่อเดิม แต่แฟ้มเดิมจะกลายเป็นแฟ้มสำรอง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำบางโปรแกรม |
basic | (เบ'ซิค) 1. adj. เกี่ยวกับฐาน, เกี่ยวกับด่าง 2. เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่งใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษาเบสิกนี้เขียนง่าย ๆ เหมาะกับผู้เริ่มต้นเรียน คำว่า BASIC นั้นย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code แปลได้ว่า รหัสคำสั่งที่เป็นสัญลักษณ์เอนกประสงค์สำหรับผู้เริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ เมื่อเริ่มนำออกใช้ใหม่ ๆ ภาษานี้มีข้อจำกัดมาก ในปัจจุบันแม้จะมีการพัฒนาภาษานี้ไปไกลแล้ว แต่นักทำโปรแกรมทั่วไปมักจะดูถูกว่า เป็นภาษาสำหรับผู้เริ่มต้น และไม่นิยมนำมาใช้ในการเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ข้อดีของภาษานี้ก็คือ จะทราบที่ผิดและแก้ไขได้ทันที |
brinkmanship | n. เทคนิคหรือนโยบายการแก้ไขสถานการณ์ที่เป็นวิกฤติการณ์จนเกือบจะหายนะ |
brinksmanship | n. เทคนิคหรือนโยบายการแก้ไขสถานการณ์ที่เป็นวิกฤติการณ์จนเกือบจะหายนะ |
bug | (บัก) { bugged, bugging, bugs } n. แมลง, เชื้อจุลินทรีย์, ความบกพร่อง, แฟน, คนคลั่ง, เครื่องดักฟัง, ความคลั่ง, เหยื่อตกปลาที่คล้ายแมลง vt. รบกวน, ติดตั้งเครื่องดักฟังในที่ลับ, Syn. fault, defect จุดบกพร่องหมายถึง ปัญหาที่เกิดขึ้นกับโปรแกรมอันเนื่องมาจากคำสั่งในโปรแกรมนั้นเอง ซึ่งทำให้การทำงานของโปรแกรมไม่ถูกต้อง มีข้อผิดพลาด หรือไม่ราบรื่นเท่าที่ควร นอกจากปัญหาเกี่ยวกับโปรแกรมแล้ว อาจเป็นปัญหาเกี่ยวกับตัวเครื่องก็ได้ คำนี้มาจากคำ bug ที่แปลว่า ตัวด้วง ตัวแมลง ที่ชอบทำให้คอมพิวเตอร์สมัยก่อนเสีย เกิดการลัดวงจรขึ้น การแก้ไขจุดบกพร่องของโปรแกรม จึงใช้คำว่า "debug" |
c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม |
cad | 1. abbr. coronary artery disease 2. (แคด) ย่อมาจาก computer aided design แปลตรง ๆ ได้ว่า การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วย หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์ดู CAM ประกอบ เพราะมักใช้คู่กันเป็น CAD/CAM |
cancel | (แคน'เซิล) { cancelled, cancelling, cancels } vt., n. (การ) ยกเลิก, ขีดฆ่า, ทำให้เป็นโมฆะ, หักกลบลบหนี้. vi.ชดเชย., See also: canceler n. ดูcancel canceller n. ดูcancel หมายถึง การยกเลิกคำสั่งที่สั่งไปแล้ว อาจจะเนื่องมาจากได้สั่งการผิดลงไปด้วยความพลั้งเผลอ หรือมีการเปลี่ยนใจ ในระบบวินโดว์ คำสั่งบางคำสั่งจะมีการถามเพื่อให้มีการย้ำเตือน corfir mation เช่นเมื่อสั่งลบ ย้าย ฯ ในกรณีเช่นนี้ จะมีปุ่มคำสั่งนี้ไว้ให้เลือกทุกครั้ง มีคู่กับปุ่ม OK เพื่อให้มีโอกาสแก้ไขหรือเปลี่ยนใจได้ ถ้าไม่ต้องการยกเลิก ให้กดที่ปุ่ม OK |
castrate | (แคส'เทรท) vt. ตอน, ตัดเอาลูกอันฑะทั้งสองออก, ตัดเอารังไข่ทั้งสองออก, ขจัด, ตัดตอนแก้ไข, See also: castration n. ดูcastrate castrator n. ดูcastrate, Syn. geld, unsex |
censor | (เซน'เซอะ) n. เจ้าหน้าที่จับผิด, เจ้าหน้าที่ดูแลมหาวิทยาลัย, พลังข่มจิตภายใน vt. ตรวจสอบ, เซนเซอร์, ตัดตอนแก้ไข, See also: censorial adj. -Conf. consure |
client application | โปรแกรมเฉพาะเครื่อง1. ในเรื่องของข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ (LAN) คำนี้หมายถึง โปรแกรมที่เก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์บางเครื่อง โดยปกติ ในระบบเครือข่ายนั้น จะต้องมีคอมพิวเตอร์กลางเครื่องหนึ่ง ซึ่งใช้เป็นที่เก็บโปรแกรมต่าง ๆ ไว้ให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายสามารถเรียกไปใช้ได้ เรียกว่า เครื่องบริการแฟ้ม (file server) (คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายไม่จำเป็นต้องมีโปรแกรมเหล่านั้น) แต่ถ้าเครื่องบริการแฟ้มนั้นเสีย คอมพิวเตอร์อื่น ๆ ในเครือข่ายเดียวกันนั้นก็จะทำงานไม่ได้เลย ฉะนั้น เราจึงมักจะให้คอมพิวเตอร์บางเครื่องในเครือข่ายมีโปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องของตนเองด้วย อย่างไรก็ตาม ในกรณีนี้ คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นที่แม้จะอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน จะไม่สามารถเรียกโปรแกรมจากคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ไปใช้ได้ เราเรียกโปรแกรมที่เก็บอยู่เฉพาะในเครื่องนี้ว่า " client application "2. โปรแกรมบนระบบวินโดว์ที่สามารถโยงถึงที่มาของภาพหรือข้อความที่เป็นต้นแบบได้ หากเมื่อใดมีการแก้ไขในแฟ้มต้นแบบ โปรแกรมก็จะจัดการแก้ไขในแฟ้มใหม่ ให้ด้วย ดู OLE เปรียบเทียบ |
computer aided design | การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAD (อ่านว่า แคด) หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก ๆ มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์ |
computer crime | อาชญากรรมคอมพิวเตอร์หมายถึง อาชญากรรมหรือความผิดที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น การแก้ไขตัวเลขในบัญชีเงินฝากของลูกค้า จนทำให้สามารถขโมย หรือยักย้ายถ่ายเทเงินออกไปได้ หรือการแอบเข้าไปดูและแก้ไขคะแนนสอบ เป็นต้น |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
computerize | (-พิว'ทะไรซ) vt. คำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์, See also: computerization n. ทำให้เป็นระบบคอมพิวเตอร์หมายถึง งานต่าง ๆ ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าไปช่วย แทนที่จะทำด้วยมือ Manual ซึ่งจะให้ผลที่รวดเร็ว แน่นอน และมีความผิดพลาดน้อย ตัวอย่างเช่นการพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด ย่อมจะสู้การพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ไม่ได้ เพราะเร็วกว่า แก้ไขง่ายกว่า เก็บบันทึกไว้ใช้ใหม่ก็ได้ เป็นต้น |
correct | (คะเรคทฺ') { corrected, correcting, corrects } vt. ทำให้ถูกต้อง, แก้ไข, แก้, ตำหน' (เพื่อแก้ไข) , ลงโทษ (เพื่อแก้ไข) , ตรวจ, แก้, ต่อต้าน adj. ถูกต้อง, ไร้ความผิด, สมควร, เหมาะ, สอดคล้อง, See also: correctable adj. correctible adj. correctness n. ดูcorrect |
correction | (คะเรค'เชิน) n. การแก้ไข, การตรวจแก้, สิ่งที่ได้แก้ไข, การลงโทษ, การตำหนิ, Syn. rectification |
corrective | (คะเรค'ทิฟว) adj. เป็นการแก้ไข, เป็นการรักษา n. วิธีการแก้ไขให้ถูกต้อง, สิ่งที่ใช้แก้ไขให้ถูกต้อง, Syn. improving |
corrigendum | (คอ'ริเจนเดิม) n. ความผิดที่ควรแก้ไข (โดยเฉพาะเรื่องการพิมพ์ผิด), See also: corrigenda n. ใบแก้คำผิด -pl. corrigenda |
corrigible | (คอ'ริจจิเบิล) adj. ซึ่งแก้ไขได้, ซึ่งปรับปรุงได้, See also: corrigibility n. ดูcorrigible, Syn. reparable |
dde | (ดีดีอี) ย่อมาจาก dynamic data exchange คำนี้ใช้ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์และโอเอส/ทู หมายถึงการทำให้สองโปรแกรมบนวินโดว์ สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เป็นต้นว่า การนำตัวเลขที่อยู่ในโปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) มาใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ตัวเลขเหล่านั้นใหม่ นอกจากนั้น หากมีการแก้ไขตัวเลขในตารางจัดการ ตัวเลขในโปรแกรมประมวลผลคำ ก็จะได้รับการแก้ไขไปด้วยโดยอัตโนมัติ |
ddt | (ดีดีที) ในความหมายทั่วไป คำนี้หมายถึง "ยาฆ่าแมลง" นำมาใช้ในวงการคอมพิวเตอร์ เป็นคำแสลงหมายถึง การแก้ไขข้อบกพร่องหรือข้อผิดพลาดในโปรแกรมในกรณีที่มีมาก ๆ (ทั้งนี้เพราะในการเขียนโปรแกรมนั้น เราเรียกจุดบกพร่องในโปรแกรมว่า แมลง หรือ bug โดยปกติแล้ว การแก้ไขธรรมดา ๆ จะใช้คำว่า debug) |
debugger | โปรแกรมตรวจสอบจุดบกพร่องหมายถึง โปรแกรมพิเศษที่เขียนขึ้นมาเพื่อใช้แก้ไขโปรแกรมโดยเฉพาะ |
disabuse | (ดิสอะบวิซ') vt. แก้ไขให้ถูกต้อง, แก้ไข, ขจัดข้อผิดพลาดออก, -disabusal n. |
discipline | (ดิส'ซะพลิน) n. วินัย, ระเบียบวินัย, การฝึกฝน, การลงโทษ, สาขาวิชา, ศิลปปฎิบัติ, วินัยทางศาสนา vt. ฝึกฝน, ทำให้มีวินัย, ลงโทษ, แก้ไข., See also: discipliner n., Syn. order |
dynamic data exchange | การสับเปลี่ยนข้อมูลแบบพลวัตใช้ตัวย่อว่า DDE (อ่านว่า ดีดีอี) คำนี้ใช้ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์และโอเอส/ทู หมายถึงการทำให้สองโปรแกรมบนวินโดว์ สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เป็นต้นว่า การนำตัวเลขที่อยู่ในโปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) มาใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ตัวเลขเหล่านั้นใหม่ นอกจากนั้น หากมีการแก้ไขตัวเลขในตารางจัดการ ตัวเลขในโปรแกรมประมวลผลคำ ก็จะได้รับการแก้ไขไปด้วยโดยอัตโนมัติ |
earom | (อีรอม) ย่อมาจาก electrically alterable read - only memory แปลว่า หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดแก้ไขได้) เป็นรอม (ROM) ชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถนำมาลบและบันทึกใหม่ได้โดยไม่ต้องย้ายออกมาจากแผงวงจร การบรรจุโปรแกรมใหม่ทำได้โดยใช้กระแสไฟฟ้า และทำได้สะดวกกว่า อีพรอม (EPROM) มากดู ROM และ EPROM ประกอบ |
edit | (เอด, 'ดิท) { edited, editing, edits } vt. เรียบเรียง, แก้ไข, ตัดตอน, ตัดย่อ, เป็นบรรณาธิการ, ลำดับเรื่อง, พิมพ์โฆษณา, Syn. correct, revise |
edit mode | ภาวะบรรณาธิกรหมายถึง การที่คอมพิวเตอร์อยู่ในสภาวะที่เตรียมพร้อมจะรับการแก้ไข เราสามารถสั่งแก้ไขข้อความบนจอภาพได้ โดยผ่านทางแป้นพิมพ์ |
edit progam | ชุดคำสั่งบรรณาธิกรหมายถึงโปรแกรม หรือชุดคำสั่งที่เตรียมไว้ในซอฟต์แวร์ระบบ มีหน้าที่ช่วยตรวจแก้ไขชุดคำสั่งต่าง ๆ มีความหมายเหมือน editor |
eeprom | (อีอีพร็อม) ย่อมาจาก electronically erasable programmable read only memory (แปลว่า หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมและลบได้ด้วยกระแสไฟฟ้า) เป็นชิป (chip) ชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติตามชื่อ ใช้เป็นหน่วยความจำ หากต้องการแก้ไข จะต้องใช้สัญญาณไฟฟ้าลบ แล้วบันทึกของใหม่ลงไป หน่วยความจำชนิดนี้จะเก็บข้อมูลไว้ได้แม้ว่าจะไม่ใช้ไฟฟ้า |
electrically alterable re | หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดแก้ไขได้ใช้ตัวย่อว่า EAROM (อ่านว่าอีรอม) เป็นรอม (ROM) ชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถนำมาลบและบันทึกใหม่ได้โดยไม่ต้องย้ายออกมาจากแผงวงจร การบรรจุโปรแกรมใหม่ทำได้โดยใช้กระแสไฟฟ้า และทำได้สะดวกกว่าอีพรอม (EPROM) มากดู ROM และ EPROM ประกอบ |
electronically erasable p | electronically erasable programmable read only memory หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมและลบได้ด้วยกระแสไฟฟ้าใช้ตัวย่อว่า EEPROM (อ่านว่าอีอีพร็อม หรือบางทีอ่านว่า อีพร็อมก็ได้) เป็นชิป (chip) ชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติตามชื่อ ใช้เป็นหน่วยความจำ หากต้องการแก้ไข จะต้องใช้สัญญาณไฟฟ้าลบ แล้วบันทึกของใหม่ลงไป หน่วยความจำชนิดนี้จะเก็บข้อมูลไว้ได้แม้ว่าจะไม่ใช้ไฟฟ้า |
emend | (อิเมนดฺ') vt. ตรวจทาน, ปรู๊ฟ, แก้ไข, |
emendate | (อิเมน'เดท) vt. ตรวจทาน, แก้ไข, ปรุ๊ฟ. |
adjust | (vt) ปรับ, ปรับปรุง, แก้ไข |
adjustable | (adj) ซึ่งปรับได้, ซึ่งแก้ไขได้ |
adjustment | (n) การปรับ, การปรับปรุง, การแก้ไข |
alter | (vi) เปลี่ยนแปลง, ดัดแปลง, แก้ไข |
alteration | (n) การเปลี่ยนแปลง, การดัดแปลง, การแก้ไข |
amend | (vt) แก้ไข, แก้ตัว, ทำให้ถูกต้อง, แปรญัตติ |
amendment | (n) การแก้ไข, การแปรญัตติ |
aspirin | (n) ยาแก้ปวดศีรษะ, ยาแก้ไข้, ยาลดไข้ |
atone | (vt) แก้ตัว, แก้ไข, ไถ่คืน, ชดเชย |
atonement | (n) การแก้ตัว, การแก้ไข, การไถ่คืน, การชดเชย |
BLUE-blue-pencil | (vt) ตรวจปรู๊ฟ, แก้ไข |
correct | (vt) แก้ไข, ตรวจ, ทำให้ถูกต้อง |
correction | (n) การตรวจ, การแก้ไข, การทำให้ถูกต้อง |
corrective | (adj) ซึ่งทำให้ถูก, เป็นการแก้ไข |
corrective | (n) สิ่งที่ดัดแปลงแก้ไข, วิธีแก้ |
edit | (vt) จัดการพิมพ์, เรียบเรียง, แก้ไข, ลำดับเรื่อง, ตัดต่อ |
emend | (vt) แก้ไข, ทำให้ดีขึ้น, ตรวจทาน, ตรวจปรู๊ฟ |
extricate | (vt) คลี่คลาย, แก้ไขได้, แก้ออก, ทำให้หลุด |
improve | (vt) ปรับปรุง, พัฒนา, บำรุง, แก้ไข |
improvement | (n) การปรับปรุง, การพัฒนา, การส่งเสริม, การแก้ไข |
incorrigible | (adj) แก้ไม่ไหว, แก้ไขไม่ได้, เปลี่ยนแปลงไม่ได้ |
incurable | (adj) แก้ไม่ไหว, รักษาไม่หาย, แก้ไขไม่ได้, ไม่มีทางแก้ |
interpolate | (vt) เพิ่มเติม, สอดแทรก, แก้ไข |
interpolation | (n) การแก้ไข, สิ่งที่แก้ไข, การสอดแทรก |
irreparable | (adj) ไม่สามารถจะคืนดีได้, ไม่สามารถแก้ไขได้, ซ่อมแซมไม่ได้ |
irretrievable | (adj) เอาคืนไม่ได้, แก้ไขไม่ได้ |
mend | (vt) ซ่อมแซม, ปะ, แก้ไข, ทำให้ดีขึ้น |
mender | (n) ผู้ซ่อมแซม, ช่าง, ผู้แก้ไข |
modification | (n) การเปลี่ยนแปลง, การแก้ไข, การดัดแปลง, การลดหย่อน |
modify | (vt) เปลี่ยนแปลง, แก้ไข, ดัดแปลง, ลดหย่อน |
patch | (vt) ปะ, แก้ไข, เสริม, แต่ง |
qualify | (vt) ปรับตัว, แก้ไข, ทำให้เหมาะสม, ทำให้มีคุณสมบัติ |
readjust | (vt) แก้ไขใหม่, จัดอีกครั้ง, ปรับใหม่ |
redress | (n) ความช่วยเหลือ, การแก้ไข, การชดใช้ |
redress | (vt) แก้ไข, จัดใหม่, ชดใช้, ปรับปรุง |
reform | (vt) แก้ไข, ปฏิรูป, เปลี่ยนรูป, กลับตัว, ดัดแปลง |
reformation | (n) การแก้ไข, การปฏิรูป, การเปลี่ยนรูป, การดัดแปลง |
reformer | (n) ผู้ปฏิรูป, ผู้แก้ไขสถานการณ์, ผู้ปรับปรุง |
remedial | (adj) แก้ไข, เยียวยา, เป็นการรักษา |
repair | (vt) แก้ไข, ซ่อมแซม, ชดใช้, ปฏิสังขรณ์, ฟื้นฟู, รักษา |
reparable | (adj) แก้ไขได้, ซ่อมแซมได้, ปฏิสังขรณ์ได้ |
revamp | (vt) ซ่อมแซม, ปะ, ปรับปรุง, แก้ไข |
revise | (vt) แก้ไขใหม่, ทบทวน, ตรวจแก้ใหม่, ปรับปรุงใหม่ |
revision | (n) การแก้ไขใหม่, การทบทวน, การปรับปรุงแก้ไข, ฉบับปรับปรุงใหม่ |
right | (vt) แก้ไข, ทำให้ถูก, ทำให้เรียบร้อย, ทำให้เหมาะสม |
solve | (vt) แก้ไข, แก้ปัญหา, หาคำตอบ |
touch | (n) การสัมผัส, การแก้ไข, การถู, การตกแต่ง, การแตะ |
touch | (vt) สัมผัส, แก้ไข, ทำอันตราย, แตะ, ถู, ตกแต่ง |