ถอบแถบ | น. ชื่อไม้เถาหลายชนิดในสกุล Connarus วงศ์ Connaraceae ฝักพองกลม เมล็ดในแบน ๆ ใช้ทำยาได้. |
แถบ | ว. สิ่งที่แบนยาว เช่น แถบทอง ผ้าแถบ |
แถบ | ซีก, ด้าน, เช่น ร่างกายตายไปแถบหนึ่ง ไฟไหม้ไปแถบหนึ่ง |
แถบ | ถิ่น, แถว, เช่น อยู่แถบนี้ |
แถบ | เรียกเงินรูปีที่เคยใช้ในพม่า ว่า เงินแถบ. |
แถบบันทึกภาพ | น. แถบเคลือบสารแม่เหล็ก ใช้บันทึกสัญญาณภาพและมักบันทึกสัญญาณเสียงด้วย. |
แถบบันทึกเสียง | น. แถบเคลือบสารแม่เหล็ก ใช้บันทึกสัญญาณเสียง. |
แถบเหล็กพืด | น. เหล็กเหนียวชนิดหนึ่งเป็นแผ่นยาวใช้ทำปลอกถังไม้เป็นต้น. |
ผ้าแถบ | น. ผ้าผืนยาว ๆ แคบ ๆ ใช้ห่มคาดหน้าอกต่างเสื้อ. |
แพรแถบ | น. แพรที่เป็นแถบสีต่าง ๆ เป็นเครื่องหมายอิสริยาภรณ์ ใช้ประดับที่หน้าอก. |
กบบัว | น. ชื่อกบขนาดเล็กชนิด Rana erythraea (Schlegel) ในวงศ์ Ranidae ตัวสีเขียวมีแถบสีขาวพาดตามยาวลำตัว อาศัยอยู่ตามกอบัว จึงมีผู้เรียกว่า เขียดบัว และร้องเสียง “จิ๊ก ๆ ” บางครั้งจึงเรียกว่า เขียดจิก. |
กระซู่ | น. ชื่อแรดชนิด Dicerorhinus sumatrensis (Fischer) ในวงศ์ Rhinocerotidae เป็นแรดขนาดเล็กที่สุด มี ๒ นอ ขนดกกว่าแรดชนิดอื่น อาศัยอยู่ในแถบเอเชีย เป็นสัตว์ป่าสงวนของไทย. |
กระดี่ ๑ | น. ชื่อปลานํ้าจืดในสกุล Trichogaster วงศ์ Belontiidae เช่นเดียวกับปลาสลิดแต่มีขนาดเล็กกว่า ครีบท้องยาวยื่นเป็นเส้น มี ๓ ชนิด คือ กระดี่หม้อ [ T. trichopterus (Pallas) ] ข้างตัวมีลายหลายเส้นพาดขวาง มีจุดดำที่กลางลำตัวและคอดหางแห่งละ ๑ จุด ขนาดยาวได้ถึง ๑๕ เซนติเมตร, สลาก หรือ สลาง ก็เรียก, กระดี่นาง [ T. microlepis (Günther) ] สีขาวนวล และ กระดี่นางฟ้าหรือกระดี่มุก [ T. leeri (Bleeker) ] พบเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม, บางท้องถิ่นในแถบอีสานเรียก กระเดิด. |
กระเต็น | น. ชื่อนกขนาดเล็กถึงขนาดกลางหลายชนิด ในวงศ์ Alcedinidae หัวโต คอสั้น ปากแหลม ยาว ตรง แบนข้าง และแข็งแรง หากินโดยวิธีพุ่งตัวลงจับเหยื่อเช่นปลาในนํ้าหรือแมลงตามท้องทุ่ง พวกที่มีขนาดเล็กส่วนใหญ่มีสีสวยสะดุดตา เช่น กระเต็นน้อยแถบอกดำ ( Alcedo euryzona Temminck) กระเต็นน้อยสามนิ้ว [ Ceyx erithacus (Linn.) ] พวกที่มีขนาดกลาง เช่น กระเต็นลาย [ Lacedo pulchella (Horsfield) ] กระเต็นอกขาว [ Halcyon smyrnensis (Linn.) ] กระเต็นสร้อยคอสีน้ำตาล [ Actenoides concretus (Temminck) ] และพวกที่มีขนาดใหญ่ เช่น กระเต็นขาวดำใหญ่ [ Megaceryle lugubris (Temminck) ] กระเต็นปักหลักหรือปักหลัก [ Ceryle rudis (Linn.) ]. |
กระถิก, กระถึก | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในวงศ์ Sciuridae เป็นกระรอกขนาดเล็ก ขนสีนํ้าตาล มีแถบสีน้ำตาลเข้ม ๓ แถบพาดตามยาวลำตัว สลับกับแถบสีน้ำตาลจาง ๆ ๔ แถบ ตั้งแต่สันหลังลงไปถึงข้างลำตัว อาศัยอยู่ตามต้นไม้สูง ๆ กินแมลงและผลไม้ ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ กระถิกขนปลายหูยาว [ Tamiops rodolphe i (Milne-Edwards) ] และกระถิกขนปลายหูสั้น [ T. mxcclellandi (Horsfield) ], กระเล็น ก็เรียก. |
กระทู้ ๓ | น. ชื่อหนอนผีเสื้อกลางคืนหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Noctuidae ลำตัวรูปทรงกระบอก ยาว ๓-๔ เซนติเมตร ผิวเป็นมัน มีขนตามลำตัวน้อย ส่วนใหญ่สีน้ำตาลคลํ้า ทางด้านท้องสีอ่อนกว่า มักมีแถบหรือเส้นสีต่าง ๆ เช่น สีส้มอมนํ้าตาล เหลืองอมขาว พาดตามยาวที่สันหลังและข้างลำตัว มีขาจริง ๓ คู่ ขาเทียม ๕ คู่ กินพืช โดยมักกัดต้นพืชให้ขาดออกจากกัน ทำให้เหลือแต่ตอโผล่เหนือพื้นดิน มองคล้ายกระทู้หรือซอไม้ไผ่ที่ปักเป็นหลัก ชนิดที่รู้จักกันทั่วไป เช่น หนอนกระทู้ควายพระอินทร์หรือหนอนกระทู้คอรวง [ Mythimna separate (Walker) ] ทำลายต้นข้าว, หนอนกระทู้ผัก [ Spodoptera litura (fabricius) ] ที่กัดกินพืชผัก. |
กระสง | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Channa lucius (Cuvier) ในวงศ์ Channidae รูปร่างคล้ายปลาช่อนซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่หัวแหลมกว่าและแอ่นงอนขึ้นเล็กน้อย มีลายพาดขวางลำตัวข้างละ ๗-๑๒ แถบ ทุกครีบมีจุดประหรือริ้วสีดำ ขนาดยาวได้ถึง ๔๐ เซนติเมตร. |
กระสูบ | น. ชื่อปลานํ้าจืด ๒ ชนิด ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างคล้ายปลาตะเพียน แต่ลำตัวเพรียวกว่า ชนิดแรกคือ กระสูบขาว [ Hampala macrolepidota (van Hasselt) ] มักมีลายดำพาดขวางที่บริเวณลำตัวใต้ครีบหลัง พื้นหางสีแดง ขอบบนและล่างสีดำ ยาวได้ถึง ๗๐ เซนติเมตร อีกชนิดหนึ่งคือ กระสูบจุด ( H. disparSmith) ลำตัวมีจุดดำอยู่ตอนกลาง ปลายครีบหางมนกว่าและไม่มีแถบสีดำ ขนาดยาวได้ถึง ๒๐ เซนติเมตร, สูด หรือ สูบ ก็เรียก. |
กระอาน | น. ชื่อเต่านํ้ากร่อยขนาดใหญ่ชนิด Batagur baska (Gray) ในวงศ์ Emydidae จมูกแหลมงอนคล้ายตะพาบ เมื่อยังเล็กกระดองค่อนข้างแบน เมื่อโตขึ้นกระดองโค้งรี เพศเมียหัวและกระดองสีน้ำตาล เพศผู้หัวและกระดองสีดำตาสีขาว ตีนมีพังผืดเต็ม สามารถปรับตัวอยู่ในนํ้าจืดได้ พบในบริเวณที่มีน้ำไหลทางภาคใต้โดยเฉพาะแถบจังหวัดสตูล, กะอาน ก็เรียก. |
กริม | (กฺริม) น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดเล็กในสกุล Trichopsis วงศ์ Anabantidae หรือ Belontiidae พบทั่วไป รูปร่างคล้ายปลากัดซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่หัวแหลมกว่าและสีไม่สดสวย มักมีแถบสีเข้มพาดตลอดข้างตัว ๒-๓ แถบ ขนาดยาวได้ถึง ๗ เซนติเมตร ที่พบมากได้แก่ กริมข้างลาย [ T. vittatus (Cavier) ], กัดป่า ก็เรียก. |
กล้วยหมูสัง | น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Uvaria grandiflora Roxb. ex Hornem. ในวงศ์ Annonaceae มีแถบปักษ์ใต้ ดอกสีแดงเลือดนก, ย่านนมควาย ก็เรียก. |
กวางผา | (กฺวาง-) น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Naemorhedus goral (Hardwicke) ในวงศ์ Bovidae ลักษณะคล้ายแพะและเลียงผา แต่มีขนาดเล็กกว่า เขาตัวผู้ยาวกว่าตัวเมีย ขนสีเทาหรือน้ำตาลปนเทา มีแถบขนสีดำตลอดแนวสันหลัง อาศัยอยู่บนภูเขาสูงชัน กินพืช เป็นสัตว์ป่าสงวนของไทย. |
ก้อ ๒ | น. ชนชาวเขาพวกหนึ่ง ในตระกูลทิเบต–พม่า มีอยู่ทางแถบเหนือของประเทศไทย คล้ายพวกมูเซอ, อีก้อ ก็เรียก. |
กะตัก | น. ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กทุกชนิดในสกุล Encrasicholina และ Stolephorus วงศ์ Engraulidae รูปร่างยาว กลม หรือแบนข้างเล็กน้อยแล้วแต่ชนิด ปากกว้าง ที่สันท้องระหว่างครีบท้องและครีบก้นมีหนามแหลมขนาดเล็กมาก ๒-๗ อัน ข้างลำตัวมีสีเด่นเป็นเพียงแถบสีเงินพาดตลอดตามยาว มักอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ใกล้ฝั่ง อาจคละกันหลายชนิด, หัวอ่อน ชินชัง ไส้ตัน เส้นขนมจีน หัวไม้ขีด มะลิ เก๋ย เรียกปะปนกันระหว่างขนาด ชนิด หรือต่างกันตามท้องถิ่นที่จับ ขนาดยาวได้ถึง ๑๔ เซนติเมตร. |
กะราง, กะลาง | น. ชื่อนกขนาดกลางหลายชนิด ใน ๒ วงศ์ ลำตัวอ้วนป้อม หากินเป็นฝูงตามพื้นดิน อาจหากินร่วมกับนกชนิดอื่น ๆ พวกที่อยู่ในวงศ์ Sylviidae มีปากหนาสั้นสีดำปลายแหลม เช่น กะรางหัวหงอก [ Garrulax leucolophus (Hardwicke) ] กะรางคอดำ [ G. chinensis (Scopoli) ] กะรางสร้อยคอเล็ก [ G. monileqer (Hodgson) ] พวกที่อยู่ในวงศ์ Upupidae ได้แก่ กะรางหัวขวาน ( Upupa epops Linn.) ปากยาวแหลมโค้งสีดำ หงอนขนสีส้มขอบดำ ลักษณะหงอนขนเหมือนหมวกของอินเดียนแดง ขนตามลำตัวสีนํ้าตาลอมเหลือง มีแถบดำขาวสลับกัน, ชนิดนี้ การางหัวขวาน หรือ หงอนชบา ก็เรียก. |
กาบบัว | น. ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด Mycteria leucocephala (Pennant) ในวงศ์ Ciconiidae คอและขายาว ปากยาวสีเหลือง หัว คอ และลำตัวสีขาว มีแถบดำคาดขวางอก ขนคลุมขนปีกตอนปลายสีชมพู อาศัยอยู่ตามบึงและหนองนํ้า กินปลาและสัตว์น้ำ. |
กาแฟ ๒ | น. ชื่อไม้พุ่มหลายชนิดในสกุล Coffea วงศ์ Rubiaceae เช่น ชนิด C. arabica L., C. canephora Pierre ex A. Froehner และ C. libericaBull. ex Hiern ชนิดหลังนี้ กาแฟใบใหญ่ ก็เรียก, กาแฟเป็นพืชแถบทวีปแอฟริกา ปลูกเป็นพืชเศรษฐกิจ เมล็ดแก่คั่วแล้วบด ใช้ชงเป็นเครื่องดื่ม ในเมล็ดกาแฟมีสารเคมีชนิดหนึ่ง เรียกว่า กาเฟอีน. |
ก้ามปูหลุด | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Tradescantia zebrina Hort ex Bosse ในวงศ์ Commelinaceae ลำต้นเรียว และเป็นปล้อง ๆ เลื้อยไปตามดิน ใบสีเขียวหม่น ใบด้านบนมีแถบสีเทาคาดตามยาว ด้านล่างสีม่วงแดง ดอกสีชมพู. |
การ์ตูน ๒ | น. ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กทุกชนิดในสกุล Amphiprion วงศ์ Pomacentridae ลำตัวสั้นและแบนข้าง สีเหลือง แสด หรือแดง บางชนิดมีส่วนบนรวมทั้งครีบหลังดำคลํ้า มักมีแถบสีขาวเด่นพาดขวางบนหัวและลำตัว ๑-๒ แนว แล้วแต่ชนิดหรือขนาดบ้างมีสีส้ม พบอาศัยตามแนวปะการัง โดยเฉพาะอยู่กับดอกไม้ทะเลซึ่งเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังประเภทหนึ่งในลักษณะพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ขนาดยาวได้ถึง ๑๖ เซนติเมตร. |
กุ๊น | ก. ขลิบเย็บหุ้มริมผ้าหรือของอื่น ๆ ใช้แถบผ้าย้วยหรือเฉลียงเย็บหุ้ม ๒ ข้างเม้มเข้าเป็นตะเข็บกลมบ้างแบนบ้าง มักใช้ที่คอเสื้อหรือชายเสื้อเป็นต้น. |
กุย ๑ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Saiga tatarica (Linn.) ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้อง หัวใหญ่ ตัวอ้วน มีเขาเฉพาะตัวผู้ รูปร่างคล้ายพิณฝรั่ง สีขาวนวลโปร่งแสง มีวงเป็นข้อนูนต่อเนื่องกันจากโคนถึงปลาย จมูกลักษณะคล้ายกระเปาะ พองมีสันตามยาว หางสั้นมาก มีถิ่นกำเนิดในแถบไซบีเรียตอนใต้ มองโกเลียตะวันตก และจีนตะวันตกเฉียงเหนือ ไม่พบในประเทศไทย เขามีราคาแพง ใช้ทำยาได้. |
กุลาดำ | น. ชื่อกุ้งทะเลชนิด Penaeus monodon Fabricius ในวงศ์ Penaeidae ขนาดยาวได้ถึง ๓๐ เซนติเมตร ตัวแบนข้าง สีเขียวอมน้ำตาล มีแถบสีดำและสีจางพาดขวางเป็นลายตลอดลำตัว. |
กุแหละ | (-แหฺละ) น. ชื่อเรือขุดชนิดหนึ่ง เสริมข้างกระดาน รูปร่างเพรียว หัวและท้ายเรือแหลมสูง มี ๒ แจว ใช้ตามชายฝั่งทะเลหรือแถบปากนํ้า สำหรับบรรทุกหอย ปู ปลา เป็นต้น. |
ข่าง ๒ | น. ไม้ชนิดหนึ่ง อยู่ทางแถบทะเล เปลือกเรียบ ๆ ใบคล้ายมะขวิด ไม้ใช้ทำฟืน. |
ข้างเงิน | น. ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กทุกชนิดในสกุล Allanetta และ Stenatherina วงศ์ Atherinidae ลำตัวค่อนข้างกลมยาว หัวโต เกล็ดใหญ่และแข็ง ข้างลำตัวมีสีเด่นเป็นเพียงแถบสีเงินเหลือบนํ้าเงินพาดตลอดตามยาว อยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ใกล้ผิวนํ้าชายฝั่ง ขนาดยาวได้ถึง ๑๒ เซนติเมตร, หัวแข็ง หรือ หัวตะกั่ว ก็เรียก. |
ข้าหลวง ๓ | น. ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กชนิด Scolopsis ciliatus (Lacepéde) ในวงศ์ Nemipteridae ลำตัวป้อม แบนข้างปานกลาง พื้นลำตัวสีเขียวหม่น มีแถบสีขาวเด่นพาดตามยาวใกล้แนวสันหลังข้างละเส้น ระหว่างตาและแผ่นกระดูกใต้ตามีหนามแหลม ๑ อัน ชี้ไปทางด้านหน้า ขอบด้านนอกของขากรรไกรบนจักเป็นฟันเลื่อย พบอาศัยอยู่ตามแนวหินปะการัง ขนาดยาวได้ถึง ๑๓ เซนติเมตร. |
เขียวพระอินทร์ ๑ | น. ชื่อปลาทะเลชนิด Thalassoma lunare (Linn.) ในวงศ์ Labridae ลำตัวยาวรี แบนข้าง สีเขียว และมีริ้วสีนํ้าเงินพาดขวางตลอดตัว ขนาดยาวได้ถึง ๒๐ เซนติเมตร บริเวณหัวมีแถบ ลวดลายสีม่วงแดง ครีบหางใหญ่สีเหลือง ปลายขอบบนและล่างสีแดง พบอาศัยอยู่ตามแนวหินปะการัง เมื่อขนาดยังเล็กมีพื้นสีนํ้าตาลแดงที่บริเวณกลางครีบหลังและโคนครีบหางมีจุดใหญ่สีดำ. |
แขกเต้า | น. ชื่อนกปากขอขนาดกลางชนิด Psittacula alexandri (Linn.) ในวงศ์ Psittacidae ตาสีดำขอบเหลือง หัวสีเทา หน้าผากสีเทาอมเขียวมีเส้นสีดำลากผ่านไปจดหัวตาทั้ง ๒ ข้าง และมีแถบสีดำลากจากโคนปากลงไปทั้ง ๒ ข้างของคอคล้ายเครา ขนลำตัวสีเขียวอมเหลือง ตัวผู้ปากสีแดง ตัวเมียปากสีดำ มักอยู่เป็นฝูงใหญ่ กินผลไม้ เมล็ดพืช ร้องเลียนเสียงคนหรือเสียงอื่น ๆ บางอย่างได้. |
ค็อด | น. ชื่อปลาทะเลขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีถิ่นกำเนิดแถบเขตหนาวของซีกโลกด้านเหนือ มีหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Gadidae ลำตัวยาวได้ถึง ๑๗๕ เซนติเมตร แบนข้างเล็กน้อย และเรียวไปทางข้างหาง เป็นปลาล่าเหยื่อ อยู่เป็นฝูงโดยเฉพาะขณะเดินทางเพื่อสืบพันธุ์ คนไทยรู้จักชื่อปลาค็อดมานาน คือ น้ำมันตับปลาปลาค็อด. |
เครื่องบันทึกเสียง | น. เครื่องที่ใช้เปลี่ยนพลังงานเสียงให้เป็นรูปอื่นซึ่งบันทึกเก็บไว้ได้ เช่น บันทึกลงบนแถบแม่เหล็กหรือลงบนร่องจานเสียง. |
จามรี | น. ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Bos grunniens Linn. ในวงศ์ Bovidae ขนตามลำตัวละเอียดอ่อนยาวมาก สีนํ้าตาลเข้มจนถึงดำ โดยเฉพาะบริเวณสวาบคือบริเวณระหว่างชายโครงถึงสันกระดูกตะโพกมีขนสีดำห้อยยาวลงมาเกือบถึงพื้น ช่วงเขากว้างมาก หางยาวเป็นพู่ อาศัยอยู่แถบภูเขาสูงในทิเบต, จมร จมรี หรือ จามจุรี ก็เรียก |
จำหระ | น. แถบ, ซีก, แปลง, (ใช้แก่ที่ดินหรือร่างกาย), ตำหระ ก็ว่า. |
เจ้าฟ้า ๑ | น. ชื่อกั้งขนาดกลางชนิด Acanthosquilla sirindhorn Naiyanetr ในวงศ์ Nannosquillidae ลำตัวค่อนข้างแบนสีเหลืองนวล มีแถบสีดำพาดขวางทุกปล้องตลอดความยาวลำตัวและแพนหาง ด้านบนของหางนูนเป็น ๓ ลอน แต่ละลอนมีหนาม ๔-๖ อัน ขุดรูอยู่ตามหาดทรายปนโคลน. |
ฉลองพระกรน้อย | น. ชื่อเสื้อชั้นในที่แขนต่อแถบรัด, คู่กับฉลองพระองค์ทรงประพาส, พระกรน้อย ก็ว่า. |
ฉลอม | (ฉะหฺลอม) น. ชื่อเรือต่อชนิดหนึ่ง คล้ายเรือกระแชง หัวท้ายงอนเรียว กลางป่อง ตัวเรือเป็นเหลี่ยม กระดานข้างเรือเป็นทับเกล็ด นิยมใช้ตามหัวเมืองชายทะเลแถบปากอ่าว สำหรับบรรทุกสินค้าหรือหาปลา สมัยโบราณเวลาเกิดศึกสงครามก็จะถูกเกณฑ์ไปใช้ในราชการทัพด้วย อาจติดใบหรือไม่ก็ได้. |
ชะโด | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Channa micropeltes (Cuvier) ในวงศ์ Channidae รูปร่างคล้ายปลาช่อน ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกันแต่เกล็ดเล็กและมีจำนวนมากกว่า เฉพาะบนเส้นข้างตัวมี ๘๒-๙๕ เกล็ด เมื่อยังเล็กข้างลำตัวมีแถบสีดำเรียงคู่กันจากตาถึงครีบหาง ระหว่างแถบเป็นสีแดง แถบนี้แตกเป็นแต้มหรือจุดในปลาที่โตเต็มที่ ขนาดยาวได้ถึง ๑ เมตร, แมลงภู่ อ้ายป๊อก หรือ โด ก็เรียก, พายัพเรียก ก่อ. |
ชายฝั่ง | น. แถบแผ่นดินนับจากแนวชายทะเลขึ้นไปบนบกจนถึงบริเวณที่มีลักษณะภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัด. |
ชาวเขา | น. กลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่แถบภูเขา. |
ชาวไทยภูเขา | น. กลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่แถบภูเขาในประเทศไทย. |
ชาวบ้าน | น. ผู้ที่อยู่ในพื้นถิ่นหนึ่ง ๆ เช่น ชาวบ้านแถบอัมพวา, ประชาชนทั่วไป เช่น ชาวบ้านอย่างเราจะไปรู้เรื่องอะไร, ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดธรรมชาติ และมีวิถีชีวิตแบบบรรพกาล, ผู้ที่มีชีวิตแบบเรียบง่าย ธรรมดา มักจะด้อยการศึกษา. |
plastic strip | แถบพลาสติก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
palatal strap | แถบยึดด้านเพดาน(ปาก) [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
paper tape | แถบกระดาษ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
perforated tape | แถบเจาะรู [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
pneumathodes | แถบรูหายใจ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
passband | แถบความถี่ผ่าน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
linear | -รูปแถบ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
library tape | แถบบันทึกจากคลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
lower sideband | แถบความถี่ข้างด้านต่ำ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
L-band | แถบความถี่แอล [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lorate; cultrate | -รูปแถบกว้าง [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
reel | ม้วน, ม้วนแถบ [ มีความหมายเหมือนกับ spool ๑ ] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reel | ม้วน, ม้วนแถบ [ มีความหมายเหมือนกับ spool ๑ ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
strip cladding; strip surfacing | ๑. การฉาบผิวด้วยแถบเชื่อม๒. การพอกผิวด้วยแถบเชื่อม [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
spool | ๑. ม้วน, ม้วนแถบ [ มีความหมายเหมือนกับ reel ]๒. ที่เก็บพัก๓. เก็บพัก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
spool | ๑. ม้วน, ม้วนแถบ [ มีความหมายเหมือนกับ reel ]๒. ที่เก็บพัก๓. เก็บพัก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
strap | ๑. สายรัด, แถบ๒. ผูกรัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
status bar | แถบสถานภาพ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
status bar | แถบสถานภาพ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
scratch tape | แถบใช้งานชั่วคราว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
scroll bar | แถบเลื่อนหน้าจอ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
scroll bar | แถบเลื่อนหน้าจอ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
spectrum | สเปกตรัม, แถบภาพ(เสียง) [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
strip surfacing; strip cladding | ๑. การฉาบผิวด้วยแถบเชื่อม๒. การพอกผิวด้วยแถบเชื่อม [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
sideband | แถบความถี่ข้าง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
slide bar | แถบเลื่อน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
out-of-band signaling | การให้สัญญาณนอกแถบ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
advancing-line speedometer | มาตราอัตราเร็วแบบแถบเลื่อน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
attrital coal | ถ่านหินแถบลาย [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
automatic tape punch | เครื่องเจาะแถบกระดาษอัตโนมัติ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
amendment tape | แถบแก้ไข [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
audiotape | แถบเสียง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bimetallic element | แถบโลหะคู่ต่าง [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
broadband; wideband | แถบความถี่กว้าง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
broadband; wideband | แถบความถี่กว้าง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
broadband ISDN (B-ISDN) | ไอเอสดีเอ็นแถบกว้าง (บีไอเอสดีเอ็น) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
bandwidth | ๑. ความกว้างแถบความถี่๒. แบนด์วิดท์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
bandwidth | ๑. ความกว้างแถบความถี่๒. แบนด์วิดท์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
blank tape | แถบเปล่า [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
baseband | แถบความถี่ฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
baseband | แถบความถี่ฐาน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
B-ISDN (broadband ISDN) | บีไอเอสดีเอ็น (ไอเอสดีเอ็นแถบกว้าง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
band | ๑. แถบ๒. แถบความถี่ [ มีความหมายเหมือนกับ frequency band ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
band | แถบ, ปื้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
band | ๑. แถบ๒. แถบความถี่ [ มีความหมายเหมือนกับ frequency band ] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
band matrix | เมทริกซ์แถบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
band printer | เครื่องพิมพ์แบบแถบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
band-pass transducer | ตัวเปลี่ยนแปรแบบผ่านแถบ, ตัวแปรสัญญาณแบบผ่านแถบ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
brake band | แถบเบรก [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bar | ๑. แท่ง๒. แถบ๓. เส้นขวาง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Tape recordings | แถบบันทึกเสียง (Tape recording), Example: <p>แถบบันทึกเสียง <p>หมายถึงวัสดุที่แบนยาวเคลือบด้วยสารแม่เหล็กใช้บันทึกสัญญาณเสียง เป็นวัสดุที่นิยมใช้ในการบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ บันทึก เสียงได้ทั้งสองแถบและสามารถลบเสียงเดิมออกแล้วบันทึกเสียงใหม่ได้ ต่างจากแผ่นเสียงที่เมื่อบันทึกเสียงลงไปแล้วจะคงอยู่ตลอด ไปจนกว่าแผ่นเสียงจะสึกหรอหรือแตกหัก เทปบันทึกเสียง มี 3 ลักษณะ ได้แก่ <p>1.เทปม้วน (tape open reel-to reel) <p>2.เทปตลับแบบคาสเซท (tape cassette) <p>3.เทปตลับแบบ cartridge <p>(tape cartridge) การจัดเก็บเทปบันทึกเสียง จะจัดเก็บไว้ในกล่อง เรียงตามลำดับเลขทะเบียนหรือหัวเรื่องที่กล่องเทปและที่วงของเทปมีป้ายระบุรายละเอียดไดว้คือ ผู้ผลิต ชื่อเรื่อง สถานที่ วัน เดือน ปี หมายเลขจำนวนระยะเวลาที่เล่น และอัตราความเร็ว <p>บรรณานุกรม : พิมลพรรณ ประเสริฐวงษ์ เรพเพอร์, การใช้ห้องสมุด กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2542 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Menu bar | แถบรายการเลือก [คอมพิวเตอร์] |
Spectrum | สเปกตรัม, กราฟหรือแถบแสดงความเข้มของรังสีที่เป็นฟังก์ชันกับความยาวคลื่น พลังงาน ความถี่ โมเมนตัม มวล หรือปริมาณอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับรังสีนั้น, Example: [นิวเคลียร์] |
Adhesive tape | แถบกาว [TU Subject Heading] |
Audiocassettes | แถบบันทึกเสียงตลับ [TU Subject Heading] |
Audiocassettes for children | แถบบันทึกเสียงตลับสำหรับเด็ก [TU Subject Heading] |
Audiotapes | แถบบันทึกเสียง [TU Subject Heading] |
Broadband communication systems | ระบบการสื่อสารแถบความถี่กว้าง [TU Subject Heading] |
Cassette tape recorders | เครื่องบันทึกและเล่นแถบเสียงตลับ [TU Subject Heading] |
Magnetic recorders and recording | เครื่องบันทึกและการบันทึกแถบแม่เหล็ก [TU Subject Heading] |
Photonic crystals | ผลึกช่องว่างแถบพลังงานเชิงแสง [TU Subject Heading] |
Talking book | หนังสือแถบเสียง [TU Subject Heading] |
Van Allen radiation belts | แถบกัมมันตรังสีแวนอัลเลน [TU Subject Heading] |
Video tape advertising | โฆษณาทางแถบวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Video tape industry | อุตสาหกรรมแถบวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Video tape recorders | เครื่องบันทึกและเล่นแถบวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Video tapes | แถบวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Video tapes in education | แถบวีดิทัศน์เพื่อการศึกษา [TU Subject Heading] |
black tie | ชุดราตรีสโมสร เสื้อสูทสีดำ ปกหุ้มต่วนแพรหรือไหมสีดำ หรือเสื้อสูทสีขาว ปกไม่หุ้มต่วนแพร เสื้อเชิ้ตสีขาว อกตีเกล็ดหรือมีระบายลูกไม้ที่สาบอก ผ้าผูกคอหูกระต่าย (bow-tie) สีดำ กางเกงสีดำมีแถบดิ้นไหมสีดำ มีผ้าคาดเอวสีดำ ใช้สำหรับงานเลี้ยงอาหารค่ำหรืองานกลางคืนที่จัดขึ้นอย่างเป็นทางการ ทั้งงานของราชการและงานสังคมของบุคคลธรรมดาที่จัดอย่างหรู black tie เรียกชื่ออื่นได้อีก เช่น tuxedo หรือ smoking jacket หรือ dinner jacket [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Plan Puebla-Panama | สมาชิก เม็กซิโก เบลิซ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส เอลซัลวาดอร์ นิการากัว คอสตาริกา และปานามา วัตถุประสงค์ ริเริ่มโดยประธานาธิบดี Vicente Fox ของเม็กซิโก เมื่อปี พ.ศ. 2543 เพื่อแสวงหาความร่วมมือและให้การสนับสนุนด้านเงินทุนแก่ประเทศภูมิภาค อเมริกากลางในการเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมและสาธารณูปโภค เช่น ถนน สายส่งไฟฟ้า ท่อก๊าซ ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจจากเม็กซิโกลงไปยังประเทศทางตอนใต้ ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศร่วมกัน และเพื่อแก้ไขปัญหาการอพยพของแรงงานผิดกฎหมายจากประเทศในแถบอเมริกากลางเข้า สู่เม็กซิโก หมายเหตุ Puebla เป็นชื่อเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของเม็กซิโก และเป็นจุดเริ่มต้นโครงการ ซึ่งสิ้นสุดที่ปานามา [การทูต] |
white tie | ชุดราตรีสโมสร " เสื้อสูทหางยาวสีดำ กางเกงสีดำมีผ้าผูกคอหูกระต่าย (bow-tie) สีขาว เสื้อเชิ้ตสีขาว แถบดิ้นไหมสีดำ ใช้ในโอกาสงานกลางคืนที่จัดอย่างเป็นทางการ (งานราตรีสโมสร-formal evening entertainments) เช่น งานพระราชทานเลี้ยงกระยาหารค่ำเพื่อเป็นเกียรติแก่ประธานาธิบดี ซึ่งมาเยือนไทยอย่างเป็นทางการ งานแสดงอุปรากร งานเต้นรำ " [การทูต] |
Guayule | ยางธรรมชาติสายพันธ์หนึ่งที่ได้จากต้นวายูเล่ (Parthenium argentatum) ซึ่งเป็นต้นไม้พื้นเมืองในแถบเม็กซิโกและทางตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐเทกซัส มีลักษณะโครงสร้างทางเคมีเหมือนยางพาราเป็น ซิส-1, 4-พอลิไอโซพรีน (cis-1, 4-polyisoprene) แต่มีส่วนประกอบในน้ำยางต่างจากยางพารา เช่น มีส่วนของเนื้อยางแห้งน้อยกว่า (ประมาณ 10%) ปริมาณโปรตีน กรดอะมิโน และพอลิเพปไทด์น้อยกว่า สามารถนำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ยาง เช่น ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ฯลฯ ได้เหมือนกับผลิตภัณฑ์ยางที่ได้จากยางพารา [เทคโนโลยียาง] |
Gutta percha | ยางธรรมชาติสายพันธุ์หนึ่งที่ได้จากต้นยางกัตตา (Palaquium gutta) ซึ่งเป็นต้นไม้ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีสมบัติความยืดหยุ่นไม่ดีเนื่องจากลักษณะโครงสร้างโมเลกุลเป็น ทรานส์-1, 4-พอลิไอโซพรีน (trans-1, 4-polyisoprene) แต่มีความเป็นฉนวนที่ดี นิยมใช้ในการทำส่วนประกอบของลูกกอล์ฟ ทำฟันปลอม ฉนวนหุ้มสายเคเบิลไฟทั้งใต้ดินและในทะเล [เทคโนโลยียาง] |
Hevea brasiliensis | ยางพาราเป็นพืชที่ปลูกในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และให้ผลผลิตเป็นยาง ธรรมชาติที่มีโครงสร้างทางเคมีเป็น ซิส- 1, 4 พอลิไอโซพรีน (cis-1, 4 polyisoprene) [เทคโนโลยียาง] |
Absorption Band | แถบการดูดซึมแสง, แถบการดูดซึม, แถบการดูดกลืนแสง, แอบซอรพชั่นแบนด์ [การแพทย์] |
Absorption, Ultraviolet | การดูดแสงในแถบเหนือม่วง, ดูดแสงอัลตราไวโอเลท, การดูดแสงอุลตร้าไวโอเลต [การแพทย์] |
Adhesive Tape | กระดาษหรือผ้ายางเหนียว, แถบเหนียว, ผ้าเหนียวยืด, ผ้าพัน, แผ่นเหนียวยึดติด, ผ้ายางยืด [การแพทย์] |
Band Form | รูปแถบ [การแพทย์] |
Band, Charge-Transfer | แถบซึ่งมีการโอนประจุ [การแพทย์] |
Band, Dense Transverse | แถบขาวทึบทอดตามขวางกระดูก [การแพทย์] |
Band, Strong | แถบที่แรง [การแพทย์] |
Bandages, Esmarch | ม้วนแถบยางเอสมารค์ใช้พันรัดไล่เลือด [การแพทย์] |
Bandages, Gibney | การพันรั้งข้อเท้าโดยใช้แผ่นเหนียวแถบยางยึด [การแพทย์] |
Bandages, Martin Bandage-Esmarch | แถบยางยาวสำหรับรัดไล่เลือดที่แขนขา [การแพทย์] |
Banding Technique | วิธีย้อมแถบ [การแพทย์] |
Bands | แถบ, แถบขวาง [การแพทย์] |
Bands, Non-Fundamental | แถบที่ไม่เป็นหลักมูล [การแพทย์] |
Chromosome Banding Techniques | วิธีย้อมแถบโฆรโมโซม [การแพทย์] |
Clovers, Underground | ถอบแถบ [การแพทย์] |
Collar | เสื้อคอตั้ง, แถบคอเล็กๆ [การแพทย์] |
Color Code | แถบสี [การแพทย์] |
Conduction Bands | แถบนำ [การแพทย์] |
Cottonstrip | แถบผ้าฝ้าย [การแพทย์] |
Electrophoresis, Zone | อีเล็คโตรโฟรีซิสแบบแถบ [การแพทย์] |
Equatorial Rain Belt | แถบที่มีฝนตกชุก [การแพทย์] |
Excitation Band | แถบกระตุ้น [การแพทย์] |
Extensor Retinaculum | แถบกระชับเอ็น [การแพทย์] |
Forbidden Band | แถบฟอร์บิดเดน [การแพทย์] |
Lquatorial calms | แถบลมสงบบริเวณ ศูนย์สูตร [อุตุนิยมวิทยา] |
บริเวณแถบฝน | [børiwēn thaēp fon] (n, exp) EN: rainbands |
ชะมดแปลงลายแถบ | [chamot plaēng lāi thaēp] (n, exp) EN: Banded Linsang |
ดาวเคราะห์ในแถบไคเปอร์ | [dāokhrǿ nai thaēp Khaipoē] (n, exp) EN: Kuiper belt planet FR: planète de le ceinture de Kuiper [ f ] |
กระรอกลายแถบ | [krarøk lāi thaēp] (n, exp) EN: Three-striped Ground squirrel |
โลมาแถบ | [lōmā thaēp] (n, exp) EN: Striped Dolphin |
นกหัวขวานลายคอแถบขาว | [nok hūa khwān lāi khø thaēp khāo] (n, exp) EN: Buff-necked Woodpecker FR: Pic tukki [ m ] |
นกอินทรีแถบปีกดำ | [nok insī thaēp pīk dam] (n, exp) EN: Bonelli's Eagle FR: Aigle de Bonelli [ m ] ; Aigle à queue barrée [ m ] |
นกอีแพรดแถบอกดำ | [nok ī-phraēt thaēp ok dam] (n, exp) EN: Pied Fantail FR: Rhipidure pie [ m ] ; Rhipidure à collier ; Rhipidure malaise |
นกจับแมลงสีคล้ำหางแถบขาว | [nok jap malaēng sī khlam hāng thaēp khāo] (n, exp) EN: White-tailed Flycatcher FR: Gobemouche à queue blanche [ m ] ; Cyornis à queue blanche [ m ] |
นกจับแมลงแถบคอสีส้ม | [nok jap malaēng thaēp khø sī som] (n, exp) EN: Rufous-gorgeted Flycatcher FR: Gobemouche à bavette orange [ m ] ; Gobemouche à gorge cannelle [ m ] |
นกกาน้อยแถบปีกขาว | [nok kā nøi thaēp pīk khāo] (n, exp) EN: Black Magpie FR: Geai à ailes blanches [ m ] ; Platysmure à ailes blanches [ m ] |
นกเขนน้อยปีกแถบขาว | [nok khēn nøi pīk thaēp khāo] (n, exp) EN: Bar-winged Flycatcher-shrike FR: Échenilleur gobemouche [ m ] ; Échenilleur pie [ m ] |
นกกระจิ๊ดเขียวปีกสองแถบ | [nok krajit khīo pīk søng thaēp] (n, exp) EN: Two-barred Warbler FR: Pouillot à deux barres [ m ] ; Pouillot à pattes sombres [ m ] ; Pouillot ardoisé [ m ] |
นกกระจิ๊ดแถบปีกสีส้ม | [nok krajit thaēp pīk sī som] (n, exp) EN: Buff-barred Warbler ; Orange-barred Leaf Warbler FR: Pouillot élégant [ m ] ; Pouillot à bandes dorées [ m ] ; Pouillot à barres orange [ m ] |
นกกระเต็นน้อยแถบอกดำ = นกกะเต็นน้อยแถบอกดำ | [nok kraten nøi thaēp ok dam = nok katen nøi thaēp ok dam] (n, exp) EN: Blue-banded Kingfisher FR: Martin-pêcheur à large bande [ m ] |
นกอุ้มบาตรแถบตาดำ | [nok um bāt thaēp tā dam] (n, exp) EN: East Siberian Wagtail FR: Bergeronnette (grise) de Sibérie [ f ] |
นกแว่นตาเหลืองปีกแถบขวาง | [nok waentā leūang pīk thaēp khwāng] (n, exp) EN: Bianchi's Warbler FR: Pouillot de Bianchi [ m ] |
ผีเสื้อบารอนเขียวแดงแถบขาว | [phīseūa bārøn khīo daēng thaēp khāo] (n, exp) EN: White-banded Baron |
ผีเสื้อฟ้าขีดหกลายแถบ | [phīseūa fā khīt hok lāi thaēp] (n, exp) EN: Banded Lineblue |
ผีเสื้อฟ้าไม้ก่อแถบขวางยาว | [phīseūa fā māi kø thaēp khwāng yāo] (n, exp) EN: Large Oakblue |
ผีเสื้อกะลาสีแถบสั้น | [phīseūa kalāsī thaēp san] (n, exp) EN: Short-banded Sailor |
ผีเสื้อขมิ้นกับปูนแถบแคบ | [phīseūa khamin kap pūn thaēp khaēp] (n, exp) EN: Restricted Purple Sapphire |
ผีเสื้อขมิ้นกับปูนแถบทอง | [phīseūa khamin kap pūn thaēp thøng] (n, exp) EN: Golden Sapphire |
ผีเสื้อคาดแสดแถบสั้น | [phīseūa khāt saēt thaēp san] (n, exp) EN: Narrow-banded Velvet Bob |
ผีเสื้อขี้โอ่ลายแถบ | [phīseūa khī-ō lāi thaēp] (n, exp) EN: Banded Dandy |
ผีเสื้อกระดำแถบเพศ | [phīseūa kra dam thaēp phēt] (n, exp) EN: Branded Darkle |
ผีเสื้อเหลืองหนามแถบกว้าง | [phīseūa leūang nām thaēp kwāng] (n, exp) EN: Indian Yellow Nawab |
ผีเสื้อเลอะเทอะลายแถบ | [phīseūa loethoe lāi thaēp] (n, exp) EN: Banded Treebrown |
ผีเสื้อมาควิสแถบโค้ง | [phīseūa mākhwis thaēp khōng] (n, exp) EN: Banded Marquis |
ผีเสื้อมาควิสแถบตรง = ผีเสื้อมาร์ควิสแถบตรง | [phīseūa mākhwis thaēp trong] (n, exp) EN: Redtail Marquis |
ผีเสื้อหน้าเข็มปีกมนแถบขาว | [phīseūa nā khem pīk mon thaēp khāo] (n, exp) EN: Orange-tailed Awl |
ผีเสื้อหน้าเข็มแถบขาวเหลือบเขียว | [phīseūa nā khem thaēp khāo leūap khīo] (n, exp) EN: White-banded Awl |
ผีเสื้อหน้าเข็มแถบเหลือง | [phīseūa nā khem thaēp leūang] (n, exp) EN: Yellow-banded Awl |
ผีเสื้อนิลวรรณปีกแถบธรรมดา | [phīseūa nin wanna pīk thaēp thammadā] (n, exp) EN: Common Banded Demon |
ผีเสื้อนิลวรรณปีกแถบยาว | [phīseūa nin wanna pīk thaēp yāo] (n, exp) EN: Restricted Demon |
ผีเสื้อหนอนใบรักแถบกว้าง | [phīseūa nøn bai rak thaēp kwāng] (n, exp) EN: Pale Blue Tiger |
ผีเสื้อหนอนไม้ผลแถบดำ | [phīseūa nøn mai phon thaēp dam] (n, exp) EN: Brilliant Flash |
ผีเสื้อหนอนพุทราแถบฟ้า | [phīseūa nøn phutsā thaēp fā] (n, exp) EN: Banded Blue Pierrot |
ผีเสื้อหนอนพุทราแถบหักศอก | [phīseūa nøn phutsā thaēp hak søk] (n, exp) EN: Elbowed Pierrot |
ผีเสื้อหนอนพุทราแถบตรง | [phīseūa nøn phutsā thaēp trong] (n, exp) EN: Straight Pierrot |
ผีเสื้อปีกราบแถบทองสีคล้ำ | [phīseūa pīk rāp thaēp thøng sī khlam] (n, exp) EN: Dark Yellow-banded Flat |
ผีเสื้อสีอิฐแถบเหลือง | [phīseūa sī it thaēp leūang] (n, exp) EN: Banded Yeoman |
ผีเสื้อตาลพุ่มแถบขาวเล็ก | [phīseūa tān phum thaēp khāo lek] (n, exp) EN: White-bar Bushbrown |
ผีเสื้อตาลแถบเหลือง | [phīseūa tān thaēp leūang] (n, exp) EN: Pan |
ผีเสื้อแถบขาว(ธรรมดา) | [phīseūa thaēp khāo (thammadā)] (n, exp) EN: Commander |
ผีเสื้อแถบ ขาวใหญ่ | [phīseūa thaēp khāo yai] (n, exp) EN: White Commodore |
ผีเสื้อแถบเขียวอ่อน | [phīseūa thaēp khīo øn] (n, exp) EN: Green Commodore |
ผีเสื้อแถบเหลือง | [phīseūa thaēp leūang] (n, exp) EN: Pan |
แถบ | [thaēp] (n) EN: stripe ; streak ; bar ; tap ; tag ; band FR: bande [ f ] ; ruban [ m ] |
แถบ | [thaēp] (n) EN: part ; section ; area ; zone ; region ; side ; district ; belt ; sphere FR: région [ f ] ; contrée [ f ] ; partie [ f ] ; zone [ f ] ; ceinture [ f ] |
alpenhorn | (n) แตรขนาดใหญ่รูปร่างคล้ายเขาสัตว์ (ใช้โดยชาวสวิสแถบเทือกเขาแอลป์), Syn. alphorn |
alphorn | (n) แตรขนาดใหญ่รูปร่างคล้ายเขาสัตว์ (ใช้โดยชาวสวิสแถบเทือกเขาแอลป์), Syn. alpenhorn |
antitrades | (n) ลมที่พัดเหนือลมสินค้าบนแถบร้อนชื้นของโลก |
area | (n) ย่าน, See also: แถบ, บริเวณ, แถว, ละแวก, ถิ่น, อาณาบริเวณ, Syn. region, tract |
audiotape | (n) แถบบันทึกเสียง |
band | (vt) ผูก, See also: ประดับด้วยสายหรือแถบ, รัดด้วยสายรัด, Syn. bond |
band | (n) สายคาด, See also: สายรัด, แถบ, Syn. strip |
band | (vt) คาดด้วยผ้าแถบ, See also: ผูกด้วยผ้าแถบ, Syn. tap |
band | (n) แถบคลื่นความถี่, See also: แถบคลื่นวิทยุ, Syn. waveband |
bandoleer | (n) แถบลูกปืนที่ใช้รัดหรือพาดบริเวณไหล่, Syn. bandolier |
bandolier | (n) แถบลูกปืนที่ใช้รัดหรือพาดบริเวณไหล่, Syn. bandoleer |
bar | (n) แถบ, See also: เส้น, ลำ, ริ้ว, Syn. stripe |
bar code | (n) แถบบาร์โค้ดบรรจุข้อมูลที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ |
barred | (n) ซึ่งมีแถบสี, Syn. banded, striped |
bobcat | (n) แมวป่าแถบอเมริกาเหนือ |
borage | (n) ต้นไม้มีดอกสีฟ้าแถบเมดิเตอร์เรเนียน |
cactus | (n) พืชจำพวกหนึ่งไม่มีใบพบมากในแถบทะเลทราย, Syn. desert flora |
caribou | (n) กวางชนิดหนึ่งในแถบอเมริกาเหนือ, See also: กวางแคริบู |
cashmere | (n) ผ้าขนแพะ (แพะแถบฮิมารายัน) |
cummerbund | (n) แถบผ้าคาดเอวของผู้ชาย |
effendi | (n) ผู้มีการศึกษาดี (ในประเทศแถบตะวันออกกลาง), See also: คนชั้นสูง, ผู้มีสกุลรุนชาติ |
electronic publishing | (n) การพิมพ์ข้อมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเก็บข้อมูลลงในแถบแม่เหล็กแผ่นดิสก์หรือซีดีรอม ซึ่งอ่านข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ |
Eskimo dog | (n) สุนัขที่มีขนหนาหูตั้งใช้ลากเลื่อนในแถบขั้วโลกเหนือ |
faubourg | (n) ชานเมือง, See also: เขตปริมณฑล, แถบนอกเมือง, Syn. suburb, vicinity |
ferrule | (n) หัวหุ้มยางหรือโลหะสำหรับครอบยอดร่มหรือไม้เท้า, See also: แถบยางหรือโลหะสำหรับครอบ, ปลอกยาง, ปลอกโลหะ |
frontlet | (n) แถบคาดหน้าผาก |
garter | (n) สายรัดถุงเท้า, See also: แถบรัด, Syn. band, strap, tie |
groundling | (n) ปลาน้ำจืดแถบน้ำลึก |
Guinea | (n) ประเทศกินี, See also: สาธารณรัฐกีนีในแถบแอฟริกาตะวันตก |
hammerhead | (n) ปลาฉลามหัวค้อน จำพวก Sphyrna, See also: ส่วนหัวของค้อน, ค้างคาวกินผลไม้ในแถบแอฟริกาจำพวก Hypsignathus monstrosus มีหัวโต, นกน้ำขายาวแถบแอฟริกา |
hatband | (n) แถบที่ติดอยู่รอบหมวก |
icecap | (n) ชั้นน้ำแข็งที่ปกคลุมพื้นโลก (แถบขั้วโลกเหนือและใต้) |
insignia of rank | (n) เครื่องยศ, See also: แถบ |
katydid | (n) ตั๊กแตนอเมริกันขนาดใหญ่, See also: ตั๊กแตนสีเขียวขนาดใหญ่มีถิ่นกำเนิดแถบอเมริกาเหนือ |
label | (n) ป้าย, See also: ฉลาก, สลาก, แผ่น, แถบ, Syn. gummed label, brand, marque, sticker |
latitude | (n) พื้นที่ใกล้เส้นรุ้ง (ใช้ในรูปพหูพจน์), See also: ดินแดน, แถบ |
list | (n) ขอบผ้า, See also: ริม, แถบ, ขอบ, Syn. border, bordering strip |
list | (adj) ทำด้วยแถบหรือริ้วผ้า |
magnetic strip | (n) แถบแม่เหล็ก (สำหรับใส่ข้อมูล) |
manatee | (n) สัตว์ตระกูล Trichechidae ในแถบอเมริกาใต้และแอฟริกาตะวันตก |
marmot | (n) ตัวมาเมิต, See also: ในตระกูล Marmota อาศัยอยู่ในรูแถบยุโรป อเมริกาเหนือและเอเชียเหนือ |
medlar | (n) ผลไม้สีน้ำตาลแถบยุโรป คล้ายแอ๊ปเปิ้ล |
mesa | (n) ภูเขามียอดแบนและลาดชันด้านข้างแถบตะวันตกเฉียงใต้ของอเมริกา, Syn. plateau, tableland |
mistral | (n) ลมเหนือที่แห้งและหนาวเย็น, See also: พัดแถบชายฝั่งเมดิเตอร์เรเนียนของฝรั่งเศสและบริเวณใกล้เคียง |
mummichog | (n) ปลาชนิดหนึ่งแถบชายฝั่งแอตแลนติก |
muntjac | (n) กวางที่มีต้นกำเนิดในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, Syn. muntjak |
muntjak | (n) กวางพันธุ์เล็กในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, Syn. muntjac |
nametape | (n) แถบป้ายชื่อที่เป็นผ้า |
nard | (det) ต้นไม้กลิ่นหอมแถบหิมาลายา, Syn. spitenard |
neem | (n) พืชเขตร้อนตระกูลมะฮอกกะนี มีมากในแถบเอเชีย, See also: ต้นสะเดา |
a-band | เป็นแถบของเส้นใยไมโอซิน ซึ่งค่อนข้างหยาบและทึบแสง |
active window | วินโดว์ที่กำลังใช้งานหมายถึง วินโดว์ที่กำลังใช้อยู่ หรืออาจพูดให้เข้าใจง่าย ๆ ได้ว่า เป็นวินโดว์ที่มีโปรแกรมที่กำลังเปิดใช้อยู่ หรืออยู่หน้าวินโดว์อื่น ๆ วินโดว์นี้ จะเป็นวินโดว์ที่ตอบสนองการสั่งงานทุกอย่าง ถ้าบนจอภาพมีวินโดว์แสดงอยู่มากกว่าหนึ่งวินโดว์ จะมีวินโดว์ใช้งานอยู่เพียงวินโดว์เดียว นอกนั้นเป็นวินโดว์ที่ไม่ได้ใช้งาน (non-active window) โดยปกติแล้ว ถ้าเป็นระบบไมโครซอฟต์ วินโดว์ของพีซี (PC) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะทราบว่า วินโดว์ ไหนเป็นวินโดว์ใช้งาน โดยดูที่แถบชื่อ (title bar) ถ้าวินโดว์ ใดมีแถบชื่อที่สีต่างกว่าวินโดว์อื่น วินโดว์นั้นจะเป็นวินโดว์ที่ใช้งานอยู่ ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช วินโดว์ใช้งานจะมีเส้นหลาย ๆ เส้น ในช่องแถบชื่อนั้น ส่วนวินโดว์ที่ยังไม่ใช้งานแถบชื่อจะว่างเปล่า |
annulate | (d) (แอน' นิวเลท) adj. เป็นวงแหวนซึ่งมีแถบเป็นวงแหวน, ประกอบด้วยวงแหวน |
antitrade | (แอน' ทีเทรด) n. ลมที่พัดเหนือลม, สินค้าในแถบร้อนของโลก. -adj. เกี่ยวกับลมดังกล่าว (that opposite to the trade winds) |
apple menu | เมนูลูกแอปเปิลหมายถึง โปรแกรมต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ที่สามารถสั่งให้ทำงานในระหว่างที่เครื่องกำลังทำโปรแกรมอื่นอยู่ได้ โปรแกรมเหล่านี้จะรวมอยู่ในเมนูที่มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกแอปเปิลแหว่ง (แทนที่จะมีชื่อเมนูตามปรกติ) และจะอยู่เป็นรายการแรกซ้ายมือสุดบนแถบเมนู เมนูนี้จะประกอบด้วยรายการย่อยอีกหลายรายการด้วยกัน เช่น นาฬิกา, เครื่องคำนวณ, แผงควบคุม ฯ รวมทั้งที่สำคัญที่สุด คือ แฟ้มภาพ ที่เรียกว่า scrapbook เป็นต้น |
archivolt | (อาร์'คิโวลท) n. แถบลวดลายที่ประดับส่วนโค้งของสิ่งก่อสร้าง |
backing store | หน่วยเก็บหนุนหน่วยเก็บข้อมูล ที่ใช้เป็นที่เก็บหนุน หรือเก็บข้อมูลสำรองไว้ ในกรณีที่หน่วยเก็บที่ใช้งานอยู่เกิดขัดข้อง หรือเสียหาย ก็อาจใช้หน่วยเก็บหนุนนี้แทนได้ โดยทั่วไปก็จะหมายถึงหน่วยเก็บความจำอื่น ๆ นอกไปจากหน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นต้นว่าสื่อต่าง ๆ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) มีความหมายเหมือน auxiliary storage หรือ backup storage |
backup storage | หน่วยเก็บสำรอง <คำแปล>หมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้เป็นที่เก็บหนุน หรือเก็บข้อมูลสำรองไว้ ในกรณีที่หน่วยเก็บที่ใช้งานอยู่เกิดขัดข้อง หรือเสียหาย ก็อาจใช้หน่วยเก็บสำรองแทนได้ โดยทั่วไปก็จะหมายถึงหน่วยความจำอื่น ๆ นอกไปจากหน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นต้นว่าสื่อต่าง ๆ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) มีความหมายเหมือน auxiliary storage หรือ backing store |
band | (แบนดฺ) { banded, banding, bands } n. สายคาด, สายรัด, แถบ, ปลอก, หมู่, พวก, คณะ, วงดนตรี, คณะตนตรี, ช่วงความถี่ของคลื่นวิทยุ, สิ่งผูกมัดคน, โซ่ตรวน, ปลอกรัด, พันธะ, ข้อผูกพัน vt., vi. ใช้สายผูกรัด, รวมกลุ่ม, ประดับด้วยสายหรือแถบ, See also: bander n. |
bandage | (แบน'ดิจฺ) { bandaged, bandaging, bandages } n. แถบผ้าพันแผล, ผ้าพันแผล, สิ่งผูกมัด vt., vi. พันหรือติดด้วยผ้าหรือแถบพันแผล, See also: bandager n., Syn. strip |
bar | (บาร์) { barred, barring, bars } n. ท่อน, แท่ง, ไม้ขวาง, แถบ, กลอน, สลักประตู, ไม้ราว, กระบอง, ลูกกรง, สิ่งกั้น, รั้ว, อุปสรรค์, ลำ, เส้น, สาย, คอก (ในศาล) , อาชีพทนายความ, ราวที่ทนายความว่าความในศาล, บัลลังก์สอบสวนในศาล, ที่จำหน่ายเครื่องดื่ม, สายสะพายอิสริยาภรณ์, บาร์ vt. ใส่กลอน |
begin of tape | จุดเริ่มต้นเทป <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BOT หมายถึง จุดบนแถบบันทึกหรือเทป (tape) ที่กำหนดให้เป็นจุดเริ่มต้นให้มีการบันทึกข้อมูลลงได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสงบนแถบบันทึก ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณ บังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลบนแถบบันทึกโดยเริ่มจากจุดนั้นเป็นต้นไป |
belted | (เบล'ทิด) adj. ซึ่งมีสายคาด, มีแถบสี |
bernouilli box | กล่องเบอร์นิวลีหมายถึง ระบบการเก็บข้อมูลจำนวนมาก ๆ ไว้ในแถบบันทึกคาร์ทริดจ์ (cartridge) แถบบันทึกชนิดนี้ทำไว้ให้ถอดเก็บได้สะดวก นักวิทยาศาสตร์ชาวสวิสที่ ชื่อเบอร์นิวลี (Bernouilli) เป็นผู้คิดทำและ เป็นผู้คิดทฤษฎีเกี่ยวกับพลังการหมุนของแถบบันทึกชนิดนี้ |
bits per inch | บิตต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า BPI เป็นหน่วยวัดความจุของแถบบันทึก โดยวัดว่า แถบบันทึก 1 นิ้วจะเก็บตัวอักขระได้กี่บิต |
blank tape | แถบเปล่าหมายถึง แถบบันทึกที่ไม่มีข้อมูลเก็บ หรือข้อมูลถูกลบออกไปหมด |
blocking factor | จำนวนระเบียนต่อกลุ่มหมายถึง จำนวนระเบียนในหนึ่งบล็อก (block) ในการบันทึกข้อมูลลงแถบบันทึก (tape) นั้น จะบันทึก 1 ระเบียน (record) ต่อ 1 บล็อก หรือหลายระเบียนต่อ 1 บล็อกก็ได้ดู block ประกอบ |
bot | 1. (บอท) n. ด้วยอ่อนของแมลงbotfly 2. (บีโอที) ย่อมาจาก begin of tape (จุดเริ่มต้นเทป) หมายถึง จุดเริ่มต้นที่จะให้มีการบันทึกลงแถบบันทึกหรือเทป (tape) ได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสง ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณบังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลจากจุดนั้นเป็นต้นไป |
bpi | (บีพีไอ) ย่อมาจาก bits per inch หรือบิตต่อนิ้ว เป็นหน่วยวัดความจุของแถบบันทึก โดยวัดว่า แถบบันทึก 1 นิ้วจะเก็บตัวอักขระได้กี่บิต |
bytes per inch | ไบต์ต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า BPI เป็นหน่วยวัดความจุของตัวอักขระในเทปหรือแถบบันทึก (tape) หมายความว่า ขนาดความยาวของแถบบันทึก 1 นิ้ว จะบรรจุตัวอักขระได้เท่าใดอาจต่างกันได้ตั้งแต่ 200 ถึง 1600 ไบต์ต่อนิ้ว และอาจมีการปรับให้มากหรือน้อยกว่านั้นก็ได้ (บางทีใช้กับความยาวของแทร็กของพื้นผิวของจานบันทึก (disk) ด้วย |
carbon ribbon | ผ้าหมึกพิมพ์หมายถึง แถบผ้าหมึกที่ใช้ในเครื่องพิมพ์แบบกระทบ (impact printer) ผ้าหมึกนี้จะเป็นตัวทำให้ตัวหนังสือชัดหรือจาง ถ้าเมื่อใด ตัวหนังสือที่พิมพ์จาง ลองตรวจสอบดูผ้าหมึกพิมพ์ เพราะผ้าหมึกพิมพ์อาจจะเก่า ให้จัดการเปลี่ยนใหม่ |
casette tape | ตลับแถบบันทึกหมายถึง ม้วนแถบพลาสติกอาบแม่เหล็ก นำมาใช้ในการเก็บข้อมูล ใช้ทั้งกับไมโครคอมพิวเตอร์ และเครื่องขนาดใหญ่ (mainframe) ที่นำมาใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์นั้น มีลักษณะเหมือนตลับเทปเพลงธรรมดา สมัยหนึ่งเรานิยมใช้แถบบันทึกนี้เก็บข้อมูล เพราะราคาถูกกว่าสื่ออย่างอื่น แต่จะมีปัญหาตามมามากมาย เช่นในเรื่องความคลาดเคลื่อนของข้อมูล อีกทั้งยังมักจะเสียง่าย ในปัจจุบัน จึงหันมานิยมใช้จานบันทึก (diskette) จานบันทึกอัดแน่นหรือซีดี (CD) แทนกันหมดแล้ว |
channel | (แชน'เนิล) n. ช่องแคบ, ช่อง, ทางน้ำไหล, ทางเดินเรือ, ราง, วิถีทาง, แนวทาง, ทางผ่าน, ท่อ -vi. นำผ่านทาง, บุกเบิกทาง, ขุดทาง, ขุดทางน้ำ, นำทาง, See also: channeler, channeller n. ร่องข้อมูลช่องหมายถึงร่องข้อมูลหรือแถวสำหรับบันทึกข้อมูลตามยาวลงบนกระดาษหรือแถบบันทึกแม่เหล็ก magnetic tape หรืออาจหมายถึงช่องทางเข้าออกของหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล input/output channel ซึ่งติดต่อกับตัวประมวลผล processor |
character reader | เครื่องอ่านอักขระหมายถึง เครื่องอ่านอักขระจากตัวพิมพ์ซึ่งจะต้องมีลักษณะพิเศษที่เป็นมาตรฐาน การอ่านใช้วิธีให้แสงผ่านช่องว่างของตัวอักขระนั้น ๆ แล้วแปลเป็นรหัสบันทึกลงไว้ในแถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) |
characters per inch | จำนวนอักขระต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า CPI แปลตรง ๆ ได้ว่า อักขระต่อนิ้ว เป็นหน่วยวัดความจุของแถบบันทึกว่า เนื้อเทป 1 นิ้ว จะเก็บข้อมูลได้กี่ตัวอักขระ |
collar | (คอล'ละ) n. ปลอกคอ, ปกเสื้อ, คอเสื้อ, สิ่งที่คล้ายวงแหวน, แถบหนังหรือโลหะที่ยึดรอบคอสัตว์, แอก, วงแหวนของเสา, สร้อยคอประดับ -Id. (be hot under the collar โกรธ) |
collet | (คอล'ลิท) n. ปลอกคอ, แถบหุ้มรอบ |
cpi | 1. abbr. Consumer Price Index ดัชนีราคาบริโภคภัณฑ์ 2. (ซีพีไอ) ย่อมาจาก characters per inch เป็นหน่วยวัดความจุของแถบบันทึก (tape) ว่าจุได้กี่ตัวอักษรต่อความยาว 1 นิ้วมีความหมายคล้ายกับ BPI |
data entry | การบันทึกข้อมูลหมายถึง การป้อนข้อมูลเข้าไปเก็บในสื่อ (medium) อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น แถบบันทึก (tape) จานบันทึก (disk) ฯลฯ โดยผ่านทางแผงแป้นอักขระ (keyboard) หรืออาจหมายถึงการส่งข้อมูลเข้าประมวลผลในคอมพิวเตอร์ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งก็ได้ |
direct access | การเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ |
district | (ดิส'ทริคทฺ) n. เขต, ตำบล, แถบ, ท้องถิ่น, เมือง, มณฑล. vt. แบ่งออกเป็นเขต (ตำบล แถบ, ท้องถิ่น, มณฑล), Syn. area, region |
drag | (แดรก) { dragged, dragging, drags } vt. ลาก, ดึง, กวาด, คราด, เลื่อน, ลอก, นำเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามา, เอ้อระเหย, เฉื่อยชา vi. ถูกลากหรือดึงไปตาม, เลื่อนบนพื้นดิน, เคลื่อนอย่างอืดอาด, ล้าหลัง, ขุดลอก. n. เครื่องมือลาก, การลากอวน, คนที่น่าเบื่อที่สุด, สิ่งที่เบื่อที่สุด หมายถึง การใช้เมาส์ลากเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งบนจอภาพจากตำแหน่งเดิมไปยังตำแหน่งใหม่ บางทีใช้หมายถึงการ "ลากดำ" หรือ "ทำแถบสี" บนข้อความบางตอนเพื่อเป็นการบอกคอมพิวเตอร์ว่าได้เลือกข้อความนี้ไว้ แล้วจะใช้คำสั่ง cut หรือ copy ต่อไป |
drive | (ไดรฟว) { drove, driving, drives } vt. ขับ, ขับไล่, ไล่, ผลัก, ไส, ผลักดัน, ขับขี่, ต้อน (สัตว์เลี้ยง) , ลอย (ซุง) vi. แล่น, พุ่ง, ขับรถ, ตี (ลูกกอล์ฟ, ตะปู) , มุ่งหมาย n. การขับ, การขับขี่, ทางรถ, สัตว์ที่ไล่ตาม, สัตว์ (ที่ต้อน) , การรุกทางทหาร, พลังงาน, แรงกระตุ้น, กลไกในการขับ, หน่วยขับหน่วยบันทึกไดร์ฟ <คำอ่าน>อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่มีหน้าที่อ่านและบันทึกข้อมูล เช่น หน่วยขับแถบบันทึก (tape drive) หน่วยขับจานบันทึก (disk drive) |
eoj | (อีโอเจ) ย่อมาจาก end of job (แปลว่า สิ้นสุดงาน) หมายถึง จุดสิ้นสุดของแฟ้มหรือของข้อมูลชุดหนึ่ง ๆ เป็นเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ทำไว้ท้ายแฟ้มข้อมูลที่บันทึกลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) เพื่อบอกว่าสิ้นสุดแฟ้มข้อมูลหรือสิ้นสุดงานนั้น ๆ มีความหมายเหมือน end of file |
eor | (อีโออาร์) ย่อมาจาก end of reel marker (แปลว่า เครื่องหมายสิ้นสุดแถบบันทึก) หมายถึง จุดสิ้นสุด ทำไว้ที่ปลายแถบบันทึกหรือเทป (tape) เพื่อบอกว่าไม่สามารถบันทึกต่อจากจุดนี้ได้ เมื่ออ่านหรือบันทึกลงถึงจุดนี้แล้ว เทปจะหยุดทันที ไม่อ่านหรือบันทึกต่อ ส่วนมากจะทำเป็นช่วงสะท้อนแสงยาวประมาณ 1 นิ้ว ซึ่งหัวอ่านและบันทึกของเทปจะสัมผัสได้ด้วยไฟฟ้ามีความหมายเหมือน end of tape marker หรือ EOT |
eot | (อีโอที) 1. ย่อมาจาก end of tape marker (เครื่องหมายสิ้นสุดแถบบันทึก) หมายถึง จุดสิ้นสุดไว้ที่ปลายแถบบันทึกหรือเทป (tape) เพื่อบอกว่าไม่สามารถบันทึกต่อจากจุดนี้ได้ เมื่ออ่านหรือบันทึกลงถึงจุดนี้แล้วเทปจะหยุดทันทีไม่อ่านหรือบันทึกต่อ ส่วนมากจะทำเป็นช่วงสะท้อนแสงยาวประมาณ 1 นิ้ว ซึ่งหัวอ่านและบันทึกของเทปจะสัมผัสได้ด้วยไฟฟ้ามีความหมายเหมือน end of reel หรือ EOR2. ย่อมาจาก end of text ในรหัสแอสกี (ASCII) ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล มีความหมายว่า จบข้อความแล้ว ไม่มีอีกต่อไป |
erasable storage | หน่วยเก็บที่ลบได้ <คำแปล>หมายถึง สื่อเก็บข้อมูลที่สามารถบันทึกข้อมูลใหม่ทับข้อมูลเก่าได้ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือ จานบันทึก (diskette) เมื่อบันทึกข้อมูลใหม่ ข้อมูลเก่าจะถูกลบออกไปเอง ส่วนบัตร (card) เป็นหน่วยเก็บที่ลบไม่ได้ หมายความว่า ใช้ได้ครั้งเดียวก็ต้องโยนทิ้ง |
external memory | หน่วยความจำภายนอกหมายถึง สื่อต่าง ๆ ที่ใช้เป็นตัวเก็บข้อมูลเพิ่มจากหน่วยความจำหลัก (main memory) ในคอมพิวเตอร์ เช่น แถบบันทึก (tape) จานบันทึก (disk) เพราะราคาถูกกว่ามาก ถึงจะไม่เปิดไฟ ก็สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้ หน่วยความจำหลักในคอมพิวเตอร์นั้นไม่มีที่พอจะนำข้อมูลจำนวนมาก ๆ เข้าไปเก็บไว้ได้หมด (ยิ่งมีขนาดใหญ่ ก็ยิ่งแพงมาก) เพื่อช่วยประหยัด เราอาจเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำรอง หรือหน่วยความจำช่วย (auxiliary storage) นี้ก่อน และจะดึงไปไว้ในหน่วยความจำหลักเฉพาะเมื่อเวลาต้องการเรียกใช้มีความหมายเหมือน external storage, secondary memory และ auxiliary storage |
external storage | หมายถึง สื่อต่าง ๆ ที่ใช้เป็นตัวเก็บข้อมูลเพิ่มจากหน่วยความจำหลัก (main memory) ในคอมพิวเตอร์ เช่น แถบบันทึก (tape) จานบันทึก (disk) เพราะราคาถูกกว่ามาก ถึงจะไม่เปิดไฟ ก็สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้ หน่วยความจำหลักในคอมพิวเตอร์นั้นไม่มีที่พอจะนำข้อมูลจำนวนมาก ๆ เข้าไปเก็บไว้ได้หมด (ยิ่งมีขนาดใหญ่ ก็ยิ่งแพงมาก) เพื่อช่วยประหยัด เราอาจเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำรอง หรือหน่วยความจำช่วย (auxiliary storage) นี้ก่อน และจะดึงไปไว้ในหน่วยความจำหลักเฉพาะเมื่อเวลาต้องการเรียกใช้มีความหมายเหมือน external memory, secondary memory และ auxiliary storage |
fascia | (แฟซ'เซีย) n., พังพืด, แถบ, สาย, ผ้าพันแผล, See also: fascial adj. -pl. fasciae |
ferric oxide | (เฟอร์ริกออกไซด์) หมายถึง สารแม่เหล็กที่ใช้เคลือบจานบันทึก (disk) ก็ดี แถบบันทึก (tape) ก็ดี ทำให้สามารถบันทึกข้อมูลลงไปเก็บไว้ได้ |
ferrule | (เฟอ'เริล) n., v. (ใส่) หัวหุ้ม, แถบโลหะยึดรากฟัน, ที่รัดโลหะหุ้มโลหะ, สายครอบ, สายยึด., Syn. ferule |
file identification | สัญลักษณ์แสดงชื่อแฟ้มหมายถึงป้ายหรือที่ ๆ จะทำเครื่องหมายบ่งบอกว่า แฟ้มข้อมูลนั้นชื่ออะไรเก็บไว้ในสื่อชนิดใด เช่น แฟ้มข้อมูลชื่อ CHULA เก็บไว้ในสื่อที่เป็นแถบบันทึกมีจำนวนทั้งสิ้นสี่ม้วน เป็นต้นมีความหมายเหมือน file label |
file label | ป้ายแสดงชื่อแฟ้มหมายถึง ป้ายหรือที่ที่จะทำเครื่องหมายบ่งบอกว่า แฟ้มข้อมูลนั้นชื่ออะไร เก็บไว้ในสื่อชนิดใด เช่น แฟ้มข้อมูลชื่อ CHULA เก็บไว้ในสื่อที่เป็นแถบบันทึกมีจำนวนทั้งสิ้นสี่ม้วน เป็นต้นมีความหมายเหมือน file identification |
fixed storage | หน่วยเก็บข้อมูลที่เปลี่ยนไม่ได้หมายถึงสื่อที่เก็บข้อมูลครั้งหนึ่งแล้ว นำมาแก้ไขเปลี่ยนแปลงไม่ได้ หมายความว่า จะนำมาลบแล้วบันทึกใหม่อย่างจานบันทึกหรือแถบบันทึกไม่ได้ เมื่อนำมาบันทึกใหม่ไม่ได้ ส่วนมากจึงมักใช้บันทึกแฟ้มข้อมูลที่อ่านได้อย่างเดียว (read only) บางทีหมายถึงรอม (ROM) |
flex | (เฟลคซฺ) vt., vi. งอ, โค้ง n. การงอ, การโค้ง, สายไฟฟ้าที่งอได้, สายที่งอได้, แถบที่งอได้, Syn. tilt |
frill | (ฟริล) n. จีบ, จีบขอบ, จีบริม, ครุย, ฝอย, แถบริม (เช่นชายเสื้อผ้าที่ทำเป็นครุย) , การประดับขอบ, สิ่งที่เกินต้องการ, สิ่งที่รบกวน, การเป็นรอยย่น, ผู้หญิง, เด็กผู้หญิง vt. ประดับขอบบน, ใส่จีบ., See also: friller n. frilly adj. -S... |
guilloche | (กิลอช') n. แถบหรือลายประดับแบบไขว้หรือเกลียว, ความละลายใจ |
halt | (ฮอลทฺ) vi., n.adj. (การ) หยุด, ชะงัก, เป็นง่อย, ขาเป๋, ลังเล, สองจิตสองใจ interj. หยุด, Syn. stand, check ชะงัก1. การที่เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดปฏิบัติงานตามชุดคำสั่ง ซึ่งอาจเกิดจากการขัดจังหวะหรือมีที่ผิดมีความหมายเหมือน hang2. มีคำสั่งใดคำสั่งหนึ่งในชุดคำสั่งนั้นเองที่สั่งให้หยุดคำสั่งในชุดคำสั่งหรือในโปรแกรมเพียงชั่วขณะใดขณะหนึ่ง เพื่อทำการตรวจสอบโปรแกรมเปลี่ยนแถบบันทึกหรือจานบันทึก การหยุดแบบนี้ ถ้าผู้คุมเครื่อง operator กดปุ่ม START โปรแกรมจะทำงานต่อได้ทันทีมีความหมายเหมือน pause |
hollerith card | บัตรฮอลเลอริทหมายถึงบัตรที่ฮอลเลอริท (Dr. John Hollerith) เป็นผู้ออกแบบ ทำด้วยกระดาษ ต้องมีขนาดมาตรฐาน (7 1/8 x 3 1/4 นิ้ว) ใช้สำหรับบรรจุข้อมูลโดยเจาะเป็นรูตามรหัสที่กำหนด คอมพิวเตอร์สามารถอ่านรูบนบัตรเหล่านี้แล้วนำไปเก็บในหน่วยความจำเพื่อใช้ประมวลผลได้ ปัจจุบันไม่นิยมใช้แล้ว เพราะใช้สื่อเก็บข้อมูลอย่างอื่น สะดวกกว่า ผิดพลาดน้อยกว่า เช่น จานบันทึก แถบบันทึก มีความหมายเหมือน computer card |
band | (n) ปลอก, แถบ, ผ้าพันหมวก, สายคาด, พวก, หมู่, คณะ, แตรวง |
collar | (n) ปลอกคอสุนัข, แอก, ปกเสื้อ, คอเสื้อ, แถบคอเสื้อ |
cord | (n) ด้าย, แถบหรือริ้วบนผ้า, เชือก, สายเคเบิล |
district | (n) ตำบล, เขต, ท้องถิ่น, แถบ, เมือง, มณฑล |
equatorial | (adj) เกี่ยวกับเส้นศูนย์สูตร, ในแถบเส้นศูนย์สูตร, ในแถบอากาศร้อน |
hereabout | (adv) แถวๆนี้, แถบนี้, ใกล้ๆกันนี้ |
polar | (adj) แถบขั้วโลก, เกี่ยวกับขั้วโลก |
RED red tape | (n) ระเบียบราชการ, ผ้าแถบแดง |
region | (n) บริเวณ, ขอบเขต, แถบ, ภาค, แคว้น, ดินแดน |
ribbon | (n) ริบบิ้น, โบ, แถบเหรียญตรา, สายสะพาย, สายบังเหียน |
stripe | (n) บั้ง, ริ้ว, แถบยศ, ชนิด |
swath | (n) แนว, แถว, แถบ |
tab | (n) แผ่นเหล็ก, ป้าย, เศษผ้า, เศษกระดาษ, ปุ่ม, แถบ, ชาย |
tape | (n) แถบ, สายเทป, ริบบิ้น, สายวัด |
torrid | (adj) อยู่ในแถบร้อน, ร้อนอบอ้าว, ร้อนระอุ |
weeds | (n) เครื่องแต่งกายไว้ทุกข์, แถบไว้ทุกข์ |