Magazine | นิตยสาร, นิตยสาร เขียนทับศัพท์ว่า แมกาซีน, Example: นิตยสาร (Magazine) คือสิ่งพิมพ์รายคาบที่ออกเป็นระยะสำหรับผู้อ่านทั่วไป มุ่งทั้งให้ความรู้และความบันเทิง ความรู้มักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ มีการหารายได้จากการโฆษณาและวางขายทั่วไปผู้อ่านสามารถบอรับเป็นสมาชิกได้ <p>คำว่านิตยสาร มาจากรากศัพท์ คือ นิตย (สม่ำเสมอ) และสาร (เนื้อหา) คำว่านิตยสารโดยทั่วไปอาจมีความหมาย คาบเกี่ยวกับคำว่า วารสารซึ่งออกตามกำหนดเวลาที่แน่นอน แต่ในทางบรรณารักษ์ศาสตร์ปัจจุบันเมื่อมีการใช้อินเทอร์เน็ต ทำให้มี นิตยสารในอินเทอร์เน็ตซึ่งมิใช่สิ่งพิมพ์ แต่ยังเรียกกันว่า นิตยสาร <p>เป็นที่น่าสังเกตว่า นิตยสารบางชื่อ ไม่ได้ใช้คำว่า นิตยสาร แต่ก็น่าจะจัดเป็นนิตยสารได้ เช่น อนุสารอสท. ของการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ขณะที่สิ่งพิมพ์บางชนิดมีความก้ำกึ่ง ระหว่างหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์และนิตยสารรายสัปดาห์ เช่น มติชนรายสัปดาห์ สยามรัฐรายสัปดาห์ เนชั่นรายสัปดาห์ ทั้งนี้ก็เพราะเนื้อหาในเล่มมีทั้งข่าว วิเคราห์ข่าว และบันเทิงในสัดส่วนที่ พอๆกัน โดยทั่วไปนิตยสารมักจะมีลักษณะผ่อนคลาย เล่าเรื่องไม่นิยมเขียนในลักษณะตำรา เว้นแต่ละแทรกอยู่เป็นบางส่วนของเล่ม นิตยสารสำหรับคนอ่านเฉพาะกลุ่มฉบับแรกของโลกตีพิมพ์ในกรุงลอนดอนเมื่อ พ.ศ. 2274 (สมัยพระเจ้าท้ายสระ) ชื่อนิตยสาร สุภาพบุรุษ (The Gentlemen's Magazine) เลิกกิจการไปเมื่อ พ.ศ.2450 นิตยสารสำหรับผู้บริโภคฉบับแรกของโลกคือ นิตยสารสกอต (The Scots Magazine) ตีพิมพ์ในสกอตแลนด์ เมื่อปี พ.ศ.2282 ซึ่งตรงกับสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และยังคงตีพิมพ์จนถึงปัจจุบันการตีพิมพ์ <p>นิตยสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่จัดพิมพ์ออกเผยแพร่ตามกำหนดเวลา หรือคาบเวลาที่แน่นอน เช่น ออกทุกสัปดาห์ หรือออกทุกเดือน ลักษณะโดยทั่วไปเป็นสิ่งพิมพ์ เข้าเล่มแบบเดียวกับหนังสือ<p> <p>วารสารคือ วารสาร เป็นสิ่งพิมพ์ จัดพิมพ์ออกเผยแพร่เป็นคราวๆ หรือเป็นวาระ ซึ่งอาจมีกำหนดเวลาหรือไม่มีกำหนดเวลาแน่นอนก็ได้ วารสารและนิตยสาร จัดอยู่ในสิ่งพิมพ์ประเภทออกตามรายคาบ หรือออกต่อเนื่องตามลำดับ เนื่องจากสิ่งพิมพ์ประเภทนี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ ทั้งใน ภาษา ไทยและภาษาอังกฤษ บางคำมีความหมายกว้างๆ ใช้แทนกันได้ แต่บางคำมีความหมายแคบ แสดงถึงลักษณะเฉพาะบางอย่าง จนไม่อาจใช้แทนคำอื่นได้ เพื่อให้เข้าใจตรงกัน ในที่นี้จึงขอใช้คำว่า "วารสาร" เป็นคำเรียก แทนสิ่งพิมพ์ประเภทนี้ทั้งหมด <p>ลักษณะของวารสาร จาก ความหมายดังกล่าว วารสาร จึงเป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่องตามกำหนดหรือ ออกตามวาระ สามารถนำมาพิจารณากำหนดเป็นลักษณะของวารสารได้ดังนี้<p> <p> 1. เป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Periodical or Serial) มีกำหนดเวลาออก แน่นอนระยะเวลาที่นิยมกำหนดออก เช่น ( วราวุธ ผลานันต์ 2536 : 5-6)<p> -รายสัปดาห์ (Weekly) กำหนดออกสัปดาห์ละครั้ง ปีละ 52 ฉบับ<p> -รายปักษ์ (Fortnightly) กำหนดออกทุก 2 สัปดาห์ ปีละ 26 ฉบับ<p> -รายครึ่งเดือน (Semimonthly) กำหนดออกเดือนละ 2 ครั้ง ปีละ 24 ฉบับ<p> -รายเดือน (monthly) กำหนดออกเดือนละครั้ง ปีละ 12 ฉบับ<p> -รายหกเดือนหรือรายครึ่งปี (Semiannually) กำหนดออกทุก 6 เดือน<p> -รายปี (Annually) กำหนดออกปีละฉบับ<p> นอกจากนี้บางฉบับอาจมีการกำหนดระยะเวลาออกที่แตกต่างออกไปจากที่กล่าวมาแล้ว เช่น รายครึ่งสัปดาห์ (Semiweekly) กำหนดออกสัปดาห์ละ 2 ฉบับ ปีละ 104 ฉบับ รายทศกำหนดออกทุก 10 วัน ปีละ 36 ฉบับ และรายสะดวกมีกำหนดออกไม่แน่นอน ลักษณะความต่อเนื่องของวารสารไม่มีกำหนดว่าจะสิ้นสุดลงในฉบับใด<p> <p>2. มีเลขกำกับประจำฉบับ ได้แก่ เลขปีที่ (Volume) เลขฉบับที่ ( Issue Number) และวัน เดือน ปี (Date) การนับลำดับฉบับที่อาจนับเป็นปีๆ เช่น วารสารรายเดือน แต่ละปีจะมีตั้งแต่ฉบับที่ 1-12 หรืออาจนับต่อเนื่องไปเรื่อยๆ เช่นวารสารรายเดือน ฉบับแรกของปีที่ 2 ก็นับเป็นฉบับที่ 13 นอกจากเลขปีที่ ฉบับที่ และวันเดือนปี ซึ่งเป็นเลขที่ต้องต่อเนื่องเป็นลำดับกันไปแล้วยังมีเลขอีกชุดหนึ่งเป็นเลข เฉพาะที่แน่นอน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงถือเป็นรหัสประจำวารสารแต่ละชื่อ เพื่อการควบคุมทางบรรณานุกรม ในระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ เรียกว่า เลขสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number-ISSN) ซึ่งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับสากล มอบให้ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ ประจำประเทศสมาชิกแต่ละประเทศ เป็นผู้กำหนดให้แก่วารสารแต่ละชื่อในประเทศของตน สำหรับประเทศไทยมีหอสมุดแห่งชาติ เป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย เป็นผู้กำหนดวารสารแต่ละชื่อให้ได้รับหมายเลขสากลประจำวารสาร และจะต้องพิมพ์ไว้ที่หน้าปกหรือหน้าปกใน หรือสันวารสารใกล้ ๆ กับชื่อวารสาร มีอักษร ISSN ตามด้วยเลข อารบิค 8 ตัว มีเครื่องหมายยติภังค์ (-) คั่นระหว่าง เลข 4 ตัวแรก กับเลข 4 ตัวหลัง เช่น วารสาร ซีเนแม็ก ISSN 0858-9305 <p>3. รูปเล่ม มักทำให้มีบางส่วนมีลักษณะเหมือนกันทุกฉบับ เพื่อให้ผู้อ่านสังเกตและจำได้ง่าย เช่น ขนาดความกว้าง ยาว รูปแบบและสีของตัวอักษร ชื่อวารสารที่หน้าปก และสัญลักษณ์ประจำวารสาร <p>4. เนื้อหา ประกอบด้วยบทความหลายบทความ จากผู้เขียนหลาย ๆ คน ถ้าเป็นวารสารมักจะเป็นวิชาการเฉพาะแขนงวิชา ถ้าเป็นนิตยสารมักจะมีบทความทั่ว ๆ ไป สารคดี หรือบันเทิง เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น ลงติดต่อกันเป็นหลายๆ มีคอลัมน์บรรณาธิการ คอลัมน์ประจำ วารสารบางชื่อเนื้อหาอาจเป็นรูปภาพ เป็นบทวิจารณ์ สรุปข่าวและวิเคราะห์ เหตุการณ์บ้านเมือง ฯลฯ ทั้งนี้เป็นไปตามประเภทและวัตุประสงค์ของวารสาร แต่ละฉบับ <p>5. ผู้จัดพิมพ์ ผู้จัดพิมพ์วารสารอาจเป็นเอกชน หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบัน องค์การ สมาคม ชมรม โดยมีวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ ประชา-สัมพันธ์หน่วยงาน ให้ความบันเทิง ความรู้ทั่วไป หรือเพื่อธุรกิจการค้า เป็นต้น <p>6. การเผยแพร่ มีทั้งการจำหน่ายและแจกฟรี การจำหน่ายอาจวางจำหน่ายตามร้านขายหนังสือ การให้ผู้อ่านบอกรับเป็นสมาชิกประจำ ชำระค่าวารสารล่วงหน้าแล้วผู้จัดพิมพ์เป็นผู้ส่งวารสารไปให้สมาชิก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Nuclear magnetic resonance | นิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
3ds max (Computer file) | 3ดีเอส แมกซ์ (แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Magnesium | แมกนีเซียม [TU Subject Heading] |
Magnesium alloys | แมกนีเซียม อัลลอยด์ [TU Subject Heading] |
Magnesium Hydroxide | แมกนีเซียม ไฮดรอกไซด์ [TU Subject Heading] |
Magnesium sulphate | แมกนีเซียมซัลเฟต [TU Subject Heading] |
Magnetic resonance imaging | การบันทึกภาพด้วยแมกเนติก เรโซแนนซ์ [TU Subject Heading] |
Magnetic resonance spectroscopy | การบันทึกภาพด้วยแมกเนติกสเปกโตรสสโคปี [TU Subject Heading] |
Magnoliaceae | แมกโนเลียซี [TU Subject Heading] |
Magnolias | แมกโนเลีย [TU Subject Heading] |
Maxwell equations | สมการแมกซ์เวลล์ [TU Subject Heading] |
Nuclear magnetic resonance spectroscopy | นิวเคลียร์ แมกเนติก เรโซแนนซ์ สเปกโตรสโคปี [TU Subject Heading] |
Magnesite | แมกนีไซต์, Example: แหล่ง - พบในจังหวัดจันทบุรี อุตรดิตถ์ ประโยชน์ - เป็นแร่ต้นกำเนิดในการนำมาผลิตโลหะแมกนีเซีย ใช้ทำพวกอิฐทนความร้อนสูง สำหรับเป็นตัวบุที่สำคัญอย่างหนึ่ง ภายในเตาถลุงโลหะ ใช้ในการผลิตสารประกอบทางเคมีต่าง ๆ ใช้ทำคาร์บอนไดออกไซด์ ยาถ่าย ทำแมกนีเซียมและแมกนีเซียมคลอไรด์ ซึ่งประกอบการทำหินอ่อนเทียมและทำยาพอกหินโรงสีไฟ [สิ่งแวดล้อม] |
Non rubber content | ปริมาณของแข็งที่ไม่ใช่ยาง หมายถึง ปริมาณของแข็งอื่นๆ ที่ไม่ใช่เนื้อยางที่มีอยู่ในน้ำยาง เช่น แมกนีเซียม ทองแดง คาร์โบไฮเดรต ไขมัน เป็นต้น สามารถหาได้จากการนำเอาค่า DRC ไปหักออกจากค่า TSC ก็จะได้ค่า NRC ถ้าน้ำยางข้นชุดใดมีค่า NRC สูง ก็บ่งชี้ว่า น้ำยางชุดนั้นมีสารที่ไม่ใช่เนื้อยางมาก ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อความเสถียรของน้ำยาง [เทคโนโลยียาง] |
Sludge content | ปริมาณสลัดจ์หรือปริมาณตม หมายถึง สิ่งเจือปนที่ไม่ใช่ยางซึ่งจะตกตะกอนลงก้นภาชนะเมื่อมีการปั่นหรือกวนน้ำยาง สิ่งเจือปนเหล่านี้ประกอบด้วย ฝุ่นละออง ดิน ทราย เปลือกไม้ และแมกนีเซียมแอมโมเนียมฟอสเฟต ถ้าปริมาณสลัดจ์มีค่าสูง อาจเกิดการสะสมของปริมาณตมอย่างรวดเร็วระหว่างกระบวนการผลิต ทำให้น้ำยางเสียสภาพและไม่สามารถใช้งานต่อไปได้ [เทคโนโลยียาง] |
Antibodies, Hemagglutination Inhibition | ฮีแมกกลูติเนชัน อินฮิบิชันแอนติบอดี [การแพทย์] |
Blood Magnesium | แมกนีเซียมในโลหิต [การแพทย์] |
Bohr Magneton | หน่วยของบอร์แมกนีตอน [การแพทย์] |
Bromomagnesium Alcoholate | โบรโมแมกนีเซียมอัลกอฮอเลท [การแพทย์] |
Carbon Magnesium Bond | คาร์บอนแมกนีเซียมบอนด์ [การแพทย์] |
Cisterna Magna | ซิสเตอร์นาแมกนา;ซิสเตอร์นาแมกนา, สมอง [การแพทย์] |
Emulsators, Magnetostrictive | แมกนีโทสตริกทิฟอิมัลชัน [การแพทย์] |
Epsom Salt | เกลือแมกนีเซียมซัลเฟต [การแพทย์] |
Ferromagnetic Substances | สารเฟอร์โรแมกเนติก [การแพทย์] |
Foramen Magnum | ฟอราเมนแมกนัม, กะโหลกศีรษะ, ฟอราเมนแมกนัม, ฟอราเมนแมกนัม, ตำแหน่งของรูแมกนั่ม, ฟอราเม็นแมคนัม [การแพทย์] |
permanent hard water | น้ำกระด้างถาวร, น้ำกระด้างที่มีเกลือซัลเฟตหรือคลอไรด์ของแคลเซียม หรือแมกนีเซียมละลายอยู่ น้ำกระด้างชนิดนี้ต้มแล้วไม่หายกระด้าง เช่น น้ำทะเล ต้องใช้วิธีกลั่นหรือให้ไหลผ่านสารซีโอไลต์ (zeolite) หรือใส่สารโซเดียมคาร์บอเนตลงไป เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
alkaline earth metals | โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท, โลหะหมู่ II ในตารางธาตุ ได้แก่ เบริเลียม แมกนีเซียม แคลเซียม สทรอนเซียม แบเรียม และเรเดียม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Maxwell's distribution of speeds | กฎการแจกแจงอัตราเร็วของแมกซ์เวลล์, อัตราเร็วของโมเลกุลของแก๊ส เป็นไปตามกฎทางสถิติ คือ โมเลกุลของแก๊สส่วนใหญ่มีอัตราเร็วใกล้เคียงกับอัตราเร็วเฉลี่ย โมเลกุลที่เร็วมากและช้ามากจะมีอยู่จำนวนน้อย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
asbestos | ใยหิน, แร่ชนิดหนึ่งมีลักษณะเป็นเส้นใย มีอยู่ในธรรมชาติ ประกอบด้วยสารซิลิเกตหลายชนิดปนกัน ที่สำคัญคือ แคลเซียมและแมกนีเซียมซิลิเกต ใช้เป็นฉนวนความร้อนและไฟฟ้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
hard water | น้ำกระด้าง, น้ำที่ไม่ให้ฟองกับสบู่เนื่องจากมีเกลือไฮโดรเจนคาร์บอเนตซัลเฟตหรือคลอไรด์ของแคลเซียมหรือแมกนีเซียมละลายอยู่ น้ำกระด้างมี 2 ชนิด คือ น้ำกระด้างชั่วคราว และน้ำกระด้างถาวร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
magma | หินหนืด, แมกมา, หินที่อยู่ภายใต้เปลือกโลกซึ่งอยู่ในสภาพหลอมเหลวและร้อนจัด มีลักษณะข้นและหนืด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
talc | ทัลก์, แร่ชนิดหนึ่ง เป็นผลึกของสารประกอบแมกนีเซียมซิลิเกต สูตรเคมีคือ Mg3Si4O10(OH)2 มีสีเขียว สีเทา สีขาว หรือสีเงิน ความแข็ง 1 ใช้ทำแป้งผัดหน้าแป้งโรยตัว และใช้เป็นส่วนประกอบในอุตสาหกรรมกระเบื้องเคลือบ อุตสาหกรรมกระดาษ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
temporary hard water | น้ำกระด้างชั่วคราว, น้ำที่มีเกลือโฮโดรเจนคาร์บอเนตของแคลเซียมหรือแมกนีเซียมละลายอยู่ ทำให้หายกระด้างได้โดยการต้ม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
magnalium | แมกเนเลียม, โลหะผสมระหว่างแมกนีเซียมกับอะลูมิเนียม โดยมีแมกนีเซียมผสมอยู่ประมาณ 5 - 30% มีสมบัติแข็งและเบา ใช้ทำส่วนประกอบของเครื่องบิน เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Magma | แมกมา, ยาแมกมา, แมกม่า [การแพทย์] |
Magnesia | แมกนีเซีย [การแพทย์] |
Magnesia Column | แมกนีเซียคอลัมน์ [การแพทย์] |
Magnesium | แม็กนีเซียม, แมกนีเซียม, แมกนีเซี่ยม, เกลือแมกเนเซียม [การแพทย์] |
Magnesium Balance | ดุลย์แมกนีเซียม [การแพทย์] |
Magnesium Carbonate | แมกนิเซียมคาร์บอเนท, แมกนีเซ๊ยมคาร์บอเนต [การแพทย์] |
Magnesium Carbonate, Light | แมกนีเซียมคาร์บอเนตชนิดเบา [การแพทย์] |
Magnesium Deficiency | แมกนีเซียม; ภาวะพร่อง [การแพทย์] |
Magnesium Hydroxide | แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์, แมกนีเซียม ฮัยดรอกไซด์ [การแพทย์] |
Magnesium Metamizol | แมกนีเซี่ยมเมตตาไมซอล [การแพทย์] |
Magnesium Oleate | แมกนีเซียมโอลีเอต [การแพทย์] |
Magnesium Oxide | แม็กนีเซียมอ็อกไซด์; แมกนีเซียมออกไซด์, สาร; แมกนีเซี่ยมออกไซด์ [การแพทย์] |
Magnesium Protoporphyrin | แมกนีเซียมโปรโตพอร์ฟัยริน [การแพทย์] |
Magnesium Sulfate | แมกนีเซียม ซัลเฟต, สาร; แมกนีเซียมซัลเฟต; ดีเกลือ; เกลือแมกนีเซียมซัลเฟต; ยาระบายพวกดีเกลือ; แมกนีเซียมซัลเฟต [การแพทย์] |
Magnesium Trisilicate | แมกนีเซียมไทรซิลิเกต, แมกนีเซียมไตรซิลิเกท [การแพทย์] |
antiferromagnetic | (แอนทีเฟอโรแมกเนท' ทิค) adj., ซึ่งต้านสนามแม่เหล็ก. -antiferroomagnetism n. (antiferomagnetic substance) |
antimagnetic | (แอนทีแมกเนท' ทิค) adj. ซึ่งต้านสนามแม่เหล็ก (resistant to magnetization) |
augite | (ออ'ไจทฺ) n. แร่ซิลิเกทที่ส่วนใหญ่ประกอบด้วยแคลเซียม, แมกนีเซี่ยม, เหล็ก, อะลูมินัม. -augitic adj. |
cro-magnon | (โครแมก'นั่น) n. มนุษย์ยุคบรรพบุรุษแรกเริ่มของชาวยุโรป |
demagnetise | (ดิแมก'นิไทซฺ) vt. ขจัดแม่เหล็กออก |
demagnetize | (ดิแมก'นิไทซฺ) vt. ขจัดแม่เหล็กออก |
epsom salt | เกลือแมกนีเซียม ซัลเฟต ใช้ในการย้อมสีฟอกหนัง ปุ๋ยและอื่น ๆ |
magazine | (แมก'กะซีน) n. นิตยสาร, ห้องเก็บดินปืนหรือวัตถุระเบิดอื่น ๆ , กล่องใส่กระสุนในปืนอัตโนมัติ, กระสุนปืนรวมทั้งแก๊ป, ปลอกกระสุนและหัวตะกั่ว, See also: magazinish adj. magaziny adj. |
maggot | (แมก'เกิท) n. ตัวอ่อนที่ไร้ขาของแมลง, ความคิดวิตถาร, See also: maggoty adj. |
magic | (แมก'จิค) n. เวทมนตร์คาถา, อาถรรพ์, ของวิเศษ, อำนาจวิเศษ, การเล่นกล. adj. น่าอัศจรรย์, สวยงามจนน่าหลงใหล, เกี่ยวกับเวทมนตร์คาถา, See also: magically adv. magical adj. |
magna carta | (แมก'นะคาร์'ทะ) n. กฎหมายที่ยิ่งใหญ่, รัฐธรรมนูญฉบับแรกของอังกฤษ |
magnanimity | (แมกนะนิม'มิที) n. ความมีใจกว้าง, ความมีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่, ความสูงส่ง, ความไม่เห็นแก่ตัว, ความมีจิตใจสูงส่ง, การกระทำที่มีใจสูงส่ง |
magnanimous | (แมกแนน'นิมัส) adj. ใจกว้าง, มีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่, มีจิตใจสูงส่ง, สูงส่ง., See also: magnanimousness n., Syn. noble, generous |
magnate | (แมก'เนท) n. ผู้มีอิทธิพลมาก, ผู้มีความสำคัญมาก, นักธุรกิจที่มีอิทธิพลมาก., See also: magnateship n. |
magnesia | (แมกนี'เซีย) n. MgOเป็นยาระบาย |
magnesium | (แมกนี'เซียม) n. ธาตุโลหะเบาสีเงิน, Mg |
magnet | (แมก'เนท) n. แม่เหล็ก, Syn. loadstone |
magnetic | (แมกเนท'ทิค) adj. เกี่ยวกับแม่เหล็ก, เป็นแม่เหล็ก |
magnetise | (แมก'นิไทซ) vt. ทำให้มีคุณสมบัติของแม่เหล็ก, มีอิทธิพลต่อ, สะกดจิต, ทำให้งงงวย, ทำให้หลงเสน่ห์, See also: magnetisation, magnetiszation n. magnetiser, magnetiszer n. |
magnetism | (แมก'นิทิสซึม) n. คุณสมบัติของแม่เหล็ก, อำนาจแม่เหล็ก, ตัวที่ทำให้เกิดอำนาจแม่เหล็ก, เสน่ห์, อำนาจดึงดูด |
magnetite | (แมก'นิไททฺ) n. แร่เหล็กออกไซด์สีดำสามารถถูกแม่เหล็ก ดึงดูดไว้ดีมาก |
magnetize | (แมก'นิไทซ) vt. ทำให้มีคุณสมบัติของแม่เหล็ก, มีอิทธิพลต่อ, สะกดจิต, ทำให้งงงวย, ทำให้หลงเสน่ห์, See also: magnetisation, magnetiszation n. magnetiser, magnetiszer n. |
magneto | (แมกนี'โท) n. เครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดเล็กที่ประกอบด้วยแกนโลหะรูปกระบอกหรือ"มัดข้าวต้ม" (armature) ที่หมุนรอบอยู่ในสนามแม่เหล็ก |
magnetoelectricity | (แมกนิโทอีเลคทริส'ซิที) n. แม่เหล็กไฟฟ้า |
magnetology | (แมกนิทอล'โลจี) n. สาขาฟิสิกส์ที่เกี่ยวกับแม่เหล็ก |
magnetometer | (แมกนิทอม'มิเทอะ) n. เครื่องวัดความเข้มข้นของสนามแม่เหล็ก |
magnetrom | (แมก'นิทรอน) n. หลอดสูญญากาศไฟฟ้าที่ให้กำเนิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่สั้นมาก ๆ |
magnific | (แมกนิฟ'ฟิค) adj. งดงาม, สง่า, เรียกร้อง, กำหนดให้มี. |
magnification | (แมกนะฟะเค'เชิน) n. การขยาย, สภาพที่ถูกขยาย, อำนาจการขยาย, ส่วนที่ขยาย, Syn. iincrease |
magnificence | (แมกนิฟ'ฟิเซินซฺ) n. ความดีเลิศ, ความโอ่อ่า, ความงดงาม, ความสง่า, ความภาคภูมิ, ความผึ่งผาย (splendour, grandeur) |
magnificent | (แมกนิฟ'ฟิเซินทฺ) adj. โอ่อ่า, งดงาม, สง่า, ดีเลิศ, ภาคภูมิ, ผึ่งผาย, สูงส่ง, See also: magnificentness n., Syn. grand |
magnify | (แมก'นิไฟ) v. เพิ่มขนาด, ขยาย, ทำให้ใหญ่ขึ้น, พูดขยาย, ทำให้ตื่นเต้นมากขึ้น, ยกยอ, สรรเสริญ, See also: magnifiable adj. magnifier n. |
magniloquent | (แมกนิล'ละเควนทฺ) adj. โอ้อวด, อวดอ้าง, คุยโว, ฟุ้งเฟ้อในถ้อยคำ. |
magnitude | (แมก'นิทูด) n. ขนาด, ความใหญ่, ความสำคัญ, ขนาดใหญ่, จำนวน, มิติ, ความสว่างของดาว, ดาวที่ดูด้วยตาเปล่าจากโลก., See also: magnitudinous adj., Syn. size, extent |
magnolia | (แมกโนล'เลีย) n. ต้นไม้พุ่มจำพวก Magnolia |
magnum | (แมก'นัม) n. ขวดเหล้าขนาดใหญ่, มวนบุหรี่ขนาดใหญ่ |
magpie | (แมก'ไพ) n. นกกางเขน, นกจำพวก Pica pica |
maxilla | (แมกซิล'ละ) n. ขากรรไกร (โดยเฉพาะขากรรไกรบน) pl. maxillae |
milk of magnesia | ยาน้ำแมกนีเซียมไฮดร๊อคไซด์ เป็นยาลดกรดและยาระบาย |
paleomagnetism | (เพลีโอแมก'นิทิสซึม) n. ภาวะแม่เหล็กของหินแต่แรกเริ่ม., See also: paleomagnetic adj. |
seltzer | (เซลทฺ'เซอะ) n น้ำแร่ธรรมชาติที่มีฟอง ผุดขึ้นประกอบด้วยเกลือและสารประกอบคาร์บอเนต ของโซเดียมแคลเซียมและแมกนีเซียม, น้ำแร่เทียมที่มีสารประกอบดังกล่าว, Syn. Seltzer water |