โกลน | (n) stirrup, Example: นักขี่ม้าเหยียบโกลนเตรียมขึ้นบนหลังม้า, Count Unit: ข้าง, คู่, Thai Definition: ห่วงที่ห้อยลงมาจากอานม้าทั้ง 2 ข้างสำหรับสอดเท้ายันในเวลาขี่ |
โกลน | (n) dugout boat, See also: roughhewn boat, Syn. เรือโกลน, Thai Definition: เรียกเรือที่ทำจากซุงเพียงเปิดปีกเจียนหัวเจียนท้ายเป็นเลาๆ พอให้มีลักษณะคล้ายเรือ แต่ยังไม่ได้ขุด ว่า เรือโกลน |
โกลน | (n) round pole, Example: ควาญตีนจะทำหน้าที่เอาไม้ท่อนเล็กๆ นี้เรียกว่า โกลน ทำหน้าที่เป็นลูกกลิ้งให้ช้างชักลากไม้ได้เบาแรงขึ้น, Thai Definition: ไม้ท่อนกลมๆ ที่วางเป็นระยะๆ เพื่อลากของที่หนักมาบนนั้น |
โกลน | (v) hew roughly into shape, See also: shape roughly, Syn. เกลา, ถาก, Example: ช่างไม้โกลนผิวไม้ให้เรียบ, Thai Definition: เกลาไม้หรือหินทำเป็นรูปเลาๆ ไว้ |
ทอดโกลน | (v) lay down rollers, Thai Definition: เอาไม้ท่อนกลมๆ วางเป็นระยะเพื่อลากของที่หนักมาบนนั้น |
กระดูกโกลน | (n) stirrup-shaped bone of ear, See also: stapes, Example: หูตึงอาจเกิดเนื่องมาจากมีกระดูกงอกที่บริเวณช่องรูปรี แล้วยึดฐานของกระดูกโกลนให้ติดแน่น |
ความโกลาหล | (n) confusion, See also: commotion, uproar, disorder, upheaval, tumult, chaos, Syn. ความวุ่นวาย, ความปั่นป่วน, Ant. ความสงบ, ความเงียบสงบ, Example: เมืองฮิโรชิมาอยู่ในความโกลาหลหลังจากถูกทำลายด้วยลูกระเบิดปรมาณู |
มองโกลอยด์ | (n) Mongoloid, Syn. ชาวมองโกลอยด์, Example: ชนชาติไทยในทางชาติวงศ์วิทยาถูกจัดเข้าไว้ในพวกมองโกลอยด์, Count Unit: คน, Thai Definition: ชนชาติผิวเหลือง มีลักษณะผมดำเหยียด หน้ากว้าง จมูกเล็ก ตาเรียว, Notes: (อังกฤษ) |
เฮโมโกลบิน | (n) hemoglobin, See also: haemoglobin, Syn. ฮีโมโกลบิน, Thai Definition: สารที่ให้สีแดงในเม็ดเลือดแดง, Notes: (อังกฤษ) |
โกลง | (โกฺลง) ว. โคลง เช่น โกลงกลึงถึงสถาน เปรียบแป้น (ปฏิสังขรณ์วัดป่าโมก). |
โกลน | (โกฺลน) น. ห่วงที่ห้อยลงมาจากอานม้า ๒ ข้างสำหรับสอดเท้ายันในเวลาขึ้นหรือขี่ |
โกลน | ไม้ท่อนกลม ๆ ที่วางเป็นระยะ ๆ เพื่อลากของที่หนักมาบนนั้น. |
โกลน | (โกฺลน) ก. เกลาไว้, ทำเป็นรูปเลา ๆ ไว้, เช่น โกลนไม้ โกลนเรือ |
โกลน | เรียกเรือที่ทำจากซุงเพียงเปิดปีกเจียนหัวเจียนท้ายเป็นเลา ๆ พอให้มีลักษณะคล้ายเรือแต่ยังไม่ได้ขุด ว่า เรือโกลน. |
โกลาหล | (-หน) น. เสียงกึกก้อง. |
โกลาหล | (-หน) ว. อื้ออึง, เอิกเกริก, วุ่นวาย, (โบ; กลอน) ใช้เป็น โกลา โกลี ก็มี เช่น เสียงโห่โกลาเกรียงไกร (คำพากย์), พระกุมารโกรธใจเป็นโกลี (ไชยเชฐ). |
ติเรือทั้งโกลน | ก. ตำหนิสิ่งที่ยังทำไม่เสร็จหรือที่ยังไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร, ติพล่อย ๆ ไปเสียก่อนที่จะรู้ว่าอะไรเป็นอะไร, มักใช้เข้าคู่กับ ติโขนยังไม่ได้แต่งตัว เป็น ติเรือทั้งโกลน ติโขนยังไม่ได้แต่งตัว. |
ทอดโกลน | (-โกฺลน) น. เอาไม้ท่อนกลม ๆ วางเป็นระยะเพื่อลากของที่หนักมาบนนั้น. |
บังโกลน, บังโคลน | (-โกฺลน, -โคฺลน) น. เครื่องบังเหนือล้อรถ ป้องกันโคลนมิให้กระเด็นขึ้นมาเปื้อนรถ. |
มองโกลอยด์ | น. ชนชาติผิวเหลือง มีลักษณะผมดำเหยียด หน้ากว้าง จมูกเล็ก ตาเรียว เช่น จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม. |
เรือโกลน | (-โกฺลน) น. เรือที่ทำจากซุง เพียงเปิดปีกเจียนหัวเจียนท้ายเป็นเลา ๆ พอให้มีลักษณะคล้ายเรือแต่ยังไม่ได้ขุด. |
ลูกโกลน | (-โกฺลน) น. สิ่งที่ใช้ต่างลูกกลิ้งวางเป็นระยะ ๆ ไป เพื่อรองรับสิ่งที่หนักหรือใหญ่โตให้เคลื่อนย้ายชะลอไปได้สะดวก. |
เฮโมโกลบิน | (-โกฺล-) น. สารที่ให้สีแดงในเม็ดเลือดแดง ประกอบขึ้นด้วยโปรตีนที่เรียกว่า โกลบิน และ เฮม ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีเหล็ก ไนโตรเจน คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็นองค์ประกอบ มีหน้าที่นำออกซิเจน ซึ่งร่างกายสูดหายใจเข้าทางปอดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยออกซิเจนเกาะติดไปในรูปออกซิเฮโมโกลบิน และออกซิเจนแยกตัวออกได้ง่ายจากเฮโมโกลบินเมื่อไปถึงส่วนอื่นของร่างกายที่ต้องการใช้. |
กระทงป่า | น. ไม้พาดปากมาดเรือโกลนชั่วคราว. |
กล้อ ๑ | (กฺล้อ) น. เรือโกลน. |
กล้อง ๒ | เกลา, โกลน |
กุลาหล | (-หน) ว. โกลาหล เช่น สนั่นครั่นครื้นกุลาหล (รามเกียรติ์ ร. ๑). |
แกนทราย | น. แกนที่ใช้ในการหล่อพระพุทธรูปหรืองานประติมากรรมไทยด้วยวิธีสูญขี้ผึ้ง ทำด้วยทรายผสมดินเหนียว หมักให้ชุ่มและเหยียบให้เข้ากันจนเหนียว จึงปั้นขึ้นเป็นรูปเลา ๆ เรียกว่า โกลน แล้วผึ่งให้แห้ง จากนั้นเอาขี้ผึ้งพอกและปั้นส่วนผิวจนเป็นรูปตามที่ต้องการ. |
โกษ ๒ | (โกด) น. โลก เช่น อันว่าโกลาหลแต่ผืนแผ่น ดลเท้าแท่นพรหมโกษ (ม. คำหลวง กุมาร). |
ตาด ๔ | น. ชื่อมองโกลเผ่าหนึ่งที่ชอบรบราฆ่าฟันและอพยพเร่ร่อนอยู่เสมอ บางทีก็เรียกว่า ตาดมองโกล, ชื่อภาษาของพวกตาด ใช้พูดกันในดินแดนตั้งแต่ทิวเขาอูราลทางตะวันตกไปจนถึงทิวเขาอัลไตทางตะวันออก. |
มาด ๑ | น. ชื่อเรือขุดชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๔ วา, ถ้าเพียงแต่ขุดไว้ แต่ยังไม่ได้เบิก เรียกว่า มาดเรือโกลน หรือ ลูกมาด, ถ้ามีประทุน เรียกว่า เรือมาดประทุน, ถ้ามีเก๋ง เรียกว่า เรือมาดเก๋ง. |
ยุคมืด | น. ช่วงแรกของสมัยกลางในประวัติศาสตร์ยุโรป ประมาณ ๖๐๐ ปี ระหว่าง พ.ศ. ๑๐๕๐-๑๖๕๐ เป็นยุคที่ประชาชนมีแต่ความมืดมนหมดหวังในชีวิต เพราะถูกพวกตาดมองโกลทำลายล้าง และไม่มีความเจริญทางสติปัญญาเพราะศาสนาไม่เปิดโอกาสให้คิดอย่างเสรี, โดยปริยายหมายถึงยุคที่ประชาชนหมดหวังในชีวิต. |
เรือมาด | น. เรือขุดชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๔ วา, ถ้าเพียงแต่ขุดไว้ แต่ยังไม่ได้เบิก เรียกว่า มาดเรือโกลน หรือ ลูกมาด, ถ้ามีประทุน เรียกว่า เรือมาดประทุน, ถ้ามีเก๋ง เรียกว่า เรือมาดเก๋ง. |
ละแมะ | น. เครื่องมือรูปคล้ายจอบ สำหรับถากเรือโกลน. |
ลูกมาด | น. เรือมาดที่ขุดแล้วแต่ยังไม่ได้เบิก, มาดเรือโกลน ก็เรียก. (ดู มาด ๑). |
สัตถันดร, สัตถันดรกัป | (สัดถันดอน, สัดถันดะระกับ) น. ระยะเวลาที่คนเสื่อมจากศีลธรรมอย่างที่สุด มีการรบราฆ่าฟันกัน ไม่รู้จักญาติพี่น้อง เกิดขึ้นเมื่อมนุษย์มีโทสะหนา เช่น ห้าขวบมีฆราวาส ใจร้ายกาจโกลี กัลปนั้นมีนามกร ชื่อสัตถันดรพึงมี (มาลัยคำหลวง). (ป. สตฺถ ว่า อาวุธ + อนฺตร). (ดู อันตรกัป ประกอบ). |
หุ่น | รูปปั้นหรือแกะสลักที่ทำโกลนไว้เพื่อเป็นแบบชั่วคราว, (ปาก) รูปทรงของร่างกายเป็นต้น เช่น คนนี้หุ่นดี |
Anglo-American Cataloguing Rules | หลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน, Example: เป็นหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่มีการใช้อย่างกว้างขวางในห้องสมุดและหน่วยงานบริการสารสนเทศทั่วโลก ซึ่งเป็นมาตรฐานในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นสื่อความหมายให้ตรงกัน ไม่ว่าสารสนเทศนั้นจะจัดทำหรือใช้ในที่ใด ประเทศใด ภาษาใดก็ตาม สามารถใช้สารสนเทศร่วมกัน และแลกเปลี่ยนกันได้จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967 และ ได้มีการปรับปรุง และแก้ไขเพิ่มเติมอยู่เสมอ ปัจจุบันเป็นฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม ค.ศ. 1998 (Anglo-American Cataloguing Rules, 2nd ed. 1998 Revision) หรือเรียกอย่างย่อว่า AACR2R จัดทำโดยความร่วมมือของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน คณะกรรมการลงรายการของประเทศออสเตรเลียและของประเทศแคนาดา สมาคมห้องสมุดอังกฤษและหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยอาศัยมาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรม (ISBD) เป็นหลัก ปัจจุบันกล่าวได้ว่า ISBD เป็นส่วนเดียวกับ AACR2R <p> AACR2R ได้กำหนดรูปแบบในการลงรายการบรรณานุกรมออกเป็น 8 ส่วน คือ <p> 1) ส่วนชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ <p> 2) ส่วนฉบับพิมพ์ <p> 3) ส่วนรายละเอียดเฉพาะวัสดุ หรือประเภทของสิ่งพิมพ์ <p> 4) ส่วนการพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p> 5) ส่วนลักษณะทางกายภาพ <p> 6) ส่วนชุด <p> 7) ส่วนหมายเหตุ <p> 8) ส่วนเลขมาตรฐานและข้อความที่เกี่ยวกับการได้รับ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Gamma globulins | แกมมาโกลบุลิน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Globin genes | โกลบินยีน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Globulins | โกลบุลิน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Adobe GoLive | อะโดเบ โกลีฟ [TU Subject Heading] |
Aglaonema | อโกลนีมา [TU Subject Heading] |
Anglo-American cataloging rules | กฎเกณฑ์การทำรายการแบบแองโกลอเมริกัน [TU Subject Heading] |
Art, Anglo-Saxon | ศิลปะแองโกล-แซกซอน [TU Subject Heading] |
Carboxyhemoglobin | คาร์บอกซี่ฮีโมโกลบิน [TU Subject Heading] |
Fetal hemoglobin | ฮีโมโกลบินทารกในครรภ์ [TU Subject Heading] |
Globins | โกลบิน [TU Subject Heading] |
Glomerulonephritis | โกลเมอรุโลเนไพรติส [TU Subject Heading] |
Hemoglobin A, Glycosylated | ไกลโคไซแลท ฮีโมโกลบิน เอ [TU Subject Heading] |
Hemoglobin E | ฮีโมโกลบิน อี [TU Subject Heading] |
Hemoglobin H | ฮีโมโกลบิน เอช [TU Subject Heading] |
Hemoglobinopathies | โรคเกิดจากฮีโมโกลบินผิดปกติ [TU Subject Heading] |
Hemoglobins | ฮีโมโกลบิน [TU Subject Heading] |
Hemoglobins, Abnormal | ฮีโมโกลบินผิดปกติ [TU Subject Heading] |
Immunoglobulin M | อิมมูโนโกลบุลิน เอ็ม [TU Subject Heading] |
Immunoglobulins, Thyroid-stimulating | อิมมูโนโกลบุลินชนิดกระตุ้นต่อมไทรอยด์ [TU Subject Heading] |
Magic, Anglo-Saxon | ไสยศาสตร์แองโกล-แซกซอน [TU Subject Heading] |
Mongols | ชาวมองโกล [TU Subject Heading] |
ProShow Gold | โปรโชว์ โกลด์ [TU Subject Heading] |
Rho(D) immune globulin | โร(ดี) อิมมูน โกลบูลิน [TU Subject Heading] |
Sequencer Plus Gold | ซีเควนเซอร์ พลัส โกลด์ [TU Subject Heading] |
Stapes surgery | ศัลยกรรมกระดูกโกลน [TU Subject Heading] |
Cobra Gold | การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์ เป็นการฝึกทางทหารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งกองทัพไทยและกองกำลังสหรัฐอเมริกาภาคพื้นแปซิฟิก (USPACOM) ร่วมกันเป็น เจ้าภาพจัดการฝึกในประเทศไทยเป็นประจำทุกปี การฝึกคอบร้าโกลด์พัฒนามาจากการฝึกผสมยกพลขึ้นบกระหว่างกองทัพเรือไทยกับกอง ทัพเรือสหรัฐอเมริกาและกองกำลังนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา ซึ่งทำการฝึกร่วมกันมาตั้งแต่ พ.ศ. 2499 ต่อมาใน พ.ศ. 2525 ได้รวมการฝึกหลายอย่างเข้าด้วยกันแล้วกำหนดชื่อรหัสการฝึกขึ้นใหม่ว่า "การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์" ปัจจุบัน มีประเทศที่ร่วมฝึกรวม ทั้งร่วมสังเกตการณ์หลายประเทศ รวมทั้งได้ขยายการฝึกครอบคลุมการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม การตอบโต้การก่อการร้ายด้วย [การทูต] |
Common Market for Eastern and Southern Africa | ตลาดร่วมแห่งภูมิภาคแอฟริกาตะวันออกและแอฟริกาตอนใต้ " จัดตั้งขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม 2537 มีประเทศสมาชิกรวม 20 ประเทศ ได้แก่ แองโกลา บุรุนดี คอโมโรส สาธารณรัฐประชาธิปไตย คองโก จิบูตี อียิปต์ เอริเทรีย เอธิโอเปีย เคนยา มาดากัสการ์ มาลาวี มอริเชียส นามิเบีย รวันดา เซเชลส์ ซูดาน สวาซิแลนด์ แซมเบีย ซิมบับเว และยูกันดา " [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Plan Puebla-Panama | สมาชิก เม็กซิโก เบลิซ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส เอลซัลวาดอร์ นิการากัว คอสตาริกา และปานามา วัตถุประสงค์ ริเริ่มโดยประธานาธิบดี Vicente Fox ของเม็กซิโก เมื่อปี พ.ศ. 2543 เพื่อแสวงหาความร่วมมือและให้การสนับสนุนด้านเงินทุนแก่ประเทศภูมิภาค อเมริกากลางในการเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมและสาธารณูปโภค เช่น ถนน สายส่งไฟฟ้า ท่อก๊าซ ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจจากเม็กซิโกลงไปยังประเทศทางตอนใต้ ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศร่วมกัน และเพื่อแก้ไขปัญหาการอพยพของแรงงานผิดกฎหมายจากประเทศในแถบอเมริกากลางเข้า สู่เม็กซิโก หมายเหตุ Puebla เป็นชื่อเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของเม็กซิโก และเป็นจุดเริ่มต้นโครงการ ซึ่งสิ้นสุดที่ปานามา [การทูต] |
Southern African Development Community | ประชาคมเพื่อการพัฒนาแอฟริกาตอนใต้ " จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2535 ประกอบด้วย 14 ประเทศ คือ อังโกลา บอตสวานา เลโซโธ มาลาวี มอริเชียส โมซัมบิก นามิเบีย แอฟริกาใต้ สวาซิแลนด์ แทนซาเนีย แซมเบีย ซิมบับเว สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และเซเชลส์ " [การทูต] |
Dispersion | 1.ดิสเพอร์ชันหรือการแตกตัวเป็นขั้นตอนหนึ่งของกลไกการผสมสารตัวเติม เข้าไปในยางแห้ง ซึ่งจะเกิดขึ้นจากแรงเฉือนในการผสมที่ทำให้แอกโกลเมอเรตของอนุภาคสารตัวเติม แตกตัวต่อไปจนได้เป็นแอกกรีเกตซึ่งเป็นหน่วยเล็กที่สุดของสารตัวเติมที่ได้ จากการผสม ขั้นตอนนี้จะเกิดขึ้นพร้อมๆ กับการกระจายตัว เพื่อให้ได้สารตัวเติมที่มีการแตกตัวดีและการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอในยาง 2.สารเคมีที่กระจายตัวอยู่ในน้ำยาง [เทคโนโลยียาง] |
Agammaglobulinemia | อะแกมมาโกลบูลินนีเมีย, แกมมาโกลบูลินในเลือดต่ำ, แกมมาโกลบูลินพร่องในเลือด, อแกมมาโกลบูลินนีเมีย, ไม่มีแกมม่ากลอบบูลินในโลหิต [การแพทย์] |
Alpha 1 Globulin | สารแอลฟา 1 โกลบูลิน [การแพทย์] |
Alpha Globublins | แอลฟ่าโกลบูลิน [การแพทย์] |
Alpha Globulins | แอลฟ่าโกลบูลิน; แอลฟา โกลบูลิน, สาร; แอลฟาโกลบุลิน [การแพทย์] |
Alpha Macroglobulins | แอลฟา มาโครโกลบุลิน; แอลฟา มาโครโกลบูลิน, สาร [การแพทย์] |
Anti-Immunoglobulin | แอนติบอดีย์ต่ออิมมูโนโกลบุลิน [การแพทย์] |
Anti-Ir | แอนติบอดีย์ต่ออิมมูโนโกลบูลิน [การแพทย์] |
Antiglomerular Basement Membrane Disease | โรคแอนติโกลเมอรูลาร์เบสเมนท์เมมเบรน [การแพทย์] |
Arterioles, Afferent | หลอดเลือดที่นำเข้าไปสู่ไต, หลอดเลือดแดงเข้าโกลเมอรูลัส, หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่เข้าอาฟเฟอเรนอาร์เธอริโอล [การแพทย์] |
Arterioles, Afferent | อาฟเฟอเรนอาร์เธอริโอล, หลอดเลือดที่นำเข้าไปสู่ไต, หลอดโลหิตแดงขนาดเล็กที่เข้า, หลอดเลือดแดงเข้าโกลเมอรูลัส [การแพทย์] |
Arterioles, Glomerular, Afferent | หลอดเลือดแดงฝอยสู่โกลเมอรูลัส [การแพทย์] |
Aterioles, Efferent | หลอดเลือดแดงออกจากโกลเมอรูลัส, เอฟเฟอเรนท์อาร์เทอริโอล, หลอดโลหิตแดงขนาดเล็กที่ออก [การแพทย์] |
Beta Globulins | บีตาโกลบูลิน, สาร;เบตาโกลบุลิน;เบต้า-กลอบบูลิน [การแพทย์] |
Capillaries, Glomerular | กลุ่มของเส้นเลือดฝอย, กลุ่มร่างแหของหลอดเลือดฝอย, หลอดเลือดฝอยของโกลเมอรูลัส [การแพทย์] |
Capsules, Bowman's | เปลือกบาวแมน, โบว์แมนแคปซูล, เปลือกหุ้มโกลเมอรูลัส, บาวแมนแคปซูล [การแพทย์] |
Carboxyhemoglobin | คาร์บอกซีฮีโมโกลบิน, คาร์บอกซีย์ฮีโมโกลบิน [การแพทย์] |
Choleglobin | โคลีโกลบิน [การแพทย์] |
Cryoglobulins | ครัยโอโกลบูลิน [การแพทย์] |
bedlam | (n) ภาพโกลาหลอลหม่าน, Syn. chaos |
combustion | (n) ความวุ่นวาย, See also: ความสับสนอลหม่าน, ความอึกทึกครึกโครม, ความโกลาหล, Syn. tumult, turmoil, disturbance |
disorder | (n) ความวุ่นวาย, See also: ความอลหม่าน, ความไม่เป็นระเบียบ, ความโกลาหล, Syn. disorganiztion, clutter, Ant. order, organiztion |
disorder | (vt) ทำให้วุ่นวาย, See also: ทำให้สับสน, ทำให้ไม่สงบ, ทำให้ยุ่งเหยิง, ทำให้โกลาหล, Syn. disorganize, disarray, Ant. organize, arrange |
flurry | (n) ช่วงแห่งความตื่นเต้นหรือความโกลาหลที่เกิดขึ้นในเวลาอันสั้น, Syn. commotion, excitement |
globulin | (n) โปรตีนโกลบูลินซึ่งละลายในสารละลายน้ำเกลือ (ทางชีวเคมี) |
goldfinch | (n) นกตระกูล Carduelis, See also: นกโกลด์ฟินช์ |
haemoglobin | (n) ฮีโมโกลบิน, See also: เม็ดสีนำอ๊อกซิเจนที่อยู่ในเซลล์ของเม็ดเลือดแดง |
hemoglobin | (n) ฮีโมโกลบิน, See also: สารสีแดงของเม็ดเลือดแดง |
hurly-burly | (n) ความโกลาหลอลหม่าน, See also: การเอะอะโวยวาย |
on the move | (idm) กำลังวุ่นวาย, See also: โกลาหล |
incus | (n) กระดูกทั่งซึ่งอยู่ระหว่างกระดูกค้อนและโกลนในช่องหู |
khan | (n) ข่าน, See also: ยศตำแหน่งของผู้ปกครองของมองโกลและเตอร์คิช |
maelstrom | (n) ความอลหม่าน, See also: ความปั่นป่วน, ความสับสนวุ่นวาย, ความโกลาหล, Syn. turmoil, chaos |
mayhem | (n) ความโกลาหล (คำไม่เป็นทางการ), Syn. chaos, anarchy |
misrule | (n) ความวุ่นวาย, See also: ความโกลาหล, Syn. disorder, lawlessness, chaos, Ant. order |
Mongol | (n) ชาวมองโกล |
Mongoloid | (adj) เกี่ยวกับคนมองโกล |
moot | (n) สภาประชาชนในสมัยแองโกล-แซกซอนซึ่งมีอำนาจบริหารและร่างกฎหมาย |
oxyhemoglobin | (n) ฮีโมโกลบินจับกับอ็อกซิเจนที่ส่งจากปอดไปยังเนื้อเยื่อ |
pandemonium | (n) ความโกลาหล, See also: ความสับสนวุ่นวาย, Syn. turmoil, furor |
pellmell | (adj) ยุ่งเหยิง, See also: สับสนวุ่นวาย, โกลาหล, รีบๆ ร้อนๆ, Syn. hectic, bustling, feverish, Ant. calm |
pellmell | (adv) อย่างสับสนวุ่นวาย, See also: อย่างโกลาหล, Syn. quickly, hurriedly, frenetically, Ant. orderly, calmly |
pellmell | (n) ความสับสนอลหม่าน, See also: ความโกลาหล |
pell-mell | (adj) ยุ่งเหยิง, See also: สับสนวุ่นวาย, โกลาหล, รีบๆ ร้อนๆ, Syn. hectic, bustling, feverish, Ant. calm |
pell-mell | (adv) อย่างสับสนวุ่นวาย, See also: อย่างโกลาหล, รีบๆ ร้อนๆ, Syn. quickly, hurriedly, frenetically, Ant. orderly, calmly |
pell-mell | (n) ความสับสนอลหม่าน, See also: ความโกลาหล |
pother | (n) เสียงโกลาหล, See also: ความอึกทึกครึกโครม, ความยุ่งเหยิง, Syn. muddle |
pother | (vi) ยุ่งเหยิง, See also: โกลาหล, Syn. muddle, mess |
pother | (vt) ทำให้ยุ่งเหยิง, See also: ทำให้โกลาหล, Syn. muddle, mess |
razzle-dazzle | (n) ความโกลาหล |
riotously | (adv) อย่างโกลาหล, See also: อย่างจลาจล, Syn. fiercely |
riotousness | (n) ความโกลาหล, See also: การจลาจล |
bloods and guts | (sl) ความวุ่นวาย, See also: ความโกลาหล |
rough-and-tumble | (sl) ยุ่งวุ่นวาย, See also: ไม่เป็นระเบียบ, โกลาหล |
Saxon | (n) ชาวอังกฤษในศตวรรษที่ 5 และ 6, See also: ชาวแองโกลแซกซอน |
seethe | (vi) วุ่นวาย, See also: โกลาหล, วุ่นวาย, ยุ่ง, พลุกพล่าน |
seethe | (n) อาการเดือดพล่าน, See also: ความโกลาหล, ความเดือดดาล, ความวุ่นวาย |
shambles | (n) ความยุ่งเหยิง, See also: ความโกลาหล, สถานการณ์สับสนวุ่นวาย, Syn. chaos, confusion, mess, Ant. order |
squall | (n) ความโกลาหล, See also: ความวุ่นวายอย่างกะทันหัน, Syn. disturbance, tempest |
stampede | (n) ความแตกตื่นโกลาหล, See also: ความระส่ำระสาย, ความอลหม่าน, Syn. flight, rush, rout, panic |
stampede | (vt) ทำให้แตกตื่น, See also: ทำให้เกิดความโกลาหลอลหม่าน, ทำให้เกิดความระส่ำระสาย, Syn. frighten, rout |
stirrup | (n) โกลน, See also: เหล็กสำหรับเท้าเหยียบ เวลาขี่ม้า |
thane | (n) ขุนนางยุคแองโกลแซกซอน, Syn. knight |
to-do | (n) ความยุ่งเหยิง, See also: ความโกลาหล, Syn. commotion, fuss |
tumultuous | (adj) อึกทึกครึกโครม, See also: โกลาหล |
yellow | (adj) เกี่ยวกับชนชาติผิวเหลือง, See also: เกี่ยวกับชนชาติมองโกลอยด์ |
aglow | (อะโกล') adj. สว่าง, วาววับ, เปล่งปลั่ง |
alpenglow | (แอล' เพนโกล) n. แสงเรืองสีแสดที่มักเห็นบนยอดเขาในเวลาก่อนพระอาทิตย์ หรือหลังพระอาทิตย์ตกเล็กน้อย (a reddish glow) |
anglo- french | (แอง' โกลเฟรนซฺ) adj. เกี่ยวกับอังกฤษและฝรั่งเศส. -n. ภาษาฝรั่งเศสี่ใช้ในอังกฤษโดยชาวนอร์มันในปลายยุคกลาง., Syn. Anglo-Norman |
anglo-american | (แอง' โกล อะเม' ริกัน) adj., n. เกี่ยวกับอังกฤษและอเมริกา (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) คนอังกฤษที่ไปตั้งรกรากที่อเมริกา. -Anglo-Americanism n. |
anglo-catholic | (แอง' โกลแคธ' โธลิค) n. adj, ผู้นับถือนิกาย Church of England แต่ยึดถือลักษณะของคาธอลิค. -Anglo-Catholicism (opposing a Protestant designation) |
anglo-indian | (แอง' โกลอิน' เดียน) adj. เกี่ยวกับอังกฤษและอินเดีย. -n. คนที่มีเชื้อสายอังกฤษและอินเดียรวมกัน, ภาษาที่คนเหล่านี้พูดกัน |
anglo-norman | (แอง' โกลนอร์' มัน) adj. เกี่ยวกับสมัย ค.ศ.1066-1155 เมื่ออังกฤษถูกปกครองโดยชาวนอร์มัน, เกี่ยวกับภาษาฝรั่งเศสที่ใช้ในอังกฤษในสมัยดังกล่าว. -n. คนหรือภาษาในสมัยดังกล่าว |
anglo-saxon | (แอง' โกล' แซคเซิน) n. คนที่มีภาษาแม่เป็น อังกฤษ, คนอังกฤษสมัยก่อนที่ชาวนอร์มันเข้าครอบครอง, คนชาวอังกฤษ, คนที่มีบรรพบุรุษ เป็นอังกฤษ, ภาษาอังกฤษง่าย -adj. เปิดเผย, ตรงไปตรงมา, ทื่อ |
anglomania | (แอง' โกลเม' เนีย) n. โรคบ้าอังกฤษ. -Anglomaniac n., -Anglomaniacal adj. (Anglo+mania) |
anglophil | (e) (แอง' โกลไฟล์ -ฟิล) n. คนที่นอยมชมชอบอังกฤษ. -Anglophilia n., -Anglophilic adj. (who admires England) |
anglophobe | (แอง' โกลโฟบ) n. คนที่นิยมชมชอบอังกฤษ. -Anglophobia n., -Anglophobiac, Anglophobic adj. |
bobbery | n. ความวุ่นวาย , ความโกลาหล, |
conflagrant | (คันไฟล'เกรินทฺ) adj. กำลังลุกไหม้, เป็นเพลิง, โกลาหล, Syn. blazing, burning |
conglobe | (คอนโกลบ) { conglobed, conglobing, conglobes } vi., vt. จับหรือเกาะเป็นลูกหรือก้อนกลม |
gloam | (โกลม) n. สายัณห์, เวลาพลบค่ำ |
gloaming | (โกลม'มิง) n. สายัณห์, เวลาพลบค่ำตะวันยอแสง |
gloat | (โกลท) vi., n. (การ) มองด้วยความอิ่มใจมากหรือละโมบ., See also: gloater n. gloatingly adv. |
global | (โกล'เบิล) adj. ทั่วโลก, ทั้งโลก, ทั้งหมด, เป็นรูปโลก., Syn. universal, worldwide |
globate | (โกล'เบท) adj. เป็นรูปโลก |
globe | (โกลบ) n. โลก, รูปทรงกลม, ลูกโลก v. ทำให้หรือกลายเป็นโลก, Syn. orb, sphere |
glossitis | (โกลไซ'ทิส) n. ลิ้นอักเสบ., See also: glossitic adj |
glow | (โกล) n., vi. (เปล่ง) แสงที่เปล่งออกมา, แสงเรือง, ความแดงเรื่อ, สีเลือด, ความสดใสของสี, ความเร่าร้อน, Syn. gleam, colour, burn |
glower | (โกล'เออะ) vi. จ้องเขม็งอย่างถมึง n. หน้าตาที่แสดงความไม่พอใจหรือความโกรธ., See also: gloweringly adv., Syn. scowl, frown, lower |
glowfly | (โกล'ไฟล) n. หิ่งห้อย |
glowworm | (โกล'เวิร์ม) n. หนอนกระสือสามารถเปล่งแสงเรืองสีเขียว |
gloze | (โกลซ) v., n. อำพราง, ปิดบัง, พูดกลบเกลื่อน, สอพลอ, อธิบาย, ให้ข้อคิดเห็น. |
goal | (โกล) n. เป้าหมาย, ประตูฟุตบอล, Syn. aim, end |
gold | (โกลดฺ) n. ทอง |
goldarn | (โกล'ดาร์น') n., adj. ดูgoddamn |
golden | (โกล'เดิน) adj. สีทอง, ทำด้วยทอง, มีค่ามาก, ยอดเยี่ยม, งดงาม, เจริญรุ่งเรือง, ครบรอบ50 ปี., See also: goldenness n., Syn. splendid, precious |
goldsmith | (โกลด'สมิธ) n. ช่างทอง, นายธนาคาร, ผู้ให้กู้ยืมเงิน |
goldurn | (โกล'ดาร์น') n., adj. ดูgoddamn |
golliwogg | (โกล'ลิวอก) n. ตุ๊กตาประหลาดสีดำ, คนพิกล, Syn. galliwog |
haemoglobin | (ฮิ'มะโกลบิน, เฮม'มะ) n. ดูhemoglobin., See also: haemoglobic, haemoglobinous adj. |
heme | (ฮีม) n. สารย้อมสีเข้มที่ได้จากฮีโมโกลบิน |
hemoglobin | (ฮีมะโกล'บิน) n. สารสีแดงของเม็ดเลือดแดงที่มีหน้าที่นำออกชิเจนจากปอดสู่เนื้อเยื่อ, See also: hemoglobic, hemoglobinous adj. |
hemoglobinuria | (ฮีมะโกลบินิว'เรีย) n. ภาวะปัสสาวะมีฮีโมโกลบิน., See also: hemoglobinuric adj. |
hemolysin | n. สารละลายเม็ดโลหิตแดงให้ปล่อยให้ฮีโมโกลบินออกมา. |
hemolysis | การแตกตัวของเม็ดโลหิตแดงขณะปล่อยฮีโมโกลบินออกมา, See also: hemolytic adj. |
hoopla | (ฮู'พละ) n. ความโกลาหล, ความอึกทึกครึกโครม, การพูดหรือข้อเขียนที่บิดเบือนความจริง |
hubbub | (ฮับ'บับ) n. เสียงดังสับสน, ความโกลาหล, Syn. uproar |
marigold | (แม'ริโกลดฺ) n. พืชดาวเรืองโดยเฉพาะจำพวก Tagetes |
mogul | (โม'เกิล, โมเกิล') n. ชาวมองโกลผู้พิชิตอินเดียที่ตั้งอาณาจักรขึ้นในสมัย ค.ศ.1526-1857, ผู้สืบเชื้อสายชาวมองโกลดังกล่าว, ชาวมองโกล, บุคคลที่สำคัญมีอำนาจหรือมีอิทธิพล |
moil | (มอยลฺ) vi. ทำงานหนัก, เข็น, ทำงานเหนื่อยยาก n. งานหนัก, ความยุ่งเหยิง, ความโกลาหล., See also: moiler n. |
mongol | (มอง'เกิล, -กอล, มอน'โกล) n. ชาวมองโกเลีย, ชาวมองโกล, ภาษามองโกล, ผู้เป็นโรคMongolism (ดู) |
mongolism | (มอง'กะลิสซึม) n. ภาวะที่มีลักษณะใบหน้าคล้ายพวกมองโกลคือมีกะโหลกศีรษะกว้างและแบนตาหยีและระดับสติปัญญาต่ำ., Syn. Mongolianism, Mongolian idiocy, Down's syndrome |
mongoloid | (มอง'กะลอยดฺ, มอน'กะลอยดฺ) adj. คล้ายมองโกล |
pandemonium | (แพนดะโม'เนียม) n. ความโกลาหล |
pangolin | (แพง'โกลิน) n. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีเกล็ดกว้างใหญ่ ซ้อนกัน มันกินมดที่มีลำตัวเป็นเกล็ดใหญ่., Syn. scaly aneater |
pother | (พอธ'เธอะ) n., v. (ทำให้เกิด, กลาย) เสียงโกลาหล, ความอึกทึกครึกโครม, ความยุ่งเหยิง, กลุ่มควันที่ตลบ. |
ado | (n) ความยุ่งยาก, ความวุ่นวาย, ความโกลาหล, ความกังวลใจ |
bobbery | (adj) โกลาหล, วุ่นวาย |
bobbery | (n) ความโกลาหล, ความวุ่นวาย |
chaos | (n) ความสับสนวุ่นวาย, ความยุ่งเหยิง, ความโกลาหล, กลียุค |
chaotic | (adj) โกลาหล, สับสนอลหม่าน, ยุ่งเหยิง, วุ่นวาย, ไม่มีระเบียบ |
conflagration | (n) เพลิงไหม้, อัคคีภัย, การลุกฮือ, ความโกลาหล |
disorderly | (adj) ยุ่งเหยิง, โกลาหล, อลหม่าน, วุ่นวาย, สับสน, ไม่เป็นระเบียบ |
HURLY-hurly-burly | (n) ความอลหม่าน, ความฉุกละหุก, ความวุ่นวาย, ความโกลาหล |
pellmell | (adj) อลหม่าน, สับสน, โกลาหล, วุ่นวาย, ยุ่งเหยิง |
pellmell | (n) ความอลหม่าน, ความสับสน, ความโกลาหล, ความวุ่นวาย |
pother | (n) ความยุ่งเหยิง, ความโกลาหล, ความอึกทึกครึกโครม |
pother | (vi) ยุ่งเหยิง, โกลาหล, อึกทึกครึกโครม |
riot | (n) ความวุ่นวาย, ความอลหม่าน, การจลาจล, ความโกลาหล |
riotous | (adj) วุ่นวาย, อลหม่าน, โกลาหล, เกี่ยวกับการจลาจล |
squall | (n) เสียงดัง, พายุ, ฝนไล่ช้าง, ความโกลาหล |
stirrup | (n) โครงค้ำ, โกลน |
storm | (n) ลมมรสุม, พายุ, การระดมยิง, ความโกลาหล |
stormy | (adj) รุนแรง, มีพายุจัด, ดุเดือด, โกลาหล |
turbulence | (n) ความวุ่นวาย, ความอลหม่าน, ความโกลาหล |
turbulent | (adj) วุ่นวาย, อลหม่าน, โกลาหล, เป็นบ้า, พล่าน, เชี่ยว |
turmoil | (n) ความยุ่งเหยิง, ความโกลาหล, ความสับสน |
uproar | (n) เสียงอึกทึก, การเอะอะ, ความโกลาหล, ความสับสนวุ่นวาย |
welter | (n) การล้มลุก, ความสับสน, ความยุ่งเหยิง, ความโกลาหล |
welter | (vi) ล้มลุก, กลิ้งเกลือก, มั่วสุม, หมกมุ่น, ยุ่งเหยิง, โกลาหล |
whir | (n) เสียงหวือ, เสียงหึ่ง, เสียงกระหึ่ม, ความโกลาหล |
whirl | (n) การหมุน, วง, การหมุนเวียน, การปั่น, น้ำวน, ความโกลาหล |