โจทก์ | (n) plaintiff, See also: complainant, persecutor, Ant. จำเลย, Example: ศาลวินิจฉัยว่าข้อคัดค้านของโจทก์ไม่ถูกต้อง, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลผู้ฟ้องคดีต่อศาล, Notes: (กฎหมาย) (บาลี/สันสกฤต) |
โจทย์ | (n) problem (in mathematics), See also: question, Syn. ปัญหา, Ant. เฉลย, Example: ผมต้องเสียเวลาทำโจทย์ข้อนี้อยู่หลายวัน, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: คำถามในวิชาคณิตศาสตร์ |
พยานโจทย์ | (n) witness for the prosecution, Count Unit: ปาก, คน, Thai Definition: ผู้รู้เห็นที่ให้การฝ่ายโจทก์ |
โจท | (โจด) ก. ฟ้อง เช่น ทาสโจทเจ้าว่ามิได้เปนทาสก็ดีว่าได้ส่งเงินค่าตัวแล้วก็ดี (สามดวง). |
โจทเจ้า | ก. เอาความผิดของเจ้าไปโพนทะนา |
โจทเจ้า | เอาใจออกหาก. |
โจทก์ | (โจด) น. บุคคลผู้ฟ้องคดีต่อศาล |
โจทก์ | พนักงานอัยการ หรือผู้เสียหายซึ่งฟ้องคดีอาญาต่อศาลหรือทั้งคู่ในเมื่อพนักงานอัยการและผู้เสียหายเป็นโจทก์ร่วมกัน |
โจทก์ | ผู้กล่าวหา. (เดิมเขียนเป็นโจทย์). |
โจทนา | (โจดทะนา) น. การทักท้วง, การฟ้องหา |
โจทนา | คำฟ้องหา. |
โจทย์ | (โจด) น. คำถามในวิชาคณิตศาสตร์, โดยปริยายใช้หมายถึงสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปัญหานี้เป็นโจทย์ที่รัฐบาลแก้ไม่ตก. |
แก้ต่าง | ก. ว่าความแทนจำเลย, ใช้คู่กับ ว่าต่าง ซึ่งหมายถึง ว่าความแทนโจทก์. |
คดีอนาถา | น. คดีแพ่งที่โจทก์หรือจำเลยได้รับอนุญาตจากศาลให้ฟ้องหรือต่อสู้คดีได้ โดยไม่ต้องเสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งหมดหรือบางส่วน. |
คำฟ้อง | น. กระบวนพิจารณาใด ๆ ที่โจทก์ได้เสนอข้อหาต่อศาลไม่ว่าจะเสนอด้วยวาจาหรือทำเป็นหนังสือ. |
คำฟ้องแย้ง | น. คำฟ้องที่จำเลยฟ้องโจทก์มาในคำให้การในเรื่องที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิมของโจทก์, ฟ้องแย้ง ก็ว่า เช่น ยกฟ้องแย้ง. |
เจือสม | ก. มีความสอดคล้องหรือสนับสนุนให้น่าเชื่อ เช่น คำให้การของพยานโจทก์กับพยานจำเลยเจือสมกัน. |
แถลงปิดคดี | ก. การที่โจทย์และจำเลยแถลงด้วยปากหรือหนังสือ หรือทั้ง ๒ อย่างเมื่อสืบพยานจำเลยเสร็จแล้ว เพื่อสรุปประเด็นข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายต่อศาลก่อนมีคำพิพากษา. |
แถลงเปิดคดี | ก. การที่โจทย์แถลงถึงลักษณะของฟ้อง อีกทั้งพยานหลักฐานที่จะนำสืบเพื่อพิสูจน์ความผิดของจำเลย หรือการที่จำเลยแถลงข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายซึ่งตั้งใจอ้างอิงพร้อมทั้งแสดงพยานหลักฐานที่จะนำสืบ. |
ทาง ๑ | ฝ่าย, ข้าง, ส่วน, (ในลักษณะที่แยกแนวกัน) เช่น ทางโจทก์ ทางจำเลย |
ทิ้งฟ้อง | ก. การที่โจทก์เพิกเฉยไม่ร้องขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อให้ส่งหมายเรียกให้แก้คดีแก่จำเลย และไม่แจ้งให้ศาลทราบเหตุแห่งการเพิกเฉยเช่นว่านั้นภายในกำหนดเจ็ดวัน นับแต่วันยื่นคำฟ้อง หรือการที่โจทก์เพิกเฉยไม่ดำเนินคดีภายในเวลาที่ศาลเห็นสมควรกำหนดไว้เพื่อการนั้นโดยได้ส่งคำสั่งให้แก่โจทก์โดยชอบแล้ว. |
ใบสัจ | น. เอกสารแสดงรายการสิ่งของที่ถูกปล้นเพื่อแจ้งแก่เจ้าหน้าที่, เอกสารบันทึกคำให้การของโจทก์และจำเลยซึ่งได้ความจริงทั้ง ๒ ฝ่ายแล้ว เช่น ถ้าแลส่งไปให้ปรับ ๆ มาว่าประการใดแล้วให้ยุกระบัตรพิจารณาดู ในใบสัจซึ่งปรับมาใส่ด้วยบทพระอายการ (สามดวง), บางทีเขียนเป็น ใบสัตย์ ก็มี เช่น หลวงญาณประกาศเทพราชธาดา พร้อมหน้านั่งฟังใบสัตย์อยู่ เชิญบทพระไอยการออกอ่านดู ผู้ปรับทั้งคู่อยู่พร้อมกัน (ขุนช้างขุนแผน). |
ประทับฟ้อง | ก. รับฟ้องคดีอาญาไว้พิจารณาต่อไป ในคดีอาญาที่ราษฎรเป็นโจทก์ศาลจะต้องไต่สวนมูลฟ้องเสียก่อนและถ้าปรากฏว่าคดีมีมูลแล้ว ศาลจึงจะประทับฟ้องไว้พิจารณาต่อไป. |
เปิดคดี | ก. การที่โจทก์หรือจำเลยแถลงต่อศาลถึงข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย อีกทั้งพยานหลักฐานที่จะอ้างอิงก่อนที่จะนำพยานเข้าสืบ. |
ฟ้องกลับ | ก. ฟ้องให้โจทก์กลับตกเป็นจำเลยในคดีอาญาด้วยเรื่องที่โจทก์ฟ้องมาก่อน เช่น ฟ้องกลับว่าฟ้องเท็จหรือเบิกความเท็จ. |
ฟ้องแย้ง | ก. การที่จำเลยฟ้องโจทก์มาในคำให้การในเรื่องที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิมของโจทก์. |
ระคน | ก. ปนหรือผสมให้เข้ากันคละกันเป็นกลุ่มเป็นพวกเป็นต้น เช่น โจทย์ระคน. |
เรียก | กำหนดเอา, ร้องเอา, เช่น หมอเรียกค่ารักษาพยาบาล โจทก์เรียกค่าเสียหาย รัฐบาลเรียกเก็บภาษี |
เลี้ยงความ | ก. อาการที่ทนายความของโจทก์และจำเลยสมคบกันถ่วงคดีความให้ล่าช้า โดยประสงค์ที่จะเรียกค่าใช้จ่ายในการว่าความที่ต้องยืดเยื้อออกไป. |
ว่าต่าง | ก. ว่าความแทนโจทก์, ใช้คู่กับ แก้ต่าง ซึ่งหมายถึง ว่าความแทนจำเลย. |
สติวินัย | น. วิธีระงับอนุวาทาธิกรณ์ของสงฆ์โดยไม่ต้องพิจารณา เพียงแต่สวดกรรมวาจาประกาศความไม่มีโทษของจำเลยไว้ซึ่งเรียกว่า ให้สติวินัย แล้วยกฟ้องของโจทก์เสีย. |
โจทก์ | [jōt] (n) EN: complainant ; plaintiff ; prosecutor ; accuser FR: plaignant [ m ] ; accusateur [ m ] |
โจทย์ | [jōt] (n) EN: mathematical problem ; mathematical question ; problem in arithmetic FR: problème de mathématique [ m ] ; problème [ m ] |
โจทนา | [jōtthanā] (v) EN: complain of ; accuse ; recriminate |
โจทนาว่ากล่าวซึ่งกันและกัน | [jōtthanā wā klāo seung kan lae kan] (v, exp) EN: indulge in mutual recriminations |
พยานโจทก์ | [phayān jōt] (n, exp) EN: witness for the prosecution ; witness for the Crown FR: témoin de l'accusation [ m ] |
ทนายโจทก์ | [thanāi jōt] (n, exp) EN: plaintiff's attorney ; plaintiff's counsel ; attorney for the plaintiff |
bill of indictment | n. การฟ้องที่โจทก์ยื่นต่อคณะลูกขุน |
complaint | (คัมเพลนทฺ') n. การบ่น, การร้องทุกข์, การแสดงความข้องใจ, มูลเหตุที่บ่นหรือร้องทุกข์, การฟ้องร้องคดีแพ่งในระยะแรกของโจทก์ |
demandant | (ดิมาน'ดันทฺ) n. โจทก์, ผู้เรียกร้อง |
orator | (ออ'ระเทอะ) n. ผู้กล่าวคำปราศรัย, นักโต้วาที, โจทก์, ผู้ร้องเรียน, Syn. discourser |
plaintiff | (เพลน'ทิฟ) n. โจทก์, ผู้ร้องทุกข์ |
problem | (พรอบ'เลิม) n. ปัญหา, ข้อปัญหา, โจทย์เรขาคณิต, โจทย์คณิตศาสตร์, หมากกล, เรื่องที่ต้องแก้ไขหรือต้องพิจารณากัน. adj. สอนยาก, เป็นปัญหา, Syn. question, riddle |
prosecutor | (พรอส'ซะคิวเทอะ) n. อัยการ, ผู้ฟ้องร้อง, โจทก์ |
replication | (เรพละเค'เชิน) n. คำตอบ, การตอบ, คำตอบของโจทก์, การตอบโต้แย้งของโจทก์, เสียงสะท้อน, เสียงก้อง, สำเนา, สิ่งจำลอง, การอัดสำเนา, การทำสิ่งจำลอง |
suitor | (ซู'เทอะ) n. ชายที่เกี้ยวผู้หญิง, โจทก์, ผู้ร้องทุกข์, ผู้ฟ้องร้อง, ผู้ขอร้อง., Syn. young man |
accuser | (n) โจทก์, ผู้ฟ้องร้อง |
claimant | (n) ผู้อ้างสิทธิ, ผู้เรียกร้องสิทธิ์, โจทก์ |
complainant | (n) ผู้ร้องทุกข์, โจทก์, ผู้ฟ้องร้อง, ผู้บ่น |
orator | (n) ผู้ปราศรัย, ผู้แสดงสุนทรพจน์, นักพูด, นักโต้วาที, โจทก์ |
plaintiff | (n) โจทก์, ผู้ร้องทุกข์ |
problem | (n) ปัญหา, โจทย์เลข, หมากกล |
proposition | (n) ข้อเสนอ, ทฤษฎีบท, โจทย์, เรื่อง, ปัญหา, ญัตติ, ข้อวินิจฉัย |
prosecutor | (n) ผู้ฟ้องร้อง, อัยการ, โจทก์ |
suitor | (n) โจทก์, ผู้หมั้นหมายผู้หญิง, ผู้ร้องทุกข์ |
sum | (n) จำนวนเงิน, ผลบวก, ยอดรวม, ข้อสรุป, โจทย์เลข |