Halobutyl rubber | ยาง XIIR เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งได้จากการทำปฏิกิริยาฮาโลจิเนชัน (Halogenation) ของยาง IIR กับก๊าซคลอรีน (Cl 2) หรือก๊าซโบรมีน (Br 2) ได้เป็นยางคลอโรบิวไทล์ (CIIR) หรือยางโบรโมบิวไทล์ (BIIR) ตามลำดับ ยางฮาโลบิวไทล์นี้มีปริมาณฮาโลเจนอยู่น้อยมากจึงไม่จัดอยู่ในพวกยางที่มี ขั้ว แต่ยางชนิดนี้คงรูปได้เร็ว มีระดับการคงรูปสูง และมีความต้านทานต่อการเกิด reversion ในระหว่างการคงรูปได้ดี ดังนั้นยางฮาโลบิวไทล์จึงสามารถใช้ผสมกับยางที่ไม่อิ่มตัวชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติได้ดีและยังสามารถเกิดการคงรูปร่วมกับยางที่ไม่อิ่มตัวชนิดอื่นๆ ได้ สมบัติของยางชนิดนี้โดยทั่วไปดีกว่ายาง IIR เล็กน้อย คือ มีอัตราการซึมผ่านของก๊าซต่ำกว่า มีความทนทานต่อโอโซน ความร้อน สภาพอากาศ และสารเคมีต่างๆ ได้ดีกว่า แต่มี hysteresis สูงกว่า การใช้งานนิยมใช้ผลิตยางโอริงหรือปะเก็นยางชนิดที่ต้องทนต่อสารเคมี ท่อไอน้ำ ยางบุด้านในของยางล้อแบบไม่มียางใน สายพาน ยางบุต่างๆ และจุกปิดขวดยา เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Bromination | การเติมโบรมีน [การแพทย์] |
Bromine | โบรมีน, สาร;โบรมีน;สารละลายโบรมีน [การแพทย์] |
Bromine Number | โบรมีนนัมเบอร์ [การแพทย์] |
Bromine Substitution Products, Water-Insoluble | ผลผลิตสารประกอบโบรมีนที่ไม่ละลายน้ำ [การแพทย์] |
Bromine, Free | โบรมีนอิสระ [การแพทย์] |
bromine | โบรมีน, ธาตุในหมู่เฮโลเจนหรือหมู่ VII ของตารางธาตุ มีเลขอะตอม 35 สัญลักษณ์ Br เป็นของเหลวสีแดงเข้ม กลิ่นฉุนแสบจมูกและเป็นพิษ มีจุดเดือด 58.8oC ใช้ทำสารประกอบในการถ่ายรูปและทำยา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
halogen | แฮโลเจน, ธาตุในหมู่ VII ในตารางธาตุได้แก่ ฟลูออรีน คลอรีน โบรมีน ไอโอดีน และแอสตาตีน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
mechanism of a reaction | กลไกของปฏิกิริยา, วิธีการแสดงว่าปฏิกิริยาเคมีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นได้อย่างไร ซึ่งอาจอธิบายได้โดยใช้สมการเคมีหลาย ๆ สมการ เช่น ปฏิกิริยาระหว่างไฮโดรเจน(H) กับโบรมีน(Br) เกิดเป็นไฮโดรเจนโบรไมด์(HBr) อาจอธิบายกลไกของปฏิกิริยาโดยใช้สมการเคมีต่ง ๆ ดังนี้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Merbromine | เมอร์โบรมีน, ยา; ยาแดง [การแพทย์] |