โลกา | (n) world, See also: earth, Syn. โลก, Example: สรรพสิ่งในโลกาล้วนสูญสลายเมื่อถึงกาลเวลา, Notes: (กวี) |
โลกาวินาศ | (adj) doomsday, See also: judgement day, Syn. โลกาพินาศ, Ant. อธิบดี, Example: วันโลกาวินาศมาถึงโลกจะถูกทำลายหมด จะไม่มีผู้คนหลงเหลืออยู่, Thai Definition: สูญสิ้นความเจริญ สวัสดิมงคล |
โลกาภิวัตน์ | (n) globalization, Example: ทุกวันนี้มีการพูดถึงโลกาภิวัตน์กันอย่างกว้างขวาง, Thai Definition: สังคมโลกในปัจจุบันที่มีการรวมตัวเป็นหนึ่งเดียวกันเพิ่มมากขึ้น เพราะผลสืบเนื่องมาจากความก้าวหน้าหรือการเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยีด้านการติดต่อสื่อสาร, Notes: (บาลี) |
โลกาภิวัตน์ | (n) globalization, Example: ในยุคโลกาภิวัตน์ เราสามารถติดต่อกันข้ามทวีปได้ชั่วปลายนิ้วสัมผัส, Thai Definition: การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น, Notes: (อังกฤษ) |
โลกาภิวัตน์ | (n) globalization, Example: ในยุคโลกาภิวัตน์ เราสามารถติดต่อกันข้ามทวีปได้ชั่วปลายนิ้วสัมผัส, Thai Definition: การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น, Notes: (อังกฤษ) |
โลกา | น. โลก. |
โลกาธิบดี | (-ทิบอดี, -ทิบบอดี) น. ผู้เป็นใหญ่ในโลก. |
โลกาธิปไตย | (-ทิปะไต, -ทิบปะไต) น. การถือโลกเป็นใหญ่. |
โลกานุวัตร | น. ความประพฤติตามโลก. |
โลกาภิวัตน์ | น. การแพร่กระจายไปทั่วโลก |
โลกาภิวัตน์ | การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นต้น. |
โลกามิส | น. เครื่องล่อใจให้ติดอยู่ในโลก ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส. |
โลกายัต | น. ชื่อหนึ่งของลัทธิปรัชญาฝ่ายวัตถุนิยมของอินเดีย ถือว่าโลกนี้เกิดจากการรวมตัวกันเองของวัตถุธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม ชีพหรือชีวิตเป็นเพียงผลิตผลของวัตถุธาตุที่รวมตัวกันนั้น คนเราเกิดครั้งเดียว ตายแล้วขาดสูญ ไม่มีโลกหน้า จึงควรแสวงหากามสุขเสียแต่วันนี้ พรุ่งนี้เราอาจตาย, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นอุจเฉททิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าตายแล้วสูญ, จารวาก ก็เรียก. |
โลกาวินาศ | ว. สูญสิ้นความเจริญสวัสดิมงคล ทางโหราศาสตร์ห้ามประกอบการมงคลต่าง ๆ ในวัน ยาม ฤกษ์ ราศี และดิถีที่เป็นโลกาวินาศ ทั้งนี้ตลอดปีนั้น, ตรงข้ามกับ อธิบดี. |
โลกา | ดู โลก, โลก-. |
โลกาธิบดี | ดู โลก, โลก-. |
โลกาธิปไตย | ดู โลก, โลก-. |
โลกานุวัตร | ดู โลก, โลก-. |
โลกาภิวัตน์ | ดู โลก, โลก-. |
โลกามิส | ดู โลก, โลก-. |
โลกายัต | ดู โลก, โลก-. |
โลกาวินาศ | ดู โลก, โลก-. |
กาลโยค | (กาละ-) น. การกำหนด วัน ยาม ฤกษ์ ราศี ดิถี ของแต่ละปี เป็น ธงชัย อธิบดี อุบาทว์ โลกาวินาศ. |
จารวาก | (จาระ-) น. ลัทธิโลกายัต. (ดู โลกายัต ที่ โลก, โลก-). |
เศรษฐกิจพอเพียง | น. ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเป็นแนวทางการดำรงชีวิตและปฏิบัติตนของประชาชนตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง ไม่ประมาท ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตให้รอดพ้นจากวิกฤติ มีความมั่นคงและยั่งยืนท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ. |
ไหนจะ | ว. สำนวนแสดงถึงความตัดพ้อต่อว่าด้วยความท้อใจเป็นต้น เช่น ไหนจะต้องเหนื่อยยากลำบากกาย ไหนจะอายทั่วทั้งโลกา (เพลงฝรั่งรำเท้า พระราชนิพนธ์ ร. ๖). |
อธิบดี | (อะทิบอดี, อะทิบบอดี) ว. มีความเจริญสวัสดิมงคล ทางโหราศาสตร์นิยมให้ประกอบการมงคลต่าง ๆ ในวัน ยาม ฤกษ์ ราศี และดิถีที่เป็นอธิบดี ทั้งนี้ตลอดปีนั้น ๆ, ตรงข้ามกับ โลกาวินาศ. |
อาราธนาธรรม | ก. ขอนิมนต์ให้พระภิกษุหรือสามเณรแสดงธรรม โดยกล่าวคำเป็นภาษาบาลีว่า พฺรหฺมา จ โลกาธิปติ สหมฺปติ … เทเสตุ ธมฺมํ อนุกมฺปิมํ ปชํ. |
globalization | โลกาภิวัตน์, การแพร่กระจายไปทั่วโลก; การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
globalisation | โลกาภิวัตน์, การแพร่กระจายไปทั่วโลก; การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Virtual university | มหาวิทยาลัยเสมือนจริง, มหาวิทยาลัยเสมือนจริง คือ การศึกษาแนวใหม่ในยุคโลกาภิวัฒน์ ที่มีลักษณะเป็นการสร้างฐานความรู้ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Learning Organization) ที่ใครก็ได้สามารถเรียนรู้จากแหล่งใดก็ได้ และเวลาใดก็ได้ [Assistive Technology] |
โลกาภิวัตน์ | การแพร่กระจายไปทั่วโลก การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ โลกาภิวัฒน์ [คำที่มักเขียนผิด] |
Arts and globalization | ศิลปกรรมกับโลกาภิวัตน์ [TU Subject Heading] |
Education and globalization | การศึกษากับโลกาภิวัตน์ [TU Subject Heading] |
Globalization | โลกาภิวัตน์ [TU Subject Heading] |
Globalization | โลกาภิวัฒน์, Example: กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้ความหลากหลายทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมืองในส่วนต่างๆ ของโลกมีความเหมือนกัน และสัมพันธ์ใกล้ชิดเปรียบเสมือนประเทศเดียวกัน เช่น นักลงทุนในลอนดอนสามารถซื้อหุ้นของญี่ปุ่นโดยตรงจากนายหน้าค้าหุ้นในกรุง โตเกียว โดยไม่ต้องผ่านบริษัทตัวแทนที่อยู่ในกรุงลอนดอนอีกทีหนึ่ง สาเหตุใหญ่ที่ทำให้เกิดกระบวนการโลกาภิวัฒน์ เนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทางเทคโนโลยี ด้านการติดต่อสื่อสาร รวมทั้งการลดระเบียบข้อบังคับและกฎเกณฑ์ของประเทศต่างๆ ในด้านต่างๆ ลง (ดู Deregulation) [สิ่งแวดล้อม] |
Young Ambassador of Virtue | ยุวทูตความดี " เป็นโครงการของกระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับกระทรวงศึกษา- ธิการ เริ่มโครงการตั้งวันที่ 5 ธันวาคม 2542 เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรมในบรรดาเยาวชนไทย อันเป็นการเสริมคุณภาพของเยาวชนไทยให้มีครบทั้งความเก่ง ความดี และมีความสุข โดยหวังผลในที่สุดว่าคุณภาพของเยาวชนรุ่นใหม่ของไทยจะเป็นการเสริมสร้างพื้น ฐานความแข็งแกร่งแก่สังคมไทยและส่งเสริมให้ความสามารถในการแข่งขันของไทยใน โลกอนาคตมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในยุคโลกา- ภิวัฒน์ นอกจากการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีความรู้คู่คุณธรรมแล้ว โครงการยุวทูตความดียังส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนไทยและเยาวชนของ ประเทศต่าง ๆ โดยผ่านทางโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง (Sister schools - โรงเรียนในประเทศที่ต่างกันที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน) " [การทูต] |
Bangkok Declaration : Global Dialogue and Dynamic Engagement | ปฏิญญากรุงเทพ : การหารือและการมีส่วนร่วมอย่างมีพลวัตของประชาคมโลก " หนึ่งในสองของเอกสารผลการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 ที่แสดงฉันทามติของประเทศสมาชิกอังค์ถัด 190 ประเทศ เกี่ยวกับผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งแสดงเจตนารมณ์ร่วมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอังค์ถัดที่จะร่วมมือ กันดำเนินนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพื่อทำให้สมาชิกทั้งหมด โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา ได้รับประโยชน์จากกระบวนการโลกาภิวัตน์ในด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อีกทั้งเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกิจโลก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบของกระบวนการโลกาภิวัตน์ได้ แม้ปฏิญญากรุงเทพจะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ก็เป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมือง เป็นสัญญาประชาคมที่ทุกประเทศสมาชิกอังค์ถัดมีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามแนว นโยบายที่ได้ร่วมกันแถลงไว้ในเอกสารดังกล่าว และเอกสารนี้สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการเจรจาหารือระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศในเรื่องของการเงิน การค้า การลงทุน และการพัฒนาได้ " [การทูต] |
Bangkok Plan of Action | แผนปฏิบัติการกรุงเทพ (ในการประชุมอังค์ถัด) เป็นเอกสารที่ระบุรายละเอียดของแนวนโยบาย วิธีการ และมาตรการในการดำเนินนโยบายด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการพัฒนาที่ประเทศสมาชิกอังค์ถัดได้ตกลงโดยฉันทามติเมื่อการประชุมอัง ค์ถัด ครั้งที่ 10 เพื่อให้ประเทศสมาชิกอังค์ถัดและสำนักเลขาธิการอังค์ถัดดำเนินการให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่แถลงไว้ในแถลงการณ์กรุงเทพ และเป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมืองเช่นเดียวกัน แผนปฏิบัติการกรุงเทพแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้ (1) การประเมินผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของโลกาภิวัตน์และการเปิดเสรีต่อการ พัฒนา (2) การประมวลพัฒนาการของข้อริเริ่มระหว่างประเทศที่สำคัญ ๆ (3) มาตรการและข้อริเริ่มต่าง ๆ ที่นำมาใช้โดยประชาคมระหว่างประเทศ เพื่อให้มั่นใจว่าประเทศกำลังพัฒนารวมตัวเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้ และ (4) บทบาทในอนาคตของอังค์ถัด [การทูต] |
globalisation (globalization) | โลกาภิวัตน์ [การทูต] |
marginalisation (marginalization) | การถูกเบียดตกขอบ สภาวการณ์ด้านเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่ออนาคตการพัฒนาและเศรษฐกิจของประเทศใด ประเทศหนึ่ง ทำให้ไม่สามารถเก็บเกี่ยวประโยชน์จากเศรษฐกิจโลกที่มีบูรณาการ (integration) เพิ่มขึ้น สภาพการณ์ดังกล่าวมักถูกมองว่าเกิดขึ้นควบคู่ไปกับโลกาภิวัตน์ และประเทศกำลังพัฒนาและประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุดมีโอกาสเสี่ยงที่จะตกอยู่ใน สภาวการณ์นี้ เนื่องจากประสบความยากลำบากในการปฏิบัติตามพันธกรณีการเปิดเสรีทางการค้า กอปรกับราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ประเทศเหล่านี้พึ่งพาตกต่ำลง [การทูต] |
The New Partnership for Africa?s Development | หุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน [การทูต] |
crack of doom | n. วันโลกาวินาศ. สัญญาณของวันโลกาวินาศ |
day of judgment | n. วันโลกาวินาศ |
doom | (ดูม) n. เคราะห์ร้าย, ชะตาขาด, ความตาย, ความหายนะ, คำพิพากษา, วาระสุดท้าย, วาระที่โลกาวินาศ vi. กำหนด, ถึงวาระ, ประณาม, พิพากษา, ชี้ชะตากรรม, Syn. fate, adverse fate |
doomsday | (ดูมซ'เดย์) n. วันโลกาวินาศ, วาระสุดท้าย, วันที่พระเจ้าพิพากษามนุษย์ทั้งหลายในโลก, Syn. domesday, Judgment Day |
last judgment | วันโลกาวินาศ, วันล้างโลก, วันตัดสินครั้งสุดท้ายของพระเจ้า., Syn. Last Assize, Last Inquest |