One day, Father Khwan Khao brought Khwan Khao to leave with Grandpa. | วันหนึ่งคุณพ่อของขวัญข้าวพาขวัญข้าวมาฝากไว้กับคุณปู่ เพราะคุณพ่อต้องไปขับรถส่งผู้โดยสารที่กรุงเทพมหานคร วันนี้คุณปู่พาขวัญข้าว มาดูข้าวที่คุณปู่ได้ปลูกไว้ จนถึงเย็นฝนก็ตกลงมา ขวัญข้าวจึงพูดว่าคุณปู่ตะรีบเข้าบ้านเดี๋ยวไม่สบาย คุณปู่จึงพูดว่าฝนไม่ได้ทำให้ไม่สบายหรอก แต่ต้องไปอาบน้ำ ตอนกลางคืนฝนก็ตกหนักมาก จนขวัญข้าวนอนไม่หลับ ขวัญข้าวตื่นมาให้คุณปู่เล่านิทานให้ฟังปู่เล่านิทานให้ฟังก็ได้ปู่ตอบ มีอยู่วันหนึ่งในดินเเดนแห้งเเร้งทุกคนไม่มีน้ำดื่ม จนกระทั่งวันหนึ่งมีจอบตกลงมาจากบนท้องฟ้า ทุกคนจึงหยิบจอบมาเพื่อขุด แต่ในดินแดนก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ทุกคนจึงเลิกขุด เเต่มีเด็กผู้ชายคนหนึ่งขุดไปเรื่อยๆจากที่ขุด1ไร่กลายเป็น2ไร่จากที่ขุด2ไร่กลายเป็น4ไร่ จนเด็กผู้ชายคนนั้นก็ล้มลง จากนั้นฝนก็ได้ตกลงมา ทุกคนจึงมีชีวิตอยู่ พอคูณปู่เล่าเสร็จคุณปู่หันไปไหว้รูปในหลวงรัชกาลที่่9 วันต่อมาโรงเรียนของขวัญข้าวมีกิจกรรมขายของ ขวัญข้าวจึงทำวุ้นมะพร้าวจากสีธรรมชาติ จอมขายมะม่วงกวน วันต่อมาคุณพ่อของขวัญข้าวมาหาขวัญข้าว แล้วทุกคนจึงเปิดโครงการ"ของขวัญจากดิน" เพราะทุกอย่างที่นำมาขายล้วนแต่ปลูกมาจากดbo |
เกลี้ยง ๑ | หมดไม่มีเหลือไม่มีอะไรติดอยู่ เช่น หมดเกลี้ยง กินเสียเกลี้ยง. |
เกลือกกลั้ว | ทำให้มัวหมอง, ทำให้มีมลทิน, เช่น ไม่มีอะไรมาเกลือกกลั้ว. |
ข่าวลือ | น. ข่าวที่พูดกันทั่วไป แต่ยังไม่มีอะไรยืนยันได้แน่นอน. |
จาน ๑ | น. ภาชนะรูปแบน ๆ สำหรับใส่สิ่งของต่าง ๆ, ลักษณนามเรียกจานที่ไม่มีอะไรบรรจุว่า ใบ หรือ ลูก เช่น จานใบหนึ่ง จาน ๒ ลูก, ลักษณนามเรียกสิ่งของที่บรรจุอยู่ในจานว่าจาน เช่น ข้าวจานหนึ่ง ข้าว ๒ จาน, เรียกของที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น จานเสียง, เรียกมะเขือชนิดหนึ่ง ว่า มะเขือจาน, คู่กับ มะเขือถ้วย. |
เจตภูต | (เจดตะพูด) น. สภาพเป็นผู้คิดอ่าน คือ มนัส, ที่เรียกในภาษาสันสกฤตว่า “อาตมัน” เรียกในภาษาบาลีว่า “อัตตา” ก็มี “ชีโว” ก็มี, มีอยู่ในลัทธิว่า “ในโลกนี้ไม่มีอะไรสูญ แม้คนและสัตว์ตายแล้ว ร่างกายเท่านั้นทรุดโทรมไป ส่วนเจตภูตเป็นธรรมชาติไม่สูญ ย่อมถือปฏิสนธิในกำเนิดอื่นสืบไป”, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นสัสตทิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าเที่ยง, ตามสามัญที่เข้าใจกัน เจตภูต คือวิญญาณที่สิงอยู่ในตัวคน กล่าวกันว่าออกจากร่างได้ในเวลานอนหลับ. |
ถ้วย ๑ | ลักษณนามเรียกถ้วยที่ไม่มีอะไรบรรจุว่า ใบ เช่น ถ้วยใบหนึ่ง ถ้วย ๒ ใบ, เรียกปริมาณของสิ่งที่บรรจุอยู่ในถ้วย ว่า ถ้วย เช่น แกงถ้วยหนึ่ง แกง ๒ ถ้วย |
แท้ | ว. ล้วน ๆ, ไม่มีอะไรเจือปน, เช่น เทียนขี้ผึ้งแท้, ไม่ปลอม, ไม่เทียม, เช่น นาฬิกาเรือนนี้ของแท้ กระเป๋าหนังแท้. |
บริสุทธิ์ | (บอริสุด) ว. แท้, ไม่มีอะไรเจือปน, เช่น ทองบริสุทธิ์, ปราศจากมลทิน, ปราศจากความผิด, เช่น เป็นผู้บริสุทธิ์, หมดจดไม่มีตำหนิ เช่น เพชรบริสุทธิ์ เครื่องแก้วบริสุทธิ์ |
เปล่า | (เปฺล่า) ว. ไม่มีอะไรนอกจากตัวของมันเองที่อ้างถึง เช่น ขวดเปล่า มือเปล่า, ว่าง ๆ |
เปลือย | (เปฺลือย) ว. ไม่มีอะไรปกปิดร่างกาย เช่น เปลือยหลัง เปลือยไหล่ |
ล้นพ้น | ว. ยิ่งยวด, ไม่มีอะไรเปรียบ, เช่น ยากจนเป็นล้นพ้น พ่อแม่มีพระคุณเป็นล้นพ้น. |
ล้วน, ล้วน ๆ | ว. แท้, เป็นอย่างเดียวกันหมด, ไม่มีอะไรปน, เช่น ทองล้วน เงินล้วน ๆ. |
ล่อนจ้อน | ว. ไม่มีอะไรปกปิดร่างกาย, ไม่มีอะไรติดตัว, เช่น เปลือยกายล่อนจ้อน, โดยปริยายหมายความว่า ไม่มีของมีค่าติดตัว เช่น มาแต่ตัวล่อนจ้อน. |
ลอย | ว. ไม่มีอะไรคุ้มหรือผูกไว้ (ใช้ในการเล่นหมากรุก) เช่น โคนลอย ม้าลอย. |
ลือ | ก. พูดกันทั่วไป แต่ยังไม่มีอะไรยืนยันได้แน่นอน เช่น เขาลือว่าจะเกิดเหตุที่ท่าน้ำ, (โบราณ ใช้ ฦๅ). |
โล่ง | ว. มีลักษณะว่าง เตียน ไม่มีอะไรกีดกั้นหรือปิดบัง เช่น ที่โล่ง ป่าถูกตัดต้นไม้เสียโล่ง, ที่เปิดตลอดไม่มีอะไรกีดกั้นหรือปิดบัง เช่น ห้องโล่ง, โดยปริยายหมายความว่า ปราศจากอุปสรรค เช่น เปิดทางโล่งแล้ว. |
ว่าง | ว. เปล่า, ไม่มีอะไรนอกจากตัวของมันเองที่อ้างถึง, เช่น ห้องว่าง ที่ว่าง ตำแหน่งว่าง, บางทีใช้ควบคู่กับคำ เปล่า เป็น ว่างเปล่า |
ว่าง ๆ | ว. ไม่มีอะไรจะทำ, ไม่มีภาระ, เช่น อยู่ว่าง ๆ ไม่รู้จะทำอะไร. |
ว่างเปล่า | ว. ไม่มีอะไรเลย เช่น โต๊ะตัวนี้ว่างเปล่าไม่มีของวางอยู่เลย. |
ว่างมือ | ว. ไม่มีอะไรทำ เช่น ว่างมือเมื่อไร จะช่วยตัดเสื้อให้. |
ศูนยภาพ | น. ความไม่มีอะไร, ความว่างเปล่า. |
สนิท | กลมกล่อม, กลมกลืน, ในลักษณะที่เข้ากันได้ดีไม่มีอะไรบกพร่อง ซึ่งดูประหนึ่งว่าเป็นเนื้อเดียวหรือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เช่น ประตูปิดสนิท สีเข้ากันสนิทเป็นเนื้อเดียวกัน ผนังห้องแต่ละด้านแม้จะทาสีต่างกันแต่สีก็เข้ากันได้สนิท |
สนิท | อย่างแท้จริง หรือทั้งหมดโดยไม่มีอะไรแทรกหรือเจือปน เช่น มะปรางหวานสนิท เชื่อสนิท ตีหน้าสนิท. |
สนิทใจ | ว. ไม่มีอะไรต้องแคลงใจหรือสงสัย เช่น เชื่ออย่างสนิทใจ, ถ้าใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่สนิทใจ หมายความว่า มีลักษณะพึงรังเกียจ เช่น พื้นสกปรกนั่งแล้วไม่สนิทใจ ผ้าเช็ดมือในห้องน้ำรวมใช้ได้ไม่สนิทใจเลย. |
สะตึ, สะตึ ๆ | ว. ไม่มีอะไรดี, ไม่ได้เรื่อง, ไม่มีค่า, เช่น หนังเรื่องนี้สะตึดูแล้วเสียดายเงิน ของสะตึ ๆ อย่างนี้ไม่ซื้อหรอก. |
สุญนิยม | ลัทธิที่ถือว่าไม่มีอะไรตั้งอยู่อย่างเที่ยงแท้ถาวร |
สูญสิ้น | ก. หมดไปโดยไม่มีอะไรเหลือ เช่น เขาสูญสิ้นทุกสิ่งทุกอย่างเพราะเป็นทาสการพนัน. |
ไส้เป็นน้ำเหลือง | ว. อดอยากยากแค้น, ไม่มีอะไรกิน. |
หญ้าปากคอก ๑ | ว. สะดวก, ง่าย, ไม่มีอะไรยุ่งยาก, เช่น นี่เป็นเรื่องหญ้าปากคอก. |
หมด | ว. ไม่มีอะไรเหลือ เช่น กินหมด ใช้หมด. |
หมดเปลือก | ว. แจ่มแจ้ง, ไม่มีอะไรเคลือบแฝง, เช่น เขาอธิบายจนหมดเปลือก เขาพรรณนาเรื่องราวอย่างละเอียดจนหมดเปลือก. |
หลอ | ว. ใช้ประกอบกับคำ เหลือ เป็น เหลือหลอ หมายความว่า หลงเหลืออยู่ เช่น รถชนกันอย่างนี้ จะมีอะไรเหลือหลอเล่า, ถ้าใช้ในความปฏิเสธหมายความว่า หมดเกลี้ยง เช่น กินเสียจนไม่มีอะไรเหลือหลอ |
เหลือหลอ | (–หฺลอ) ว. หลงเหลืออยู่ เช่น รถชนกันอย่างนี้ จะมีอะไรเหลือหลอเล่า, ถ้าใช้ในความปฏิเสธหมายความว่า หมดเกลี้ยง เช่น กินเสียจนไม่มีอะไรเหลือหลอ. |
อด | ไม่มีอะไรกิน เช่น อดอยู่ทั้งวัน. |
อดุล, อดุลย-, อดุลย์ | (อะดุน, อะดุนละยะ-, อะดุน) ว. ชั่งไม่ได้, ไม่มีอะไรเปรียบ, ไม่มีอะไรเท่า. |
อรูปฌาน | (อะรูบปะชาน) น. ฌานมีอรูปธรรมเป็นอารมณ์ มี ๔ คือ ๑. อากา-สานัญจายตนะ (กำหนดที่ว่างหาที่สุดมิได้เป็นอารมณ์) ๒. วิญญาณัญจายตนะ (กำหนดวิญญาณหาที่สุดมิได้เป็นอารมณ์) ๓. อากิญจัญญายตนะ (กำหนดภาวะที่ไม่มีอะไร ๆ เป็นอารมณ์) ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนะ (ภาวะมีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่). |
อำนด | ไม่มีอะไรจะกิน. |
International Conferences | คือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย [การทูต] |
Niccolo Machiavelli (1469-1527) | คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต] |
The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] |
ดีกว่าไม่มีอะไร | [dī kwā mai mī arai] (xp) EN: it's better than nothing FR: c'est mieux que rien |
ไม่มีอะไร | [mai mī arai] (v, exp) EN: there is nothing FR: il n'y a rien ; ce n'est rien ; c'est sans importance |
ไม่มีอะไรอีกเลย | [mai mī arai īk loēi] (xp) FR: il n'y a rien d'autre |
ไม่มีอะไรเลย | [mai mī arai loēi] (xp) EN: there is absolutely nothing FR: il n'y a rien du tout ; ce n'est rien du tout |
ไม่มีอะไรใหม่ | [mai mī arai mai] (xp) FR: il n'y a rien de neuf/nouveau |
ไม่มีอะไรผิดปกติ | [mai mī arai phitpakati = mai mī arai phitpokkati] (xp) FR: il n'y a rien d'anormal |
ไม่มีอะไรหรอก | [mai mī arai røk] (xp) FR: il n'y a absolument rien |
ไม่มีอะไรที่เป็นไปไม่ได้ | [mai mī arai thī pen pai mai dai] (xp) EN: there is nothing impossible FR: rien n'est impossible ; il n'y a rien d'impossible |
ทำเหมือนไม่มีอะไร | [tham meūoen mai mī arai] (x) FR: faire comme si de rien n'était ; agir comme si de rien n'était |
empty-handed | (adj) มือเปล่า, See also: ไม่มีอะไรในมือ |
high-sounding | (adj) ที่ฟังดูใหญ่โต (แต่จริงๆแล้วไม่มีอะไร), Syn. orotund, pompous, turgid |
nothing to it | (idm) ง่ายดาย, See also: ไม่มีอะไรยาก |
nothing to write home about | (idm) ไม่มีอะไรน่าสนใจ |
won't hold water | (idm) ไม่เพียงพอ, See also: ไม่มีสาระ, ไม่มีอะไรเลย |
naught | (n) ศูนย์, See also: ความไม่มีอะไร, ความไร้ค่า, ความเปล่าประโยชน์, Syn. nought, zero |
nothing | (n) การไม่มีอะไร, See also: ศูนย์, Syn. emptiness, blankness, nothingness, nonexistence, vacancy |
nothing | (adv) ไม่มีอะไร, See also: ไม่มีเลย |
nought | (n) ศูนย์, See also: การไม่มีอะไร, Syn. zero, naught |
nowt | (pron) ไม่มีอะไรเลย (คำไม่เป็นทางการ) |
so-so | (sl) งั้นๆ, See also: ไม่มีอะไรสำคัญ |
fuck-all | (sl) การไม่มีอะไรเลย |
zilch | (sl) ไม่มีอะไรเลย |
uncovered | (adj) ที่ไม่มีอะไรปิด, See also: เปลือย, Syn. bald, bare, unroofed, undraped, exposed, Ant. covered |
unoccupied | (adj) อยู่ว่างๆ, See also: ไม่มีอะไรทำ, ไม่ทำงาน, Syn. unemployed, at leisure, Ant. employed |
degage | (เดกาเจ') adj., F. ง่าย, อิสระ, ไม่มีอะไรมาบังคับ |
empty | (เอมพฺ'ที) { emptied, emptying, empties } adj. ว่างเปล่า, ไม่มีคนอยู่, ไม่มีอะไร, ไม่มีความหมาย, ไร้สาระ, เปล่าประโยชน์, ไม่มีของบรรทุก, หิว, โง่, ไร้ความรู้, เปลี่ยว, เงียบ, ยังไม่ตั้งครรภ์ vt. ทำให้ว่างเปล่า, ปล่อยทิ้ง. vi. ว่างเปล่า, เททิ้ง, หมดไป, ไหลเกลี้ยง. -n. สิ่งที่ |
fiddlestick | n. หัวไวโอลิน, ความไม่มีอะไร |
light-hearted | (ไลทฺ'ฮาร์'ทิด) adj. เบิกบานใจ, ร่าเริง, ไม่มีอะไรเป็นห่วง., See also: light-heartedness n. ดูlight-hearted, Syn. lighthearted |
naked | (เน'คิด) adj. เปลือย, เปลือยกาย, ไม่นุ่งผ้า, เปล่า, ไม่มีอะไร, ล่อนจ้อน, ไม่มีต้นไม้, ไร้ใบ, ไร้ขน, See also: nakedness n., Syn. nude |
naught | (นอท) n. ศูนย์, 'o', ไม่มีอะไร, ความล้มเหลวสิ้นเชิง, ถือว่า ไม่สำคัญ |
nil | (นิล) n. การไม่มีอะไร, ศูนย์, การปราศจาก |
nix | (นิคซฺ) n. ความไม่มีอะไร. -adv. ไม่. interj. คำอุทานแสดงความไม่เห็น vt. คัดค้าน, ไม่เห็นด้วย, ห้าม |
nonpareil | (นอนพะเรล') adj. ไม่มีที่เปรียบ, เลิศ. n. สิ่งที่ไม่มีอะไร |
nothing | (นัธ'ธิง) n. การไม่มีอะไร, การไร้ความหมาย, ศูนย์, สิ่งที่ไม่สำคัญ -adv. ไม่มีอะไร |
nought | (นอท) n. ศูนย์, 'o', ไม่มีอะไร, ความล้มเหลวสิ้นเชิง, ถือว่า ไม่สำคัญ |
nullity | (นัล'ลิที) n. ความไม่ได้ผล, ความไม่มีอะไร, ความโมฆะ, สิ่งที่เป็นโมฆะ, สิ่งที่ไม่มีผลบังคับ, Syn. cancel void, kill |
plain | (เพลน) adj. เรียบ, ชัดแจ้ง, กระจ่าง, ง่าย ๆ , ไม่มีอะไรขัด, เปลือย, เปล่า ๆ , ซื่อ, ตรงไปตรงมา, ธรรมดา, จืด, ไม่สวย, ธรรมดา, ปกติ, ไม่รวย, ไม่มีการปรุงแต่ง. adv. อย่างง่าย ๆ , อย่างชัดเจน n. บริเวณที่ราบ, ที่ราบ, ทุ่งกว้าง, See also: plainly adv. plainness n. คำที |
simplicity | (ซิมพลิส'ซิที) n. ความง่าย ๆ , ความเรียบ ๆ , ความไม่สลับซับซ้อน, ความเข้าใจได้ง่าย, ความชัดเจน, ความตรงไปตรงมา, ความมีใจซื่อ, ความจริงใจ, ความไม่มีใจคิดโกง, ความไม่หรูหรา, ความไม่มีอะไร, ความด้อยปัญญาหรือประสบการณ์, Syn. easiness |
unoccupied | (อันออค'คิวไพดฺ) adj. ว่าง, ไม่มีคนอยู่, ไม่ได้ถูกครอบครอง, ขี้เกียจ, เฉื่อยชา, ไม่มีอะไรทำ, Syn. empty |
zip | (ซิพ) n. เสี่ยงหวือ, พลังงาน, กำลังวังชา, ศูนย์, ความไม่มีอะไร vi. เคลื่อนที่หรือกระทำด้วยความเร็วหรือพลังสูง vt. เติมพลัง, เติมความเร่าร้อน, รูปซิป, ดึงซิป, ทำให้พ่ายแพ้ , ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อแฟ้มข้อมูลที่ได้ผ่านการอัดแน่นโดยโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่มีชื่อว่า PKZIP การอัดแน่นข้อมูลนั้นมีประโยชน์ในการประหยัดที่เก็บ เมื่อใดที่ต้องการใช้ จะต้องนำมาขยายขนาดเท่าเดิมก่อน โดยใช้โปรแกรมที่ชื่อ PKUNZIP ปัจจุบัน ในระบบวินโดว์ 95 ใช้โปรแกรมชื่อ Winzip, See also: ziper n., Syn. vitality |
nothing | (adv) ไม่มีอะไร, ไม่เลย |
nought | (adv) ศูนย์, ไม่มีอะไร, เปล่าประโยชน์ |
zero | (adj) ไม่มีอะไร, ว่างเปล่า, เป็นศูนย์, ไร้คุณค่า |
the sky is the limit | (phrase) ไม่มีอะไรหยุดยั้งได้ |
vanilla | (adj) เกี่ยวกับฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ที่ทำออกมาแบบง่ายๆ ไม่มีอะไรที่วิจิตรพิสดาร |
何でも無い | [なんでもない, nandemonai] เปล่า, ไม่มีอะไร |
何でもない | [なんでもない, nandemonai] เปล่า, ไม่มีอะไร |
慣性 | [かんせい, kansei] TH: วัตถุที่จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด ๆ หากไม่มีอะไรมากระทบถูก EN: inertia |
gar nichts | ไม่มีเลย เช่น Er hat gar nichts zu tun. เขาไม่มีอะไรทำเลย |
nichts | ไม่มีอะไรเลย |
wenn | ถ้า, เมื่อ(บ่งเงื่อนไข) เช่น Ich besuche dich wenn du nichts dagegen hast. ฉันจะไปหาเธอถ้าเธอไม่มีอะไรขัดข้องนะ |