ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม | น. ข้อตกลงในสัญญาระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือในสัญญาสำเร็จรูป หรือในสัญญาขายฝากที่ทำให้ผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือผู้กำหนดสัญญาสำเร็จรูป หรือผู้ซื้อฝากได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเกินสมควร. |
ชี้นกเป็นนกชี้ไม้เป็นไม้ | ไม่ว่าผู้มีอำนาจจะว่าอย่างใด ผู้น้อยก็ต้องคล้อยตามไปอย่างนั้นเพราะกลัวหรือประจบ. |
ไม่เป็นการ | ก. ไม่ได้ผล, ไม่สำเร็จ, เช่น เห็นจะไม่เป็นการ. |
ไม่เป็นท่า | ก. หมดรูป, ไม่เข้าท่า, ไม่ได้ความ, เช่น แพ้ไม่เป็นท่า. |
ไม่เป็นเรื่อง, ไม่เป็นเรื่องเป็นราว | ว. ไม่มีสาระ เช่น เรื่องไม่เป็นเรื่อง. |
ไม่เป็นโล้เป็นพาย | ก. ไม่ได้เรื่องได้ราว, จับจด, ไม่จริงจัง, เช่น ทำงานไม่เป็นโล้เป็นพาย. |
ไม่เป็นสุข | ว. ไม่มีความสุข. |
ไม่เป็นอัน | ว. ใช้นำหน้ากริยามีความหมายไปในลักษณะที่ไม่สะดวก เช่น ไม่เป็นอันกิน ไม่เป็นอันนอน. |
ไม้เป็น | น. ท่าสำคัญของกระบี่กระบองหรือมวยในการป้องกันตัวโดยใช้ปฏิภาณไหวพริบแก้ไขให้พ้นภัยจากปรปักษ์เมื่อคราวเข้าที่คับขัน, ตรงข้ามกับ ไม้เด็ด หรือ ไม้ตาย. |
เหล็กกล้าไม่เป็นสนิม | น. เหล็กกล้าที่เจือโลหะโครเมียมหรือโลหะโครเมียมกับโลหะนิกเกิล บางชนิดมีซิลิคอนเจือปนด้วย. |
กฎหมู่ | น. การกดดันที่บุคคลจำนวนมากนำมาใช้บีบบังคับให้อีกฝ่ายหนึ่งกระทำหรือเว้นกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง (มักไม่เป็นไปตามตัวบทกฎหมาย). |
กระจุกกระจุย | ว. กระจายจากกันอย่างสับสนไม่เป็นระเบียบ. |
กระจุย | ว. กระจายออกยุ่งไม่เป็นระเบียบ, นิยมใช้เข้าคู่กับ กระจุก เป็น . |
กระดูกเหล็ก | ก. แข็งแรงไม่บาดเจ็บง่าย เช่น หมอนี่กระดูกเหล็ก ตกบันได ๑๐ ขั้นยังไม่เป็นอะไร |
กระเดื่อง ๑ | น. อุปกรณ์ชนิดหนึ่ง เป็นไม้ท่อนยาว ปลายด้านหัวมีสากสำหรับตำข้าว ปลายด้านหางทำเป็นที่เหยียบ เจาะรูที่ด้านข้างเยื้องไปทางปลายด้านหาง และมีไม้เป็นแกนสอดตรึงติดกับเสาหรือหลักให้หมุนได้ เมื่อเหยียบที่ข้างหางและกดลง หัวจะกระดกขึ้น เมื่อปล่อยเท้าหัวก็จะกระแทกลง |
กระทง ๑ | น. ภาชนะเย็บด้วยใบตองหรือใบไม้เป็นต้น ยกขอบสูงสำหรับใส่ของ, ถ้าเสริมขอบปากเป็นรูปกรวยเล็ก ๆ โดยรอบ เรียกว่า กระทงเจิม, ภาชนะที่ทำขึ้นสำหรับลอยนํ้าในประเพณีลอยกระทง |
กระท่อนกระแท่น | ว. ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน, ไม่ครบถ้วน. |
กระเบื้องถ้วยกะลาแตก | น. เศษภาชนะดินเผาที่แตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย, โดยปริยายหมายถึงของเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่เป็นชิ้นเป็นอันที่ชำรุดหรือขาดชุดหมดราคา. |
กระพี้ | ว. โดยปริยายหมายความว่า ไม่เป็นแก่นสาร. |
กระยึกกระยือ | ว. ยึกยือ, หยิกไปหยิกมา, ไม่ตรง, ไม่เป็นระเบียบ. |
กระวนกระวาย | ก. วุ่นวายใจ, แสดงอาการวุ่นวายไม่เป็นสุข. |
กระวายกระวน | ก. กระวนกระวาย, วุ่นวายใจ, แสดงอาการวุ่นวายไม่เป็นสุข, เช่น เมื่อเราอยู่ที่นี้จะต้องกระวายกระวนด้วยเหลือบยุงริ้นร่าน (ม. ร่ายยาว สักบรรพ). |
กลม ๒ | (กฺลม) ว. มีสัณฐานโดยรอบไม่เป็นเหลี่ยม, ถ้าเหมือนลูกหิน เรียกว่า ลูกกลม, ถ้าเหมือนเส้นที่ลากเป็นวงมาจดกัน โดยมีเส้นรัศมียาวเท่ากัน เรียกว่า วงกลม, ถ้าเหมือนสตางค์ เรียกว่า กลมแบน, ถ้าเหมือนกระบอกไม้ไผ่ เรียกว่า กลมยาว, ถ้าเหมือนไข่ไก่ แต่หัวและท้ายเท่ากัน เรียกว่า กลมรี |
กลับคำ | ก. พูดแล้วไม่เป็นตามพูด, ไม่ทำตามที่พูดไว้, พูดแล้วเปลี่ยนคำพูด. |
กลี | (กะลี) ว. ชั่วร้าย, ไม่เป็นมงคล, มักใช้ว่า กาลี. |
กวน ๒ | น. เรียกของกินที่ทำด้วยผลไม้เป็นต้น เคี่ยวกับนํ้าตาลแล้วคนให้เข้ากันจนข้น เช่น ขนมกวน ทุเรียนกวน สับปะรดกวน. |
กะปริดกะปรอย | (-ปฺริด-ปฺรอย) ว. มีอาการออกหรือไหลออกน้อย ๆ หยุดบ้าง ออกบ้าง, อาการที่ฝนตกน้อย ๆ ตก ๆ หยุด ๆ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่ทำ ๆ หยุด ๆ ไม่เป็นลํ่าเป็นสัน, กะปริบกะปรอย ก็ว่า. |
กะปริบกะปรอย | (-ปฺริบ-ปฺรอย) ว. มีอาการออกหรือไหลออกน้อย ๆ หยุดบ้าง ออกบ้าง, อาการที่ฝนตกน้อย ๆ ตก ๆ หยุด ๆ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่ทำ ๆ หยุด ๆ ไม่เป็นล่ำเป็นสัน, กะปริดกะปรอย ก็ว่า. |
กะรุงกะรัง | ว. อาการที่ห้อยหรือแขวนสิ่งต่าง ๆ อย่างไม่เป็นระเบียบ. |
กะหร็อมกะแหร็ม | ว. มีเล็กน้อย, มีห่าง ๆ ไม่เป็นพวกเป็นหมู่, เช่น ผมขึ้นกะหร็อมกะแหร็ม, หร็อมเเหร็ม หรือ หย็อมเเหย็ม ก็ว่า. |
ก้านต่อดอก | น. ชื่อวิธีร้อยดอกไม้เป็นตาข่าย |
กาลสมุตถาน | (กาละสะหฺมุด-) น. กองโรคที่เกิดขึ้นเพราะธาตุไม่เป็นไปตามเวลาปรกติ. |
ก้าวก่าย | ก. ล่วงลํ้าเข้าไปยุ่งเกี่ยวหน้าที่ผู้อื่น, เหลื่อมลํ้าไม่เป็นระเบียบ เช่น งานก้าวก่ายกัน. |
กำแพงเจ็ดชั้น ๒ | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Litosanthes biflora Blume ในวงศ์ Rubiaceae ขึ้นตามป่าดิบ ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน ดอกสีขาว เนื้อไม้เป็นชั้น ๆ ใช้ทำยาได้. |
กินน้ำตาต่างข้าว | ก. ร้องไห้เศร้าโศกจนไม่เป็นอันกิน. |
เก | ว. ไม่ตรงตามแนว, ไม่เป็นระเบียบ, (ใช้แก่ของที่เป็นซี่เป็นลำ) เช่น ฟันเก ขาเก |
เก่ | ว. เข้าที เช่น ว่าไม่เป็นเก่ คือ ว่าไม่เข้าที. |
เกะกะ | ว. กีด, ขวาง, ไม่เป็นระเบียบ, เช่น วางของเกะกะ |
เกาะ ๑ | ละเมาะ โดยปริยายใช้เรียกพื้นที่ซึ่งมีต้นไม้เป็นต้นขึ้นหนาแน่น มีทุ่งหรือที่เตียนล้อมรอบ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น. |
แก่นสาร | น. สิ่งที่ยั่งยืนถาวร, หลักที่ควรยึดถือ, คุณประโยชน์, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่เป็นแก่นสาร. |
โกงเจ้าหนี้ | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ลูกหนี้ทำให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์ที่ตนจำนำไว้ หรือกระทำการบางอย่างที่ทำให้เจ้าหนี้เสียหายในการที่จะได้รับชำระหนี้ เช่น โอนทรัพย์ให้คนอื่นหรือแกล้งเป็นหนี้ที่ไม่เป็นความจริง. |
โกโรโกเต | ไม่เป็นโล้เป็นพาย, ไม่เป็นแก่นสาร. |
ขยุกขยุย | (ขะหฺยุกขะหฺยุย) ว. ยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ. |
ขัด ๓ | ก. ไม่ใคร่จะมี, ฝืดเคือง, ไม่คล่อง, ไม่เป็นปรกติ. |
ข้าม ๒, ข้าม ๆ | ว. เลยลำดับ, ไม่เป็นตามลำดับ, เช่น อ่านข้าม อ่านข้าม ๆ. |
เข็มควัก | น. เข็มที่มีปลายงอเป็นเงี่ยง สำหรับควักด้ายหรือไหมให้เป็นลูกไม้เป็นต้น. |
เขละ | (เขฺละ) ว. เละ, เละเทะ, เกะกะ, ไม่เป็นระเบียบ, เขละขละ ก็ว่า. |
ไข่ข้าว | น. ไข่ที่ฟักไม่เป็นตัวต้มแล้วแข็งและเหนียวผิดปรกติ |
คบเด็กสร้างบ้าน | ก. ทำงานใหญ่ร่วมกับเด็กมักไม่เป็นผล, มักใช้เข้าคู่กับ คบหัวล้านสร้างเมือง เป็น คบเด็กสร้างบ้าน คบหัวล้านสร้างเมือง. |
คบหัวล้านสร้างเมือง | ก. ทำงานใหญ่ร่วมกับคนหัวล้านมักไม่เป็นผล เพราะคนหัวล้านมักใจน้อย โกรธง่าย, ใช้เข้าคู่กับ คบเด็กสร้างบ้าน เป็น คบเด็กสร้างบ้าน คบหัวล้านสร้างเมือง. |
pantamorphic | ไม่เป็นรูปเป็นร่างโดยทั่ว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
labour practice, unfair | การใช้แรงงานอย่างไม่เป็นธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
law, unwritten | กฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lawless | ไม่มีกฎหมาย, ไม่เป็นไปตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
shirt-sleeve diplomacy | การทูตอย่างไม่เป็นทางการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stateless society | สังคมที่ไม่เป็นรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
state, nonsovereign | รัฐไม่เป็นเอกราช [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
straw vote | การหยั่งเสียง (ไม่เป็นทางการ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
organization, informal | องค์การอรูปนัย, องค์การที่ไม่เป็นทางการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
azygous; impar; unpaired | ไม่เป็นคู่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
misrepresentation | การแถลงที่ไม่เป็นจริง, การสำแดงที่ไม่เป็นจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
constitution, unwritten | รัฐธรรมนูญไม่เป็นลายลักษณ์อักษร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diplomacy, shirt-sleeve | การทูตอย่างไม่เป็นทางการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
deprivation of property | การบังคับเอาทรัพย์ของเอกชนโดยไม่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dysarthria | อาการพูดไม่เป็นความ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
erose | ขอบหยักไม่เป็นระเบียบ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
impar; azygous; unpaired | ไม่เป็นคู่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
informal organization | องค์การอรูปนัย, องค์การที่ไม่เป็นทางการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ignorantia legis non excusat; ignorantia non excusat (L.) | ความไม่รู้กฎหมายไม่เป็นข้อแก้ตัว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ignorantia non excusat (L.); ignorantia legis non excusat | ความไม่รู้กฎหมายไม่เป็นข้อแก้ตัว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
impracticable | ไม่สามารถจะทำได้, ไม่เป็นอันจะทำได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
immaterial evidence | พยานหลักฐานที่ไม่เป็นสาระ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
immaterial facts | ข้อเท็จจริงที่ไม่เป็นสาระ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
immaterial averment | คำกล่าวอ้างที่ไม่เป็นสาระ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
inchoate | ๑. ยังไม่เป็นความผิดสำเร็จ (ก. อาญา)๒. ยังไม่บริบูรณ์ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
inarticulate | ๑. ไม่เป็นภาษา, ไม่เป็นคำพูด๒. ไม่มีข้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vote, straw | การหยั่งเสียง (ไม่เป็นทางการ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
trade practice, unfair | การประกอบการค้าที่ไม่เป็นธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
transgovernmental relations | วิเทศสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
heterogeneous | ๑. วิวิธพันธุ์๒. ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
heterogeneous | ๑. วิวิธพันธุ์๒. ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
non-career | มิใช่โดยอาชีพ, ไม่เป็นอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
non-negative | ไม่เป็นลบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
nisi | ยังไม่เป็นที่ยุติ, ยังไม่ถึงที่สุด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
nonsovereign state | รัฐไม่เป็นเอกราช [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nonstoried cambium; nonstratified cambium | แคมเบียมไม่เป็นชั้น [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
nonstoried wood; nonstratified wood | เนื้อไม้ไม่เป็นชั้น [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
nonstratified cambium; nonstoried cambium | แคมเบียมไม่เป็นชั้น [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
nonstratified wood; nonstoried wood | เนื้อไม้ไม่เป็นชั้น [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
unfair competition | การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unfair competition and practice | การแข่งขันและปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unfair consumer practice | การปฏิบัติต่อผู้บริโภคโดยไม่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unfair dismissal | การไล่ออกโดยไม่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unwritten constitution | รัฐธรรมนูญไม่เป็นลายลักษณ์อักษร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unwritten law | กฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unwritten law | กฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unfair labour practice | การใช้แรงงานอย่างไม่เป็นธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unfair trade practice | การประกอบการค้าที่ไม่เป็นธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unfair trade practice | การปฏิบัติทางการค้าที่ไม่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unfavourable witness | พยานที่เบิกความไม่เป็นคุณ (แก่ผู้อ้าง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Unsealed source | ต้นกำเนิดรังสีชนิดไม่ปิดผนึก, วัสดุกัมมันตรังสีที่ไม่เป็นไปตามคำนิยามของต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก เช่น วัสดุกัมมันตรังสีไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใดๆ ที่ไม่ได้มีการบรรจุหรือห่อหุ้มปิดผนึกด้วยโลหะหรือวัสดุอื่นใดอย่างมิดชิดถาวร การใช้ต้นกำเนิดรังสีชนิดนี้ อาจเกิดการแพร่กระจาย ฟุ้งกระจาย หกเปรอะเปื้อน ซึมรั่ว ออกจากภาชนะที่บรรจุได้ [นิวเคลียร์] |
Nuclear safeguards | การพิทักษ์ทางนิวเคลียร์, มาตรการป้องกัน ยับยั้ง และตรวจสอบ มิให้วัสดุนิวเคลียร์สูญหาย แปรสภาพ หรือนำไปใช้ในทางที่ไม่เป็นไปตามข้อตกลงกับทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ, Example: [นิวเคลียร์] |
Neutron bomb | ลูกระเบิดนิวตรอน, ลูกระเบิดไฮโดรเจนขนาดเล็ก ออกแบบเป็นพิเศษให้มีผลทำลายน้อยที่สุดจากแรงระเบิดและความร้อนในวงจำกัดรัศมีสองร้อยถึงสามร้อยเมตร แต่มีผลในวงกว้างทำให้สิ่งมีชีวิตถึงตายได้จากอนุภาคนิวตรอนและรังสีแกมมา ลูกระเบิดนิวตรอนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำลายรถถังและกองทหารในสนามรบโดยไม่เป็นอันตรายต่อตัวเมืองและย่านชุมชนที่อยู่ห่างออกไป <br>(ดู H-bomb ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Irradiated food | อาหารฉายรังสี, อาหารที่ผ่านการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม ซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสี หรือมีรังสีตกค้างแต่ประการใด จึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศจะต้องมีฉลากแสดงข้อความ และเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้ง ของผู้ผลิต และผู้ฉายรังสี วัน เดือน ปี ที่ฉายรังสี, Example: [นิวเคลียร์] |
Hostile Takeover | การเข้าครอบครองกิจการอย่างไม่เป็นมิตร [ธุรกิจ] |
Abuse of | การปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม [TU Subject Heading] |
Competition, Unfair | การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม [TU Subject Heading] |
Unfair labor practices | การใช้แรงงานอย่างไม่เป็นธรรม [TU Subject Heading] |
Nonpoint Source | ต้นกำเนิดไม่เป็นจุด, แหล่งทิ้งไม่เป็นจุด, Example: ต้นกำเนิดหรือแหล่งระบายทิ้งของเสียที่ไม่เป็น จุด เช่น น้ำเสียที่มาจากพื้นที่การเกษตรหรือไอเสียจากรถยนต์ในเขตเมืองทั้งเมือง [สิ่งแวดล้อม] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] |
Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] |
ASEAN Ministerial Meeting on Science and Technology | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี " จัดขึ้นเป็นประจำทุก 3 ปี เพื่อหารือ กำหนดนโยบาย และติดตามผลความคืบหน้าของการดำเนินงานความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี โดยในช่วงกลางระหว่างสามปีดังกล่าวจะมีการประชุม รัฐมนตรีอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างไม่เป็นทางการด้วย " [การทูต] |
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] |
Bangkok Process | เป็นการประชุมอย่างไม่เป็นทางการในระดับรัฐมนตรี เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นระหว่างกันอย่างตรงไปตรงมาและสร้างสรรค์เกี่ยวกับแนวทางในการสนับ สนุนกระบวนการสร้างความปรองดองภายในชาติและการพัฒนาประชาธิปไตยในพม่าตาม ?Roadmap towards Democracy in Myanmar? เดิมเรียกว่า Forum on International Support for National Reconciliation in Myanmar ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม Bangkok Process ครั้งแรกเมื่อ 15 ธันวาคม 2546 ที่กระทรวงการต่างประเทศ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศหรือผู้แทนพิเศษของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศจาก 12 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ออสเตรีย จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น พม่า สิงคโปร์ และไทย รวมทั้งนาย Razali Ismail เป็นผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติว่าด้วยพม่าเข้าร่วม [การทูต] |
Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] |
Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] |
Diplomatic Expressions | ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Excellency | เป็นคำแสดงตำแหน่งที่ใช้เรียกตัวเอกอัครราชทูต ทั้งโดยวาจาและโดยลายลักษณ์อักษร เป็นคำที่เริ่มใช้กันตั้งแต่สมัยทำสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย (Treaty of Westphalia) เมื่อ ค.ศ. 1648 และได้นำมาใช้ทั่วทวีปยุโรปหลังจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนา (ค.ศ. 1815) แต่ถ้าบังเอิญเอกอัครราชทูตของประเทศหนึ่งใดเป็นบุคคลเชื้อพระวงศ์ แทนที่จะเรียกเอกอัครราชทูตผู้นั้นด้วยคำว่า Excellency ก็ให้เรียกด้วยคำว่า ?Royal Highness? แทนแต่เดิมคำ ?Excellency? ซึ่งเป็นคำเติมหน้าชื่อแสดงตำแหน่งนี้ใช้เรียกเฉพาะตัวเอกอัครราชทูตเท่า นั้น แต่ในทางปฏิบัติ ทุกวันนี้ได้นิยมใช้เรียกตัวอัครราชทูต (Ministers) เช่นกัน ส่วนภริยาของเอกอัครราชทูตนั้นก็ได้รับการยกย่องโดยใช้คำ Excellency ด้วย แต่สำหรับเอกอัครราชทูตที่เป็นสตรี สามีของเธอจะไม่ได้รับเรียกเช่นนั้น นอกจากนั้น คำแสดงตำแหน่งนี้ยังใช้กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และมีหลายประเทศได้นำไปใช้เรียกประมุขของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีด้วย แต่การปฏิบัติดังนี้ย่อมแตกต่างกันในแต่ละประเทศ ส่วนเลขาธิการสหประชาชาตินั้น ใช้เรียกกันเป็นทางการว่า Excellency และสำหรับกรณีที่ไม่เป็นทางการก็เรียกว่า Mr. Secretary-General [การทูต] |
Forum for East Asia - Latin America Cooperation | เวทีความร่วมมือระหว่างเอเชียตะวันออกและลาตินอเม ริกา สมาชิก 32 ประเทศ จากภูมิภาคเอเชียและลาตินอเมริกา โดยมีสมาชิก จากฝ่ายเอเชีย 15 ประเทศ คือ กลุ่ม ASEAN (10 ประเทศ) จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ และจากฝ่ายลาตินอเมริกา 17 ประเทศ ได้แก่ เม็กซิโก กัวเตมาลา เอลซัลวาดอร์ คอสตาริกา นิการากัว คิวบา ปานามา เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา บราซิล โบลิเวีย เอกวาดอร์ ปารากวัย อุรุกวัย อาร์เจนตินา และชิลี วัตถุประสงค์ จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2542 มีการประชุมระดับรัฐมนตรีต่าง -ประเทศทุก 2 ปี ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส ปีละ 2 ครั้ง และคณะทำงาน 3 คณะ ปีละ 2 ครั้ง (คณะทำงานด้านการเมือง วัฒนธรรม และการศึกษา / ด้านเศรษฐกิจและสังคม / และด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเวทีปรึกษาหารือและร่วมมือกันอย่างไม่เป็นทางการระหว่างประเทศเอเชียและ ลาตินอเมริกา โดยมีเป้าหมายไปที่การดำเนินโครงการความร่วมมือในทุกสาขาที่ประเทศสมาชิกมี ความสนใจร่วมกัน [การทูต] |
Hanoi Plan of Action | แผนปฏิบัติการฮานอย เป็นแผนงานระยะ 6 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2542-2547 ซึ่งที่ประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 2 ที่กรุงฮานอย เมื่อเดือนธันวาคม 2541 ได้ให้ความเห็นชอบเพื่อใช้เป็นแผนงานฉบับแรกของอาเซียนสำหรับการสร้างเสริม ความร่วมมือของอาเซียนในด้านต่าง ๆ ซึ่งจะนำไปสู่วิสัยทัศน์อาเซียนปี พ.ศ. 2563 [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
lounge suit | ชุดสากล ใช้ในโอกาสที่ไม่เป็นทางการทั่วไป เช่น การพบปะสังสรรค์ งานเลี้ยงที่ไม่เป็นทางการ [การทูต] |
Order of Precedence | หมายถึง ลำดับอาวุโสทางการทูต โดยถือยศหรือตำแหน่งเป็นบรรทัดฐาน โดยเฉพาะในโอกาสที่ไปร่วมพิธีต่าง ๆ ตลอดจนการเลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ นักการทูตทั่วโลกต่างถือลำดับอาวุโสเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิถีพิถันกันไม่ น้อย เพราะในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ หากมีการจัดลำดับอาวุโสไม่ถูกต้อง เขาผู้นั้นซึ่งคำนึงถึงศักดิ์ศรีในฐานะตัวแทนของประเทศย่อมต้องรู้สึกว่า นอกจากจะไม่ได้รับความถูกต้องแล้ว ยังเป็นการดูแคลนประเทศของตนด้วยในสมัยก่อน ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในเรื่องลำดับอาวุโสของบรรดาประมุขของรัฐทั้งหลาย คือสมเด็จพระสันตะปาปา ต่อมาในการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาเมื่อปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมได้ตกลงกันให้ถือวันที่เดินทางมาถึงประเทศผู้รับ และได้แจ้งให้ทราบเป็นทางการว่าเป็นเรื่องลำดับอาวุโส ผู้ที่มาถึงก่อนย่อมมีอาวุโสกว่าผู้ทีมาทีหลัง อย่างไรก็ดี มาในทุกวันนี้มีหลายประเทศถือหลักว่า ผู้แทนทางการทูตที่ยื่นสารตราตั้งก่อนจะมีอาวุโสกว่าผู้ยื่นสารตราตั้งที หลัง และในกรณีที่เกิดความเห็นไม่ลงรอยกันระหว่างบุคคลในคณะทูตเรื่องลำดับอาวุโส ประเทศเจ้าภาพหรือประเทศผู้รับจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติเกี่ยวกับลำดับอาวุโสของผู้แทนทางการ ทูตไว้ดังนี้ ?ข้อ 16 1. ให้หัวหน้าคณะผู้แทนมีลำดับอาวุโสในแต่ละชั้นของตนตามลำดับวันและเวลาที่ เข้ารับการหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้ง หรือเมื่อได้บอกกล่าวการมาถึงของตนและได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง ต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงตามแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป 2. การเปลี่ยนแปลงในสารตราตั้งของหัวหน้าคณะผู้แทน ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงชั้นใด ๆ จะไม่กระทบกระเทือนลำดับอาวุโสของหัวหน้าคณะผู้แทน 3. ข้อนี้ไม่เป็นที่เสื่อมเสียแก่ทางปฏิบัติใด ซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับ ในเรื่องลำดับอาวุโสของผู้แทนของโฮลี่ซี ข้อ 17 ลำดับอาวุโสของสมาชิกคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทนนั้น ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้บอกกล่าวแก่กระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน? [การทูต] |
pariah state | รัฐที่ไม่เป็นที่ยอมรับของสังคมนานาชาติ อาทิ มีรัฐบาลที่ถูกนานาชาติคว่ำบาตร [การทูต] |
Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] |
Plural Representation | หมายถึง การที่รัฐหนึ่งแต่งตั้งผู้แทนทางการทูตถาวรของตนมากกว่าหนึ่งคนไปประจำรัฐ อีกแห่งหนึ่งนอกประเทศ ในกรณีเช่นนั้น ผู้แทนทางการทูตคนหนึ่งจะได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางทูต ส่วนผู้แทนทางการทูตที่เหลือจะเป็นตัวรองอยู่ใต้บังคับบัญชาของเขา เช่น ในสหประชาชาติมีคณะทูตถาวรประจำสหประชาชาติหลายแห่ง นิยมตั้งเอกอัครราชทูตของตนเป็นจำนวนมากถึง 3 หรือ 4 คนไปประจำอยู่ในคณะ ตัวหัวหน้าคณะทูตถาวรเช่นนั้น จะมีตำแหน่งเรียกว่า เอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรแห่งประเทศของตนประจำสหประชาชาติ ส่วนเอกอัครราชทูตคนที่สองในคณะทูตถาวร มีตำแหน่งเรียกว่า รองผู้แทนถาวรการส่งเอกอัครราชทูตหลายคนไปประจำเป็นตัวแทนเช่นนี้ ไม่เป็นที่นิยมกระทำกันแพร่หลายเหมือนกับการส่งหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตคน เดียวไปประจำในหลายประเทศในเวลาเดียวกัน ดังที่กล่าวมาข้างต้น [การทูต] |
Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] |
retortion | การตอบโต้การกระทำของรัฐอื่นซึ่งมิได้เป็นความผิดในทาง กฎหมายระหว่างประเทศ แต่มีลักษณะที่ไม่เป็นมิตร [การทูต] |
Sanitary and Phytosanitary | สุขอนามัยและสุขอนามัยพืช เป็นมาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อให้เกิด ความปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค ในขณะเดียวกันมาตรการดังกล่าวจะต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศ [การทูต] |
Termination of Mission of Diplomatic Agent | ภารกิจของผู้แทนทางการทูตหรือหัวหน้าคณะทูตจะสิ้น สุดลง 1. ระยะเวลาที่ผู้แทนทางการทูตได้รับแต่งตั้งให้ประจำอยู่ในประเทศผู้รับได้ครบ กำหนดตามวาระ2. เมื่อวัตถุประสงค์ของภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติได้สัมฤทธิผลเรียบ ร้อยแล้ว3. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากต้องโยกย้ายไปที่อื่น หรือลาออก หรือเนื่องจากครบเกษียณอายุ4. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากไม่เป็นที่พอใจของรัฐบาลของตน หรือกระทำตามคำขอร้องของรัฐบาลของประเทศผู้รับ ซึ่งเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่5. เนื่องจากการเสด็จสวรรคตของพระมหากษัตริย์ของประเทศตน หรือประเทศที่ตนได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงาน6. หากตัวเขาเองได้กระทำการอันเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศบางอย่าง หรือเนื่องจากเกิดเหตุการณ์บางอย่างที่คาดไม่ถึง และมีลักษณะร้ายแรงจริง ๆ ตัวเขาเองจะต้องรับผิดชอบในการตัดความสัมพันธ์7. เมื่อรัฐบาลผู้รับ ซึ่งตัวเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่นั้น แล้วจะด้วยเหตุผลอย่างใดก็ตาม ได้แจ้งให้เขาเดินทางออกไปจากประเทศในทันที โดยไม่ต้องระให้รัฐบาลของตนเรียกตัวกลับ8. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในตำแหน่งของผู้แทนทางการทูต ดังเช่น ได้รับเลื่อนตำแหน่งจากอัครราชทูตขึ้นเป็นเอกอัครราชทูต9. เนื่องจากเกิดสงครามขึ้นระหว่างรัฐทั้งสอง10. เนื่องจากถูกถอดจากตำแหน่ง หรือสละราชบัลลังก์ของประมุขของประเทศใดประเทศหนึ่ง 11. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในประเทศใดประเทศหนึ่ง จากระบบพระมหากษัตริย์เป็นระบบสาธารณรัฐ หรือเป็นระบบสาธารณรัฐอันมีประมหากษัตริย์ทรงอยู่ใต้กฎหมาย12. เนื่องจากรัฐใดรัฐหนึ่งของทั้งสองรัฐต้องสูญสภาวะในการเป็นรัฐเหตุผลข้างต้น ทั้งหมดนี้ เป็นทรรศนะของเซอร์เออร์เนสท์ ซาทาว ซึ่งได้ให้ไว้ในหนังสือของท่าน ชื่อว่า ?A Guide to Diplomatic Practice? ฉบับเรียบเรียงใหม่ครั้งที่ 4 โดยเซอร์เนวิลล์ แบลนด์ [การทูต] |
The Great Wonders of Suwannabhumi | โครงการสิ่งมหัศจรรย์แห่งสุวรรณภูมิ หมายถึง โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวระหว่างกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคที่นับถือศาสนาพุทธ อันประกอบด้วย ไทย ลาว กัมพูชา และพม่า โดยร่วมกันจัดรายการนำเที่ยวในโบราณสถานที่สำคัญต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของ 4 ประเทศ ได้แก่ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในกรุงเทพฯ นครวัดในกัมพูชา โบราณสถานในพุกาม/มัณฑะเลย์ในพม่า และแขวงหลวงพระบางในลาว เพื่อที่จะดึงดูดชาวต่างชาติให้มาสนใจในดินแดนแห่งนี้ และนำมาซึ่งการพัฒนาสถานที่ดังกล่าว รวมทั้งยังจะเป็นการเชื่อมโยงการเดินทางระหว่าง 4 ประเทศอย่างสมบูรณ์ โครงการนี้เสนอโดย ฯพณฯ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศลาว กัมพูชา และพม่า เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2542 ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 3 ที่กรุงมะนิลา [การทูต] |
To Remind | เป็นคำที่ระบุในบัตรเชิญเข้าร่วมงานต่าง ๆ ในกรณีที่ การเชิญนั้นผู้ได้รับเชิญได้ตอบรับการเชิญอย่างไม่เป็นทางการแล้ว การส่งบัตรเชิญโดยระบุคำว่า "To Remind" เป็นการส่งมาเตือนอีกครั้งหนึ่ง [การทูต] |
Unfriendly Act | การกระทำที่ไม่เป็นมิตร กล่าวคือ เมื่อรัฐหนึ่งประกาศว่า จะถือว่าการปฏิบัติบางอย่างของอีกประเทศหนึ่งเป็นการกระทำที่ไม่เป็นมิตร นั่นหมายความว่า เป็นการเตือนว่าการกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ [การทูต] |
irradiated food | อาหารฉายรังสี, คือ อาหารที่ผ่านกระบวนการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม ซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสี หรือมีรังสีตกค้างแต่ประการใดจึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศ จะต้องมีฉลากแสดงข้อความ และเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต ผู้ฉายรังสีและวันเดือนปีที่ฉายรังสี [พลังงาน] |
unsealed source | ต้นกำเนิดรังสีชนิดไม่ปิดผนึก, หมายถึง วัสดุกัมมันตรังสีที่ไม่เป็นไปตามคำนิยามของต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก ได้แก่ วัสดุกัมมันตรังสี ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใดๆ ที่ไม่ได้มีการบรรจุหรือห่อหุ้มปิดผนึกด้วยโลหะ หรือวัสดุอื่นใดอย่างมิดชิดถาวร การใช้ต้นกำเนิดรังสีชนิดนี้ อาจเกิดการแพร่กระจาย ฟุ้งกระจายหกเปรอะเปื้อน ซึมรั่วออกจากภาชนะบรรจุได้ [พลังงาน] |
Non monetary items | รายการที่ไม่เป็นตัวเงิน [การบัญชี] |
Antioxidant | สารเคมีที่เติมลงไปในยางเพื่อจับอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา ของออกซิเจนในอากาศกับยาง (ที่มีพันธะคู่) หรือทำให้ไฮโดรเพอร์ออกไซด์ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาแตกตัวต่อไปเป็นส่วนที่ ไม่เป็นอันตรายต่อการเสื่อมสภาพของยาง ทำให้ยางมีอายุการใช้งานได้ยาวนานขึ้น [เทคโนโลยียาง] |
Ebonite | อีโบไนต์หรือยางแข็ง (hard rubber) คือ ยางที่ผ่านกระบวนการวัลคาไนเซชันโดยใช้กำมะถันในปริมาณสูง (30-50%) และให้ความร้อน ทำให้ยางมีโครงสร้างแบบร่างแห (network) และมีสมบัติแข็งมากแต่เปราะ ติดไฟง่าย ไม่เป็นพิษ ไม่ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ทั่วไป นิยมใช้ทำหม้อบรรจุแบตเตอรีหรือภาชนะบรรจุกรด-เบส [เทคโนโลยียาง] |
Apraxia | ทักษะ, เคลื่อนไหวไม่ได้ถึงแม้ประสาทยังดีอยู่, ทักษะต่างๆ, กล้ามเนื้อไม่เป็นอัมพาต, ไม่สามารถพูดให้ผู้อื่นเข้าใจ [การแพทย์] |
Arrhythmia | ภาวะหัวใจเสียจังหวะ, หัวใจเต้นผิดจังหวะ, หัวใจเสียจังหวะ, การเต้นผิดจังหวะ, หัวใจเต้นผิดปกติ, ชีพจรไม่สม่ำเสมอ, การเต้นไม่เป็นจังหวะของหัวใจ, หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ, หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ, การเต้นผิดจังหวะของหัวใจ, หัวใจเต้นจังหวะไม่สม่ำเสมอ [การแพทย์] |
Arrhythmia Surveillance | การเฝ้าระวังการเต้นไม่เป็นจังหวะของหัวใจ [การแพทย์] |
Arrhythmia, Ventricular | การเต้นไม่เป็นจังหวะของหัวใจห้องล่าง, หัวใจเต้นผิดจังหวะจากเวนตริเกิ้ล [การแพทย์] |
Artifactual | ของปลอม, ไม่เป็นจริง [การแพทย์] |
Bands, Non-Fundamental | แถบที่ไม่เป็นหลักมูล [การแพทย์] |
Bond Form | รูปที่ไม่เป็นอิสระ [การแพทย์] |
Breathing, Biot's | หายใจไม่เป็นจังหวะ [การแพทย์] |
Chaotic | ไม่เป็นระเบียบ [การแพทย์] |
Deceleration, Variable | การเต้นของหัวใจลดลงไม่เป็นระยะใดแน่นอน [การแพทย์] |
Dependence, Intra-Cluter | ความไม่เป็นอิสระ [การแพทย์] |
abort | (vt) ทำให้ล้มเหลว, See also: ไม่เป็นผล, Syn. miscarry, fall, miss |
absurd | (adj) ไร้สาระ, See also: ไร้ความหมาย, ที่ไม่เป็นเหตุเป็นผล, Syn. ridiculous, senseless, Ant. sensible, logical |
absurdity | (n) ความไร้สาระ, See also: ความน่าขัน, ความไม่เป็นเหตุเป็นผล, Syn. nonsense, senselessness |
absurdly | (adv) อย่างไร้สาระ, See also: อย่างไม่เป็นเหตุเป็นผล, Syn. ridiculously, foolishly |
ace | (n) ตัวเอก (คำไม่เป็นทางการ), See also: ผู้ที่มีความสามารถมาก |
acoustic | (n) เครื่องดนตรีซึ่งไม่ได้ผ่านการขยายเสียง (ไม่เป็นทางการ) |
act | (n) พฤติกรรมส่วนตัว (คำไม่เป็นทางการ), See also: ลักษณะนิสัย |
adore | (vt) ชอบมาก (คำไม่เป็นทางการ) |
afternoon | (int) สวัสดีตอนบ่าย (คำไม่เป็นทางการ) |
agent | (n) สายลับ (คำไม่เป็นทางการ) |
alibi | (n) ข้อแก้ตัว (ไม่เป็นทางการ) |
alien | (adj) แปลก, See also: ไม่เข้ากัน, ไม่เป็นโดยธรรมชาติ, Syn. strange |
all | (adj) มาก (คำไม่เป็นทางการ), See also: อย่างยิ่ง |
allergic | (adj) ไม่ชอบ (ไม่เป็นทางการ), See also: ไม่พอใจ |
alright | (adv) ดี (คำที่ไม่เป็นทางการ), See also: น่าพอใจ, Syn. all right |
alternative | (adj) ซึ่งไม่ตามประเพณี, See also: ซึ่งไม่เป็นไปตามแผนเดิม |
amateur | (adj) ซึ่งไม่มีทักษะ, See also: ซึ่งไม่มีฝีมือ, ซึ่งไม่เป็นมืออาชีพ, Syn. inexperienced, nonprofessional, lay |
anatomy | (n) ร่างกายมนุษย ์(คำไม่เป็นทางการ) |
antenna | (n) ความอยากรู้อยากเห็น(ไม่เป็นทางการ) |
ape | (n) คนที่งุ่มง่าม (คำไม่เป็นทางการ) |
ape | (n) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตระกูลมนุษย์และลิง (คำไม่เป็นทางการ) |
apodeictic | (adj) ไม่เป็นที่สงสัย, Syn. apodictic |
apodictic | (adj) ไม่เป็นที่สงสัย, Syn. apodeictic |
arrive | (vi) ประสบความสำเร็จ (ไม่เป็นทางการ), See also: ถึง, Syn. achieve success, grow famous |
artificial | (adj) ซึ่งไม่เป็นไปตามธรรมชาติ, Syn. unnatural |
auto | (n) รถ (คำไม่เป็นทางการ), Syn. automobile, car, vehicle |
awry | (adj) ผิดพลาด, See also: ผิด, ซึ่งไม่เป็นไปตามที่คาด, Syn. wrong, amiss, astray |
act up | (phrv) มีอาการมากขึ้น (คำไม่เป็นทางการ), See also: เจ็บมากขึ้น, ปวดยิ่งขึ้น, Syn. play up |
add up | (phrv) น่าเชื่อถือ (คำไม่เป็นทางการ), See also: น่าจะเป็นจริง, สมเหตุสมผล |
alienate from | (phrv) ทำให้เหินห่าง, See also: ทำให้แตกแยก, เมินหมาง, ไม่เป็นมิตร |
alive and kicking | (idm) แข็งแรงดี (คำไม่เป็นทางการ), See also: แข็งแกร่ง |
all in | (idm) เหน็ดเหนื่อย (คำไม่เป็นทางการ), See also: อ่อนล้า, หมดแรง |
all over bar the shouting | (idm) จบสิ้นอย่างไม่เป็นทางการ |
and the like | (idm) สิ่งอื่นที่คล้ายกัน (คำไม่เป็นทางการ) |
and then some | (idm) มากกว่านั้น (คำไม่เป็นทางการ), See also: มากกว่าที่กล่าวมา |
ante up | (phrv) วางเงิน (คำไม่เป็นทางการ), See also: จ่ายเงิน |
as easy as falling off a log | (idm) ง่ายมาก (คำไม่เป็นทางการ) |
at a loose end | (idm) อยู่ไม่สุข (คำไม่เป็นทางการ) |
at a loose end | (idm) ว่างงาน (คำไม่เป็นทางการ) |
at any rate | (idm) ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม (คำไม่เป็นทางการ), See also: อย่างไรก็ตาม |
at home with | (idm) (รู้สึก) สุขสบาย (มักใช้คำกริยา be หรือ feel) (คำไม่เป็นทางการ) |
at sixes and sevens | (idm) ไม่เป็นระเบียบ (คำไม่เป็นทางการ), See also: เละเทะ |
babble | (vt) พูดอ้อแอ้, See also: พูดไม่เป็นภาษา, พูดไม่ชัด, Syn. drivel, gibber, wander |
babe | (n) เด็กสาวมีเสน่ห์ (คำไม่เป็นทางการ), Syn. girl, suckling, wench |
baby grand | (n) เปียโนขนาดใหญ่ (คำไม่เป็นทางการ), Syn. piano |
bach | (vi) (ผู้ชาย) ทำอาหาร&ดูแลบ้านเอง (คำไม่เป็นทางการ), See also: ใช้ชีวิตอย่างชายโสด, อยู่เป็นโสด |
backside | (n) ก้น (คำไม่เป็นทางการ), See also: บั้นท้าย, Syn. bottom, buttocks |
backstage | (adj) ซึ่งเป็นความลับ, See also: ซึ่งไม่เป็นที่เปิดเผย, Syn. covert |
bad | (adj) ต่ำกว่ามาตรฐาน, See also: ีไม่เป็นที่ยอมรับบ, Syn. inferior, poor, Ant. superior, good |
bad | (adj) (งาน, การกระทำ) ไม่เป็นที่น่าพอใจ, Syn. unsatisfactory, Ant. satisfactory |
acyclic | (เอโส' คลิค, เอซิด' คลิค) adj. ไม่เป็นวัฏจักร, ไม่มีลักษณ์หมุนรอบ |
aeriform | (อา' ริฟอร์ม, เอเออ' ริฟอร์ม) ซึ่งมีรูปแบบหรือลักษณะของอากาศ , ไม่มีรูปร่าง, ไม่เป็นจริง |
agonic | (เอกอน' นิค) adj. ซึ่งไม่เป็นมุม |
anisometric | (แอนนิโซเมท' ทริค) adj. ไม่เป็น isomer กัน, สัดส่วนไม่เท่ากัน, มีแกนที่มีความยาวต่างกัน (of unequal measurement) |
anomalistic | (อะนอม' มะลิสทิค) adj. ซึ่งผิดปกติวิปริต, ไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์, ผิดหลัก, ผิดที่ |
anomalous | (อะนอม' มะเลิส) adj. ผิดปกติ, ผิดหลัก, ผิดที่, ผิดปกติ, วิปริต, ไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์. -anamalousness n., Syn. irregular, abnormal, Ant. regular, normal |
antisocial | (แอนทีโซ' เชียล) adj. ต่อต้านสังคม, เบื่อหน่ายสังคม, เป็นปฏิปักษ์ หรือไม่เป็นมิตรกับผู้อื่น. -antisocialistic adj. |
antogonistic | (แอนแทก' โกนิสทิค) adj. ซึ่งต่อต้าน, เป็นปรปักษ์, ไม่เป็นมิตร, Syn. hostile, opposed, Ant. supportive, harmonious |
aperiodic | (เอเพียริออด'ดิค) adj. ไม่เป็นระยะ, ไม่สม่ำเสมอ. -aperiodicity n. (irregular) |
apocrypha | (อะพอค'ระฟะ) n. กลุ่ม 14 บทหนังสือของพระคัมภีร์เก่า Old Testment ของคริสเตียน, บทหนังสือศาสนาที่หาแปล่งมาไม่แน่ชัดและไม่เป็นที่ยอมรับกันมาก (shorten) |
apodeictic | (แอพพะดิค'ทิค) adj. ไม่เป็นที่สงสัย, ยืนยันอย่างเด็ดขาด, ไม่สามารถโต้แย้งได้ (incontestable) |
arrhythmia | (อะริธ'เมีย) n. ภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ, ภาวะไม่ได้จังหวะ., Syn. arrhythmia, arythmia, arythmia -arrhythmia al |
artificial | (อาร์ทิฟิช'เชิล) adj. เทียม, ปลอม, ไม่แท้, ประดิษฐ์ขึ้นเอง, ทำขึ้นเอง, ไม่เป็นไปตามธรรมชาติ. -artificiality n. |
babble | (แบบ'เบิล) vt., vi. พูดไม่ชัด, พูดพล่าม, พูดไม่เป็นสาระ, พูดจ้อ, เปิดเผยความลับ n. การพูดพล่ามหรือไม่เป็นสาระ, ถ้อยคำไม่เป็นสาระ |
babbling | (แบบ'บลิง) n. การพูดพล่าม, การพูดไม่เป็นสาระ, การพูดไม่ชัด adj. ซึ่งพูดพล่ามหรือไม่ชัด |
bad blood | n. ความเป็นศัตรู, ความไม่เป็นมิตร |
bevel | (เบฟ'เวิล) { bevelled, bevelling, bevels } n. ส่วนลาดหรือเอียงของเส้นหรือผิวหน้าที่ไม่เป็นมุมฉากซึ่งกันและกัน, เครื่องมือวาดมุมกับส่วนลาดเอียง adj. ลาด, เอียง, มุมเอียง vt. ทำให้เป็นมุมเอียง, เอียงตัด, ลาดตัว vi. เป็นมุมเอียง, See also: bevelled adj. เอียง |
bimag core | วงแหวนแม่เหล็กทวิเสถียร <คำแปล>ย่อมาจาก bistable magnetic core วงจรแม่เหล็ก ซึ่งเปลี่ยนสถานะได้ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง คือ ถ้าไม่เป็นบวกก็ต้องเป็นลบ |
bistable magnetic core | วงจรแม่เหล็ก ซึ่งเปลี่ยนสถานะได้ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง คือ ถ้าไม่เป็นบวก ก็ต้องเป็นลบ |
casual | (แคส' ชวล) adj. โดยบังเอิญ, จร, ประจวบเหมาะ, ไม่แน่นอน, ตามอารมณ์, ไม่เป็นทางการ, ธรรมดา ๆ (ชุดแต่งกาย) -n. คนทำงานที่ให้มาทำงานในเวลาที่ไม่แน่นอน, Syn. haphazard |
chilliness | (ชิล'ลิเนส) n. ความเมินเฉย, ความเย็นชา, ความไม่เป็นมิตร |
cloudland | n. แดนในฝัน, แดนที่ไม่เป็นความจริง |
colloquium | (คะโล'เควียม) n. การประชุม หรือปรึกษาหารืออย่าง ๆ ไม่เป็นทางการ, การอภิปรายกลุ่ม |
colored | (คัล'เลอดฺ) adj. มีสี, เกี่ยวกับชนชาติที่สีผิวหนังไม่เป็นสีขาว, เกี่ยวกับชนชาตินิโกร, ลวง, มีอคติ, มีใจโอนเอียง, ต่อแต้ม (คำพูด), Syn. prejudiced |
coloured | (คัล'เลอดฺ) adj. มีสี, เกี่ยวกับชนชาติที่สีผิวหนังไม่เป็นสีขาว, เกี่ยวกับชนชาตินิโกร, ลวง, มีอคติ, มีใจโอนเอียง, ต่อแต้ม (คำพูด), Syn. prejudiced |
crucify | (ครู'ซิไฟ) { crucified, crucifying, crucifies } vt. ตรึงให้ตายบนไม้กางเขน, ประหัตประหาร, ทำให้ดับสิ้นด้วยความไม่เป็นธรรม, See also: crucifier n., Syn. torment, torture |
derange | (ดิเรนจฺ') vt. ทำให้ไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย, ก่อกวน, ทำให้ยุ่งเหยิง, ทำให้สติฟั่นเฟือน, ทำให้บ้า, Syn. disorder |
derangement | (ดิเรนจฺ'เมินทฺ) n. ความยุ่งเหยิง, ความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย, ความบ้า |
desultory | (เดส'ซัลโทรี) adj. ไม่ปะติดปะต่อ, ไม่ต่อเนื่อง, ไม่เป็นระเบียบ, โยกเยก, See also: desultoriness n., Syn. cursory |
discompose | (ดิสคัมโพซ') vt. ทำให้กลัดกลุ้ม, ทำให้ไม่เป็นสุข, ก่อกวน., See also: discomposedly adv., Syn. disarrange |
discomposure | (ดิสคัมโพ'เชอะ) n. ความไม่เป็นสุข, ภาวะที่ถูกก่อกวน, ความร้อนใจ, ความวุ่นวายใจ, Syn. perturbation |
disconnected | adj. ซึ่งแยกออก, ไม่ปะติดปะต่อ, ไม่เชื่อมติดกัน, ไม่ต่อกัน, ซึ่งไร้เหตุผล, ไม่เป็นระเบียบ., Syn. rambling |
disconnection | n. การแยกออก, การไม่ต่อกัน, การไร้เหตุผล, การไม่เป็นระเบียบ, Syn. disconnexion |
dishabille | (ดิสชะบีล') n. การแต่งตัวรุ่มร่าม, ความไม่เป็นระเบียบ, ภาวะจิตฟุ้งซ่าน., Syn. deshabille n. |
disjoint | vt., vi. แยกข้อต่อ, แยกส่วนต่อ, ทำให้ข้อต่อหลุด, ทำให้ไม่เป็นระเบียบ |
disnature | (ดิสเน'เชอะ) vt. ทำให้ไม่เป็นไปตามสภาพหรือลักษณะตามธรรมชาติ |
disorder | (ดิสออร์'เดอะ) n. ความไม่เป็นระเบียบ, ความสับสน, ความผิดปกติทางกายหรือใจ. vt. ทำให้ไม่เป็นระเบียบ, ทำให้ยุ่งเหยิง, ทำให้สับสน., Syn. bustle, Ant. order, form |
disorderly | adj., adv. ไม่เป็นระเบียบ, ยุ่งเหยิง, สับสน, See also: disorderliness n. ดูdisorderly, Syn. untidy, unruly, Ant. tidy, civil |
disorganisation | n. ความไม่เป็นระเบียบ, ความสับสน, ความยุ่งเหยิง |
disorganise | vt. ทำให้สับสน, ทำให้ไม่เป็นระเบียบ., See also: disorganiser n. ดูdisorganize disorganizer n. ดูdisorganize |
disorganization | n. ความไม่เป็นระเบียบ, ความสับสน, ความยุ่งเหยิง |
disorganize | vt. ทำให้สับสน, ทำให้ไม่เป็นระเบียบ., See also: disorganiser n. ดูdisorganize disorganizer n. ดูdisorganize |
easy | (อี'ซี) adj., adv. ง่าย, ง่ายดาย, ไม่ลำบาก, สะดวกสบาย, ไม่เข้มงวด, ผ่อนผัน, ไม่เป็นภาระ, สบายอกสบายใจ, ไม่แน่น, ไม่รัด, ไม่เร่งรีบ n. การหยุดพักชั่วคราว. -Phr. (take it easy, go easy ตามสบาย, ไม่ต้องทำงานหนัก), Syn. light, Ant. difficult |
evil | (อี'เวิล) adj., n. (สิ่งที่, ความ) ชั่ว, ไม่ดี, ร้าย, เลว, โชคร้าย, ไม่เป็นมงคล, บาป, อกุศล, เป็นภัย, เป็นอันตราย, เกี่ยวกับอารมณ์ร้าย, -Phr. (the evil one ซาตาน, ปีศาจ), See also: evilness n. ดูevil, Syn. wicked |
feddle-faddle | n. ความไร้สาระ, เรื่องขี้ประติ๋ว, สิ่งที่ไม่เป็นหลักสำคัญ. vi. จู้จี้, ยุ่ง, เอะอะ. -fiddle-faddler n. |
fixed disk | จานบันทึกอยู่กับที่เป็นชื่อที่ใช้เรียกฮาร์ดดิสก์ (hard disk) อีกชื่อหนึ่ง เพราะโดยปกติ เราไม่อาจจะถอดจานบันทึกแข็งนี้ ออกจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ และเพื่อให้เห็นความแตกต่างระหว่าง จานบันทึกแบบธรรมดา (floppy disk) ที่สามารถถอดหรือดึงออกได้ง่าย อย่างไรก็ตาม ฮาร์ดดิสก์ที่ดึงเข้าออก ได้ก็มี ใช้อยู่ บ้าง แม้ว่าจะไม่เป็นที่นิยมนัก ฮาร์ดดิสก์ชนิดนั้น เรียกว่า removable hard disk ดู removable hard disk ประกอบ |
forbidding | (ฟอร์บิด'ดิง) adj. ไม่เป็นมิตร, น่ากลัว, อันตราย, มีภัยคุกคาม., See also: forbiddingly adv. forbiddingness n. |
forced | (ฟอร์ซฺทฺ) adj. ซึ่งถูกบังคับ, ซึ่งถูกบีบบังคับ, ใช้แรง, ฝืนใจ, ไม่เป็นไปตามธรรมชาติ., See also: forcedly adv. ness n. |
fremd | (เฟรมดฺ) adj. ต่างถิ่น, แปลก, ไม่เป็นมิตร |
harmless | adj. ไม่มีภัย, ไม่เป็นอันตราย, ไม่ได้รับบาดเจ็บ., See also: harmlessness n., Syn. innoxious |
backyard | (n) ความเป็นศัตรู, ความเกลียดชัง, ความไม่เป็นมิตร |
casual | (adj) ประจวบเหมาะ, บังเอิญ, ตามอารมณ์, ธรรมดาๆ, ไม่เป็นทางการ |
chillness | (n) ความเย็นชา, ความเฉยเมย, ความเยือกเย็น, ความไม่เป็นมิตร |
decided | (adj) เด็ดเดี่ยว, แน่วแน่, เด็ดขาด, แน่นอน, ไม่มีปัญหา, ไม่เป็นอื่น |
disaffected | (adj) ไม่เป็นมิตร, ไม่ซื่อสัตย์, ไม่พอใจ, เหินห่าง |
disaffection | (n) ความไม่เป็นมิตร, ความไม่ซื่อสัตย์, ความไม่พอใจ, ความเหินห่าง, ความบาดหมาง |
discompose | (vt) ทำให้สับสน, ก่อกวน, ทำให้ไม่เป็นสุข, ทำให้กลุ้ม |
disorder | (n) ความวุ่นวาย, ความยุ่งเหยิง, ความสับสน, ความไม่เป็นระเบียบ, ความอลหม่าน |
disorderly | (adj) ยุ่งเหยิง, โกลาหล, อลหม่าน, วุ่นวาย, สับสน, ไม่เป็นระเบียบ |
disorganize | (vt) ทำให้แตกแยก, ทำให้ยุ่งเหยิง, ทำให้สับสน, ทำให้ไม่เป็นระเบียบ |
fragmentary | (adj) ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน, ไม่ครบถ้วน, กระท่อนกระแท่น, ขาดวิ่น, เป็นเสี่ยงๆ |
fruitless | (adj) ไร้ผล, ไม่เป็นผล, ไม่มีผล, เป็นหมัน |
harmless | (adj) ไม่มีอันตราย, ไม่เป็นพิษเป็นภัย |
helpless | (adj) หมดหนทาง, ไม่มีผู้ช่วย, ไม่เป็นประโยชน์ |
hollowness | (n) ความกลวง, ความไม่เป็นแก่นสาร, ความไม่จริงใจ, ความไม่แน่นอน |
hostile | (adj) เป็นศัตรู, มุ่งร้าย, เกลียดชัง, ไม่เป็นมิตร |
hostility | (n) ความเป็นศัตรู, ความไม่เป็นมิตร, ความมุ่งร้าย, ความเกลียดชัง |
immaterial | (adj) ไม่มีตัวตน, ไม่เป็นแก่นสาร, ไม่สำคัญ, ไม่ใช่วัตถุ |
inauspicious | (adj) ไม่เป็นมงคล, ลางไม่ดี, เป็นลางร้าย |
inconclusive | (adj) ไม่เป็นผล, ค้างคา, พิสูจน์ไม่ได้, ไม่ลงเอย |
indefeasible | (adj) ไม่เป็นโมฆะ, ยกเลิกไม่ได้ |
inefficacious | (adj) ไม่ชะงัด, ไม่เป็นผลดี |
informal | (adj) ไม่มีพิธีรีตอง, ไม่เป็นทางการ, เป็นกันเอง, สบายๆ |
injustice | (n) ความไม่เป็นธรรม, ความผิด, การล่วงละเมิด |
inoperative | (adj) ไม่เป็นผล, ไม่มีผลบังคับ, ไม่ทำงาน, ไม่ได้กระทำ |
intact | (adj) ไม่ถูกแตะต้อง, ไม่บุบสลาย, ไม่เป็นอันตราย, ครบถ้วน |
jabber | (n) การส่งเสียงเจี๊ยวจ๊าว, การพูดไม่เป็นสาระ, การพูดรัว |
jabber | (vi) พูดรัว, ส่งเสียงเจี๊ยวจ๊าว, พูดไม่เป็นสาระ |
mess | (n) ความสับสน, ความไม่เป็นระเบียบ, ความยุ่งเหยิง, อาหารจานหนึ่ง |
messy | (adj) ยุ่ง, สกปรก, ไม่เป็นระเบียบ, ลำบากใจ |
migrate | (vi) ท่องเที่ยวไป, อพยพ, ย้ายถิ่น, โยกย้าย, อยู่ไม่เป็นที่ |
never | (adv) ไม่เคย, ไม่เลย, ไม่แน่นอน, ไม่เป็นอันขาด |
nonsensical | (adj) ไม่เป็นเรื่อง, ไร้สาระ, เหลวไหล |
null | (adj) ไม่มีค่า, เป็นศูนย์, เป็นโมฆะ, ไม่เป็นผล, ไม่สำคัญ |
paltry | (adj) ไม่สำคัญ, ขี้ปะติ๋ว, ไม่เป็นสาระ, เหลวไหล, เล็กๆน้อยๆ |
portentous | (adj) เป็นลางร้าย, เป็นลางสังหรณ์, ไม่เป็นมงคล, มหัศจรรย์ |
puerile | (adj) ไม่เป็นประสา, ไร้สาระ, ไร้เดียงสา |
quack | (vi) ร้องเสียงเป็ด, พูดเสียงขรม, พูดไม่เป็นสาระ, หลอกลวง, ต้มตุ๋น |
sterilize | (vt) ฆ่าเชื้อโรค, ทำให้เป็นหมัน, ทำให้แห้งแล้ง, ทำให้ไม่เป็นผล |
trivial | (adj) เล็กน้อย, ไม่เป็นสาระ, น่ารำคาญ |
unavailing | (adj) ไม่เป็นประโยชน์, ไม่อำนวย, ไม่ได้ผล |
undoubted | (adj) ไม่เป็นที่สงสัย, ไม่มีปัญหา, แน่นอน |
unfriendly | (adj) ไม่เป็นมิตร, มุ่งร้าย |
unpleasant | (adj) ไม่เป็นที่พอใจ, ไม่สนุก, ไม่ราบรื่น |
unpopular | (adj) ไม่กว้างขวาง, ไม่เป็นที่นิยม, ไม่แพร่หลาย |
unvexed | (adj) ไม่ถูกรบกวน, ไม่ระคายเคือง, ไม่เป็นทุกข์ |
wrong | (adj) ผิด, เข้าใจผิด, ไม่เป็นธรรม, ไม่เหมาะสม |