ถีบหัวส่ง | ก. ไล่ไปให้พ้น, ไม่ไยดีอีกต่อไป. |
ผินหลังให้ | ก. ไม่สนใจ, ไม่แยแส, ไม่ไยดี, เลิกคบกัน. |
ไม่ยี่หระ | ก. ไม่สะทกสะท้าน, ไม่ไยดี, เช่น ใครจะด่าว่าอย่างไร เขาก็ไม่ยี่หระ. |
ไยดี | ก. พอใจ, ยินดี, เอื้อ, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ไม่ไยดี อย่าไปไยดี. |
ว่าวอน | ก. อ้อนวอน เช่น ผ่านม่านสุวรรณซึ่งกั้นกาง เห็นนางบรรทมอยู่ในที่ พี่เลี้ยงโลมไล้ไม่ไยดี มะเดหวีจึงเข้าไปว่าวอน (อิเหนา). |
วิราคะ | น. ความปราศจากราคะ, ความหน่าย, ความไม่ไยดี |
หมาไล่เนื้อ | น. คนที่รับใช้ผู้อื่นเมื่อเวลายังทำประโยชน์ให้ได้ ผู้เป็นนายก็เมตตาเลี้ยงดู แต่เมื่อทำประโยชน์ไม่ได้แล้ว ผู้เป็นนายก็ทอดทิ้งไม่ไยดีหรือหาเรื่องลงโทษขับไล่ไสส่งเป็นต้น เปรียบเสมือนหมาไล่เนื้อ เมื่อแก่สิ้นเขี้ยวสิ้นเล็บ ใช้ไล่ล่าสัตว์ไม่ได้ เจ้าของก็ไม่เมตตาเลี้ยงดูอีกต่อไป. |
indifferent | (อินดิฟ' เฟอเรินทฺ) adj. ไม่สนใจ, เมินเฉย, ไม่แยแส, ไม่ไยดี, ไม่ลำเอียง, ความเป็นกลางไม่ดีเท่าไร, ไม่สำคัญ, เป็นกลาง. -n. บุคคลผู้เมินเฉย., See also: indifferently adv., Syn. apathetic, ordinary, Ant. concerned, avid |
languid | (แลง'กวิด) adj. อ่อนเปลี้ย, เพลียแรง, อ่อนกำลัง, เฉื่อยชา, เหนื่อย, โรยรา, ละห้อย, เหี่ยวแห้ง, ไม่ไยดี., See also: languidness n. ดูlanguid, Syn. pensive, drooping |
languish | (แลง'กวิช) { languished, languishing, languishes } vi. อ่อนกำลัง, อ่อนเพลีย, อ่อนเปลี้ย, หดหู่, ไม่ไยดี, อิดโรย, ร่วงโรย, ละห้อย, โรยรา, ทำหน้าตาเศร้าหมอง., See also: languisher n. languishing adj. ดlanguishู |
snub | (สนับ) vt., n. (การ) ดูถูก, ดูแคลน, เหยียดหยาม, ปฎิเสธ, บอกปัดอย่างไม่ไยดี, ไม่แยแส, ตำหนิอย่างมาก, ตรึงหรือยึดด้วยสายเคเบิล, ตรึงเวลา, หยุดยั้ง. adj. (จมูก) สั้นและงอขึ้นตรงปลาย, (จมูก) แบน, ทื่อ, ทู่, Syn. ignore, neglect |