Library cooperation | ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Economic cooperation | ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] |
Asia Pacific Economic Cooperation (Organization) | ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก [TU Subject Heading] |
Asian cooperation | ความร่วมมือของเอเชีย [TU Subject Heading] |
College-school cooperation | ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกับโรงเรียน [TU Subject Heading] |
Cooperation | ความร่วมมือ [TU Subject Heading] |
Cooperation and socialism | สหกรณ์กับสังคมนิยม [TU Subject Heading] |
Inter-school cooperation | ความร่วมมือระหว่างโรงเรียน [TU Subject Heading] |
Intergovernmental cooperation | ความร่วมมือระหว่างรัฐ [TU Subject Heading] |
International cooperation | ความร่วมมือระหว่างประเทศ [TU Subject Heading] |
Library cooperation | ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด [TU Subject Heading] |
Pacific Area cooperation | ความร่วมมือของภูมิภาคแปซิฟิก [TU Subject Heading] |
Public-private sector cooperation | ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน [TU Subject Heading] |
University cooperation | ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย [TU Subject Heading] |
Asia-Pacific Economic Cooperation | กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเซีย -แปซิฟิก, Example: ประกอบด้วยสมาชิก 18 ประเทศ (ปี2538) ได้แก่ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน จีน ไต้หวัน ฮ่องกง เม็กซิโก ปาปัวนิวกีนี และชิลี โดยเริ่มกำเนิดขึ้นจากการประชุมระดับรัฐมนตรีของประเทศในภูมิภาคเมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ณ ประเทศออสเตรเลีย เป็นการรวมตัวกันอย่างหลวมๆ เพื่อความร่วมมือกันทางด้านเศรษฐกิจเท่านั้น วัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน คือ สนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้า ของภูมิภาคและของโลกขยายความร่วม มือในกสาขาเศรษฐกิจที่มีความสนใจร่วมกัน พัฒนาและส่งเสริมระบบการค้าหลายฝ่ายของแกตต์ ลดอุปสรรคในการค้าสินค้าและบริการ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ประเทศสิงคโปร์ [สิ่งแวดล้อม] |
Economic Cooperation Council (ECO) | สภาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ, Example: กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ที่นับถือศาสนาอิสลามมีสมาชิก 10 ประเทศ ได้แก่ อิหร่าน ปากีสถาน อัฟกานิสถาน ตุรกี อาเซอร์ไบจัน อุสเบกิสถาน คาซักสถาน คีร์กีเซีย เคอรักเบนิสถาน และทาจิกิจสถาน สมาชิกกลุ่มนี้ได้จัดประชุมเป็นครั้งแรก เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 ที่กรุงเตหะราน ประเทศอิหร่าน และต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 ได้จัดประชุมระดับรัฐมนตรีเพื่อกำหนดแนวทางความร่วมมือของกลุ่มในด้านต่างๆ ซึ่งรวมทั้งการส่งเสริมการค้าระหว่างกัน โดยการลดอุปสรรคต่างๆ ทั้งทางด้านภาษีและที่มิใช่ภาษีลง [สิ่งแวดล้อม] |
Organization for Economic Cooperation and Development (ODEC) | องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการ พัฒนา, Example: องค์การระหว่างประเทศ ประกอบด้วยสมาชิก ที่เป็นประเทศอุตสาหกรรมที่พัฒนาแล้วรวม 24 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ออสเตรีย เบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ญี่ปุ่น ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ นอร์เวย์ โปรตุเกส สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2504 เพื่อส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การจ้างงาน และมาตรฐานการครองชีพของประเทศสมาชิก ในขณะเดียวกันก็มีนโยบายรักษาเสถียรภาพทางเงินของโลก เพื่อให้เอื้ออำนวนต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลก นอกจากนี้ยังใช้เวทีในการเจรจาหารือปัญหาทางเศรษฐกิจของโลก และการให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศกำลังพัฒนาด้วย องค์การนี้เดิมคือองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในยุโรป ซึ่งก่อตั้งขึ้นมาตามแผนฟื้นฟูยุโรปในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ของรัฐมนตรีจอร์จมาร์เชลล์ (George Marshall) แห่งสหรัฐอเมริกา (ดู Marshall Plan) [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN-Australia Development Cooperation Programme | โครงการความร่วมมือด้านการพัฒนาอาเซียน-ออสเตรเลีย เป็นกรอบความร่วมมือระยะ 5 ปี ที่ออสเตรเลียให้ความร่วมมือกับ อาเซียนในด้านโครงการพัฒนากับอาเซียน โดยจะเริ่มโครงการครั้งแรกระหว่างช่วงปี พ.ศ. 2544-2549 มีมูลค่ารวม 45 ล้านเหรียญออสเตรเลีย ซึ่งอาเซียนต้องออกเงินสมทบโครงการอีกร้อยละ 20 อนึ่ง AADCP เป็นโครงการความร่วมมือที่เกิดขึ้นเพื่อทดแทน AAECP (ASEAN-Australia Economic Cooperation Programme หรือ โครงการร่วมมือด้านเศรษฐกิจอาเซียน-ออสเตรเลีย) ซึ่งจะสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2546 [การทูต] |
Asia Cooperation Dialogue | ความร่วมมือเอเชีย เวทีความร่วมมือในระดับทวีปเอเชีย โดยเป็นความคิดริเริ่มของไทยในการสร้างกรอบความร่วมมือที่ครอบคลุมทุกอนุ ภูมิภาคของเอเชีย มีวัตถุประสงค์ที่จะเชื่อมโยงจุดแข็งและต่อยอดความร่วมมือต่าง ๆ ของประเทศเอเชีย โดยอาศัยความแตกต่างหลากหลายและทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ซึ่งเอเชียมีอยู่มา ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมุ่งสร้างความร่วมมือในวงกว้างทั้งทวีปเอเชีย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ซึ่งจะทำให้ภูมิภาคเอเชียแข็งแกร่งและเป็นหุ้นส่วนที่เข้มแข็งสำหรับภูมิภาค อื่น ๆ เอซีดีได้มีการประชุมครั้งแรกเมื่อ 18-19 มิถุนายน 2545 โดยมีผู้แทนระดับรัฐมนตรีจาก 18 ประเทศเข้าร่วม ที่ประชุมได้แบ่งกรอบความร่วมมือเป็น 2 มิติ ได้แก่ มิติการหารือ (dialogue dimension) และมิติโครงการความร่วมมือ (project dimension) เช่น การท่องเที่ยว ความมั่นคงทางพลังงาน และการพัฒนาตลาดพันธบัตรเอเชีย (Asian Bond Market) [การทูต] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] |
Asia-Europe Cooperation Framework | กรอบความร่วมมือเอเชีย-ยุโรป เป็นเอกสารที่กำหนดแนวทางความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในกรอบอาเซม ซึ่งได้รับรองในที่ประชุมผู้นำอาเซม ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน [การทูต] |
Agreement on Economic and Technical Cooperation | ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ [การทูต] |
ASEAN Industrial Cooperation Scheme | โครงการความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมอาเซียน เป็นมาตรการเพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนวัตถุดิบการผลิตในรูปสินค้าสำเร็จ รูป/กึ่งสำเร็จรูป เพื่อใช้ในการผลิตทางอุตสาหกรรมระหว่างบริษัทที่ตั้งอยู่ในประเทศอาเซียน อันจะเป็นการสนับสนุนการแบ่งกันผลิตและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของภาค อุตสาหกรรมในอาเซียน โดยจะต้องเป็นความร่วมมือตั้งแต่สองประเทศขึ้นไป และมีคนชาติประเทศสมาชิกอาเซียนมีหุ้นส่วนอยู่ในแต่ละบริษัทอย่างน้อยร้อยละ 30 สินค้าที่ได้รับอนุมัติให้อยู่ในโครงการจะได้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรใน อัตราร้อยละ 0-5 ในทันที โดยไม่ต้องรอให้เขตการค้าเสรีอาเซียนมีผลบังคับใช้ [การทูต] |
ASEAN-India Joint Cooperation Committee | คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-อินเดีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน โดยอินเดียและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนสลับกันเป็นเจ้าภาพ เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับอินเดีย [การทูต] |
ASEAN-Mekong Basin Development Cooperation | ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาอาเซียน-ลุ่มน้ำโขง เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ และจีน เพื่อพัฒนาลุ่มน้ำโขง [การทูต] |
AEM-MITI Economic and Industrial Cooperation Committee | คณะกรรมการความร่วมมือทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมระหว่างอาเซียนกับญี่ปุ่น เป็นกรอบการหารือระหว่างรัฐมนตรีเศรษฐกิจของอาเซียนกับกระทรวงการค้าต่าง ประเทศและอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น จัดประชุมครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2541 [การทูต] |
ASEAN-New Zealand Economic Cooperation Programme | โครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนกับนิวซีแลนด์ [การทูต] |
Asia Pacific Economic Cooperation | ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก " เป็นกระบวนการความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2532 มีเป้าหมายในการเปิดการค้าเสรีและการลงทุน ภายในปี พ.ศ. 2553 สำหรับสมาชิกพัฒนาแล้ว และปี พ.ศ. 2563 สำหรับสมาชิกกำลังพัฒนา ขณะนี้มีสมาชิกประกอบด้วย ออสเตรเลีย บรูไน ดารุสซาลาม แคนาดา ชิลี จีน ฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด์ ปาปัวนิวกีนี เปรู ฟิลิปปินส์ รัสเซีย สิงคโปร์ จีนไทเป ไทย สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม โดยประเทศไทยเป็นสมาชิกก่อตั้ง " [การทูต] |
ASEAN-Pakistan Joint Sectoral Cooperation Committee | คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมือเฉพาะด้านอาเซียน-ปากีสถาน เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน โดยปากีสถานและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนสลับกันเป็นเจ้าภาพ เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับปากีสถาน [การทูต] |
ASEAN-Russia Cooperation Fund | กองทุนความร่วมมืออาเซียน-รัสเซีย รัสเซียตกลงที่จะออกเงินสมทบกองทุนครั้งแรกเป็นจำนวนเงิน 5 แสนเหรียญสหรัฐ [การทูต] |
ASEAN-Russia Joint Cooperation Committee | คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-รัสเซีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน มีคณะทำงาน 2 คณะ คือ (1) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ (2) ด้านเศรษฐกิจ [การทูต] |
ASEAN-Canada Joint Cooperation Committee | คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-แคนาดา เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุกปี เพื่อทบทวน ติดตามและขยายความร่วมมือระหว่างกันในด้านต่าง ๆ [การทูต] |
ASEAN-European Community Joint Cooperation Committee | คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-ประชาคมยุโรป " จัดตั้งขึ้นตามความตกลงว่าด้วยความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประชาคมยุโรป (ASEAN-EC Cooperation Agreement) ที่ลงนามกันเมื่อปี พ.ศ. 2523 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาระหว่างสองฝ่าย โดยมีคณะอนุกรรมการ 6 คณะ ได้แก่ ด้าน การค้า เศรษฐกิจอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม และยาเสพติด " [การทูต] |
Asia-Africa Cooperation | ความร่วมมือระหว่างเอเชียกับแอฟริกา " เป็นความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียกับ ภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบการประชุมระหว่างประเทศเพื่อ การพัฒนาแอฟริกา ณ กรุงโตเกียว (Tokyo International Conference on African Development - TICAD) " [การทูต] |
Quadrangle Economic Cooperation | กรอบความร่วมมือสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว และจีน (มณฑลยูนนาน) ที่มา : หนังสือคำศัพท์-คำย่อทางการทูต สถาบันการต่างประเทศ กต. (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2) [การทูต] |
Bureau de Cooperation pour le Francais | สำนักงานความร่วมมือด้านภาษาฝรั่งเศส ปัจจุบันมีความร่วมมือระหว่างรัฐบาลฝรั่งเศสกับรัฐบาล ไทยเพื่อดำเนินโครงการ BCF โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศส ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และอุดมศึกษา โดยรัฐบาลฝรั่งเศสให้ความร่วมมือด้านผู้เชี่ยวชาญ ทุนการศึกษา ทุนฝึกอบรม เป็นต้น [การทูต] |
Bangladesh-India-Myanmar- Sri Lanka and Thailand Economic Cooperation | กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างบังกลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา และไทย " ในช่วงแรกบังกลาเทศ-อินเดีย-พม่า-ไทย ได้ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพ เพื่อจัดตั้งความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างบังกลาเทศ-อินเดีย-ศรีลังกา-ไทย (BIST-EC) เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2540 ต่อมา ได้รับพม่าเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ และเปลี่ยนชื่อจาก BIST-EC เป็น BIMST-EC เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2540 " [การทูต] |
Black Sea Economic Cooperation | กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจของประเทศริมฝั่งทะเลดำ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 มีสมาชิก 11 ประเทศ ประกอบด้วยรัสเซีย แอลเบเนีย อาร์เมเนีย อาร์เซอร์ไบจาน จอร์เจีย บัลแกเรีย กรีซ มอลโดวา ตุรกี ยูเครนและโรมาเนีย [การทูต] |
Council for Security and Cooperation in the Asia-Pacific | ชมรมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในเอเชียแปซิฟิก เป็นสถาบันเอกชนก่อตั้งขึ้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2536 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (Institute of Security and International Studies : ISIS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันก่อตั้งร่วมกับสถาบันอื่น ๆ จากประเทศอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก CSCAP เป็นกลไกที่ไม่ใช่เป็นทางการ เพื่อให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฐานะส่วนตัวและบุคคลอื่นได้อภิปรายปัญหาทางการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก [การทูต] |
ASEAN Electronic Commerce Cooperation | ความร่วมมือด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียน [การทูต] |
ASEAN Initiative on Electronic Commerce Cooperation | ความริเริ่มด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียน " เป็นแผนงานหลักในการพัฒนาและส่งเสริมความร่วมมือด้านการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียน ประกอบด้วย (1) การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม (2) การกำหนดนโยบายและกฎหมายที่อำนวยความสะดวกการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (3) การเปิดเสรีด้านการค้าสินค้าบริการและการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการ จัดทำกรอบความตกลงว่าด้วยพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (4) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ (5) การ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในภาครัฐ " [การทูต] |
Economic and Technical Cooperation | ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจและวิชาการ [การทูต] |
Forum for East Asia - Latin America Cooperation | เวทีความร่วมมือระหว่างเอเชียตะวันออกและลาตินอเม ริกา สมาชิก 32 ประเทศ จากภูมิภาคเอเชียและลาตินอเมริกา โดยมีสมาชิก จากฝ่ายเอเชีย 15 ประเทศ คือ กลุ่ม ASEAN (10 ประเทศ) จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ และจากฝ่ายลาตินอเมริกา 17 ประเทศ ได้แก่ เม็กซิโก กัวเตมาลา เอลซัลวาดอร์ คอสตาริกา นิการากัว คิวบา ปานามา เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา บราซิล โบลิเวีย เอกวาดอร์ ปารากวัย อุรุกวัย อาร์เจนตินา และชิลี วัตถุประสงค์ จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2542 มีการประชุมระดับรัฐมนตรีต่าง -ประเทศทุก 2 ปี ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส ปีละ 2 ครั้ง และคณะทำงาน 3 คณะ ปีละ 2 ครั้ง (คณะทำงานด้านการเมือง วัฒนธรรม และการศึกษา / ด้านเศรษฐกิจและสังคม / และด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเวทีปรึกษาหารือและร่วมมือกันอย่างไม่เป็นทางการระหว่างประเทศเอเชียและ ลาตินอเมริกา โดยมีเป้าหมายไปที่การดำเนินโครงการความร่วมมือในทุกสาขาที่ประเทศสมาชิกมี ความสนใจร่วมกัน [การทูต] |
functional cooperation | ความร่วมมือเฉพาะด้าน " หมายถึง ความร่วมมือด้านอื่น ๆ ของอาเซียนที่นอกเหนือจากความ ร่วมมือด้านการเมืองและเศรษฐกิจ " [การทูต] |
Ganga-Suwanabhumi-Mekong Cooperation | ความร่วมมือลุ่มน้ำคงคา-สุวรรณภูมิ-ลุ่มน้ำโขง ประกอบด้วย ไทย-ลาว-พม่า-เวียดนาม-กัมพูชา และอินเดีย เป็นกรอบความร่วมมือที่เสนอในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับ รัฐมนตรีต่างประเทศประเทศคู่เจรจา ครั้งที่ 33 เมื่อ 28 กรกฎาคม 2543 โดยมีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2543 [การทูต] |
Cooperation Council for the Arab States of the Gulf | คณะมนตรีความร่วมมือรัฐอ่าวอาหรับ " ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2524 ปัจจุบันมีสมาชิก 6 ประเทศ ได้แก่ ซาอุดี- อาระเบีย บาห์เรน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คูเวต โอมาน และกาตาร์ " [การทูต] |
Greater Mekong Subregion Economic Cooperation | กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง หรือ กรอบความร่วมมือหกเหลี่ยมเศรษฐกิจ " ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (มณฑล ยูนนาน) มีธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) เป็นกลไกประสานความร่วมมือ โดยริเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 ประกอบด้วยความร่วมมือ 8 สาขา ได้แก่ คมนาคมขนส่ง พลังงาน สื่อสาร โทรคมนาคม พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อม และการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ การค้า และการลงทุน " [การทูต] |
Indian Ocean Rim Association for Regional Cooperation | สมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคมหาสมุทรอินเดีย ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2537 โดย Charter of the Indian Ocean Rim Association for Regional Co-operation มีสมาชิกทั้งหมด 19 ประเทศ และมีอียิปต์กับญี่ปุ่นเป็นประเทศคู่เจรจาด้วย สำนักงานเลขาธิการตั้งอยู่ที่สาธารณรัฐมอริเชียส [การทูต] |
Mekong - Ganga Cooperation | ความร่วมมือแม่นำโขง - คงคา ริเริ่มขึ้นเมื่อกรกฎาคม พ.ศ.2543 ที่กรุงเทพฯ มีสมาชิก 6 ประเทศ คือกัมพูชา อินเดีย ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงกับประเทศในลุ่มแม่น้ำคงคาในด้านการ ท่องเที่ยว การศึกษาวัฒนธรรม และคมนาคมขนส่งโดยอาศัยปัจจัยทางเศรษฐกิจที่เกื้อกูลกันและความสัมพันธ์ที่ ดีระหว่างกัน และเป็นยุทธศาสตร์เชื่อมโยง GMS (จีน) ไปสู่อินเดีย [การทูต] |
Neighbouring Countries Economic Development Cooperation Fund | กองทุนให้ความช่วยเหลือพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพื่อนบ้าน " ได้รับการจัดตั้งขึ้นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยกองทุนให้ความช่วย เหลือพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพื่อนบ้าน พ.ศ. 2539 โดยให้สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง เป็นหน่วยงาน รับผิดชอบ มีวัตถุประสงค์ให้เงินกู้ผ่อนปรนแก่รัฐบาล หรือรัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการเงินของรัฐบาลประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ลาว กัมพูชา พม่า และเวียดนาม เพื่อลงทุนในโครงการพัฒนาประเทศ โดยเงินกู้ที่ รัฐบาลไทยปล่อยให้กู้นี้ จะต้องเป็นเงินสกุลบาท และส่วนหนึ่งของ เงินกู้จะต้องนำไปซื้อสินค้าและบริการจากภาคเอกชนไทย " [การทูต] |
合作 | [hé zuò, ㄏㄜˊ ㄗㄨㄛˋ, 合 作] to cooperate; to collaborate; to work together; cooperation #414 [Add to Longdo] |
协作 | [xié zuò, ㄒㄧㄝˊ ㄗㄨㄛˋ, 协 作 / 協 作] cooperation; coordination #5,936 [Add to Longdo] |
交汇 | [jiāo huì, ㄐㄧㄠ ㄏㄨㄟˋ, 交 汇 / 交 匯] to flow together; confluence (of rivers, airflow, roads); (international) cooperation #17,592 [Add to Longdo] |
同心 | [Tóng xīn, ㄊㄨㄥˊ ㄒㄧㄣ, 同 心] Tongxin county in Ningxia; with common wishes; a spirit of cooperation; concentric #20,610 [Add to Longdo] |
经合组织 | [jīng hé zǔ zhī, ㄐㄧㄥ ㄏㄜˊ ㄗㄨˇ ㄓ, 经 合 组 织 / 經 合 組 織] OECD (Organization for Economic Cooperation and Development) OECD; abbr. for 經濟合作與發展組織|经济合作与发展组织 #22,343 [Add to Longdo] |
协和 | [xié hé, ㄒㄧㄝˊ ㄏㄜˊ, 协 和 / 協 和] mediate; harmonize; (mus.) consonant; cooperation; Concorde (the Anglo-French aircraft) #29,624 [Add to Longdo] |
不合作 | [bù hé zuò, ㄅㄨˋ ㄏㄜˊ ㄗㄨㄛˋ, 不 合 作] noncooperation #40,645 [Add to Longdo] |
上合 | [Shàng Hé, ㄕㄤˋ ㄏㄜˊ, 上 合] SCO (Shanghai cooperation organization), involving China, Russia, Kazakhstan, Kyrghizstan, Tajikistan and Uzbekistan; abbr. for 上海合作組織|上海合作组织 #42,102 [Add to Longdo] |
经合 | [jīng hé, ㄐㄧㄥ ㄏㄜˊ, 经 合 / 經 合] OECD (Organization for Economic Cooperation and Development) OECD; abbr. for 經濟合作與發展組織|经济合作与发展组织 #62,547 [Add to Longdo] |
对外贸易经济合作部 | [duì wài mào yì jīng jì hé zuò bù, ㄉㄨㄟˋ ㄨㄞˋ ㄇㄠˋ ㄧˋ ㄐㄧㄥ ㄐㄧˋ ㄏㄜˊ ㄗㄨㄛˋ ㄅㄨˋ, 对 外 贸 易 经 济 合 作 部 / 對 外 貿 易 經 濟 合 作 部] Ministry of Foreign Trade and Economic Cooperation (MOFTEC) #76,729 [Add to Longdo] |
吴越同舟 | [Wú Yuè tóng zhōu, ㄨˊ ㄩㄝˋ ㄊㄨㄥˊ ㄓㄡ, 吴 越 同 舟 / 吳 越 同 舟] Wu and Yue in the same boat (成语 saw); fig. cooperation between natural rivals; to collaborate towards a common end; in the same boat together #919,729 [Add to Longdo] |
上合组织 | [Shàng Hé Zǔ zhī, ㄕㄤˋ ㄏㄜˊ ㄗㄨˇ ㄓ, 上 合 组 织 / 上 合 組 織] Shanghai cooperation organization (SCO), involving China, Russia, Kazakhstan, Kyrghizstan, Tajikistan and Uzbekistan [Add to Longdo] |
上海合作组织 | [Shàng hǎi Hé zuò Zǔ zhī, ㄕㄤˋ ㄏㄞˇ ㄏㄜˊ ㄗㄨㄛˋ ㄗㄨˇ ㄓ, 上 海 合 作 组 织 / 上 海 合 作 組 織] Shanghai cooperation organization (SCO), involving China, Russia, Kazakhstan, Kyrghizstan, Tajikistan and Uzbekistan [Add to Longdo] |
中法 | [Zhōng Fǎ, ㄓㄨㄥ ㄈㄚˇ, 中 法] China-France (cooperation); Sino-French [Add to Longdo] |
亚太经合会 | [Yà Tài jīng hé huì, ㄧㄚˋ ㄊㄞˋ ㄐㄧㄥ ㄏㄜˊ ㄏㄨㄟˋ, 亚 太 经 合 会 / 亞 太 經 合 會] APEC (Asia Pacific economic cooperation) [Add to Longdo] |
亚太经济合作组织 | [Yà Tài Jīng jì Hé zuò Zǔ zhī, ㄧㄚˋ ㄊㄞˋ ㄐㄧㄥ ㄐㄧˋ ㄏㄜˊ ㄗㄨㄛˋ ㄗㄨˇ ㄓ, 亚 太 经 济 合 作 组 织 / 亞 太 經 濟 合 作 組 織] Asian-Pacific Economic Cooperation organization; APEC [Add to Longdo] |
交彙 | [jiāo huì, ㄐㄧㄠ ㄏㄨㄟˋ, 交 彙] variant of 交匯|交汇; to flow together; confluence (of rivers, airflow, roads); (international) cooperation [Add to Longdo] |
南亚区域合作联盟 | [Nán Yà Qū yù Hé zuò Lián méng, ㄋㄢˊ ㄧㄚˋ ㄑㄩ ㄩˋ ㄏㄜˊ ㄗㄨㄛˋ ㄌㄧㄢˊ ㄇㄥˊ, 南 亚 区 域 合 作 联 盟 / 南 亞 區 域 合 作 聯 盟] South Asian Association for Regional Cooperation [Add to Longdo] |
多边协定 | [duō biān xié dìng, ㄉㄨㄛ ㄅㄧㄢ ㄒㄧㄝˊ ㄉㄧㄥˋ, 多 边 协 定 / 多 邊 協 定] multilateral agreement; cooperation agreement between different parties [Add to Longdo] |
多边合作 | [duō biān hé zuò, ㄉㄨㄛ ㄅㄧㄢ ㄏㄜˊ ㄗㄨㄛˋ, 多 边 合 作 / 多 邊 合 作] multilateral cooperation [Add to Longdo] |
大湄公河次区域 | [Dà Méi gōng hé cì qū yù, ㄉㄚˋ ㄇㄟˊ ㄍㄨㄥ ㄏㄜˊ ㄘˋ ㄑㄩ ㄩˋ, 大 湄 公 河 次 区 域 / 大 湄 公 河 次 區 域] Greater Mekong Subregion (GMS), area of economic cooperation between China and Vietnam [Add to Longdo] |
大湄公河次区域合作 | [Dà Méi gōng hé cì qū yù hé zuò, ㄉㄚˋ ㄇㄟˊ ㄍㄨㄥ ㄏㄜˊ ㄘˋ ㄑㄩ ㄩˋ ㄏㄜˊ ㄗㄨㄛˋ, 大 湄 公 河 次 区 域 合 作 / 大 湄 公 河 次 區 域 合 作] Greater Mekong Subregion (GMS), economic cooperation program between China and Vietnam [Add to Longdo] |
欧洲安全和合作组织 | [Ōu zhōu ān quán hé hé zuò zǔ zhī, ㄡ ㄓㄡ ㄢ ㄑㄩㄢˊ ㄏㄜˊ ㄏㄜˊ ㄗㄨㄛˋ ㄗㄨˇ ㄓ, 欧 洲 安 全 和 合 作 组 织 / 歐 洲 安 全 和 合 作 組 織] Organization for Security and Cooperation in Europe OCSE [Add to Longdo] |
欧洲安全与合作组织 | [ōu zhōu ān quán yǔ hé zuò zǔ zhī, ㄡ ㄓㄡ ㄢ ㄑㄩㄢˊ ㄩˇ ㄏㄜˊ ㄗㄨㄛˋ ㄗㄨˇ ㄓ, 欧 洲 安 全 与 合 作 组 织 / 歐 洲 安 全 與 合 作 組 織] Organization for Security and Cooperation in Europe (OSCE) [Add to Longdo] |
经济合作与发展组织 | [Jīng jì Hé zuò yǔ Fā zhǎn Zǔ zhī, ㄐㄧㄥ ㄐㄧˋ ㄏㄜˊ ㄗㄨㄛˋ ㄩˇ ㄈㄚ ㄓㄢˇ ㄗㄨˇ ㄓ, 经 济 合 作 与 发 展 组 织 / 經 濟 合 作 與 發 展 組 織] Organization for Economic Cooperation and Development (OECD); abbr. to 經合組織|经合组织 [Add to Longdo] |
協力(P);共力(iK) | [きょうりょく, kyouryoku] (n, vs, adj-no) (See ご協力) cooperation; collaboration; (P) #691 [Add to Longdo] |
共同(P);協同(P) | [きょうどう, kyoudou] (n, vs, adj-no) (esp. 共同) doing together (as equals); sharing; common (land, etc.); joint (statement, etc.); cooperation; co-operation; collaboration; association; (P) #1,000 [Add to Longdo] |
一致 | [いっち, icchi] (n, vs) (1) coincidence; agreement; union; match; (2) conformity; consistency; (3) cooperation; (P) #2,559 [Add to Longdo] |
提携 | [ていけい, teikei] (n, vs) cooperation; tie-up; joint business; link-up; (P) #3,244 [Add to Longdo] |
連携 | [れんけい, renkei] (n, vs) cooperation; coordination; link; (P) #3,356 [Add to Longdo] |
協賛 | [きょうさん, kyousan] (n, vs) support; mutual aid; cooperation; approval; authorization; authorisation; (P) #10,714 [Add to Longdo] |
協調 | [きょうちょう, kyouchou] (n, vs) (1) cooperation; conciliation; harmony; (2) firm (market) tone; (P) #12,847 [Add to Longdo] |
APEC | [エーペック;エイペック, e-pekku ; eipekku] (n) Asia-Pacific Economic Cooperation; APEC [Add to Longdo] |
ご協力;御協力 | [ごきょうりょく, gokyouryoku] (n, vs) (See 協力) cooperation; collaboration [Add to Longdo] |
アジア太平洋経済協力会議 | [アジアたいへいようけいざいきょうりょくかいぎ, ajia taiheiyoukeizaikyouryokukaigi] (n) Asia-Pacific Economic Cooperation; APEC [Add to Longdo] |
海外経済協力基金 | [かいがいけいざいきょうりょくききん, kaigaikeizaikyouryokukikin] (n) Overseas Economic Cooperation Fund [Add to Longdo] |
官と民の協力 | [かんとみんのきょうりょく, kantominnokyouryoku] (exp, n) cooperation between the private and public sectors [Add to Longdo] |
技協 | [ぎきょう, gikyou] (n) (1) (abbr) (See 技術協会) technology association; technology institute; (2) (abbr) (See 技術協力) technical cooperation [Add to Longdo] |
技術協力 | [ぎじゅつきょうりょく, gijutsukyouryoku] (n) technical cooperation [Add to Longdo] |
技術提携 | [ぎじゅつていけい, gijutsuteikei] (n) technical cooperation [Add to Longdo] |
共助 | [きょうじょ, kyoujo] (n, vs) cooperation [Add to Longdo] |
共同一致 | [きょうどういっち, kyoudouicchi] (n) unanimous cooperation [Add to Longdo] |
共同性 | [きょうどうせい, kyoudousei] (n) cooperation [Add to Longdo] |
協調性 | [きょうちょうせい, kyouchousei] (n) cooperativeness; spirit of cooperation [Add to Longdo] |
協働 | [きょうどう, kyoudou] (n, vs) cooperation [Add to Longdo] |
協力態勢 | [きょうりょくたいせい, kyouryokutaisei] (n) readiness to cooperate; framework for cooperation [Add to Longdo] |
軍事協力 | [ぐんじきょうりょく, gunjikyouryoku] (n) military cooperation [Add to Longdo] |
経済協力 | [けいざいきょうりょく, keizaikyouryoku] (n) economic cooperation [Add to Longdo] |
互助 | [ごじょ, gojo] (n) mutual aid; cooperation; benefit; (P) [Add to Longdo] |
国緊隊 | [こくきんたい, kokukintai] (n) (abbr) (See 国際緊急援助隊) Japan International Cooperation Agency; JICA [Add to Longdo] |
国際協調 | [こくさいきょうちょう, kokusaikyouchou] (n) international cooperation; international harmony [Add to Longdo] |
国際協調主義 | [こくさいきょうちょうしゅぎ, kokusaikyouchoushugi] (n) principle (or ideology) of international cooperation [Add to Longdo] |
国際協力 | [こくさいきょうりょく, kokusaikyouryoku] (n) international cooperation [Add to Longdo] |
国際協力事業団 | [こくさいきょうりょくじぎょうだん, kokusaikyouryokujigyoudan] (n) Japan International Cooperation Agency (1974); JICA; (P) [Add to Longdo] |
国際平和協力 | [こくさいへいわきょうりょく, kokusaiheiwakyouryoku] (n) international peace cooperation [Add to Longdo] |
産学官 | [さんがくかん, sangakukan] (n, adj-no) industry-academic-government (cooperation, etc.) [Add to Longdo] |
産学協同 | [さんがくきょうどう, sangakukyoudou] (n) industry-university cooperation [Add to Longdo] |
助け合い | [たすけあい, tasukeai] (n) cooperation; mutual aid (help); (P) [Add to Longdo] |
相互協力 | [そうごきょうりょく, sougokyouryoku] (n) bilateral cooperation [Add to Longdo] |
太平洋経済協力会議 | [たいへいようけいざいきょうりょくかいぎ, taiheiyoukeizaikyouryokukaigi] (n) Pacific Economic Cooperation Council; PECC [Add to Longdo] |
二人三脚 | [ににんさんきゃく, nininsankyaku] (n) (1) three-legged race; (2) cooperation with singleness of purpose (e.g. between companies); (P) [Add to Longdo] |
日米安保条約 | [にちべいあんぽじょうやく, nichibeianpojouyaku] (n) (abbr) Treaty of Mutual Cooperation and Security between the United States and Japan [Add to Longdo] |
販売協力 | [はんばいきょうりょく, hanbaikyouryoku] (n) sales cooperative; sales cooperation [Add to Longdo] |
非協力 | [ひきょうりょく, hikyouryoku] (n) noncooperation [Add to Longdo] |
離散集合 | [りさんしゅうごう, risanshuugou] (n, vs) meeting and parting; gathering and scattering; alignment and realignment; alternating alliance and rupture; alternating cooperation and defection [Add to Longdo] |
労使協調 | [ろうしきょうちょう, roushikyouchou] (n) labor-management cooperation; labour-management cooperation [Add to Longdo] |
和協 | [わきょう, wakyou] (n, vs) (abbr) (See 和衷協同・わちゅうきょうどう) harmonious cooperation; close cooperation [Add to Longdo] |
和衷協同 | [わちゅうきょうどう, wachuukyoudou] (n, vs) harmonious cooperation; close cooperation [Add to Longdo] |