anorectal malformatation | การพยาบาลการผิดรูปของทวารหนักเเละRectum |
Bioinformatics | (n) ชีวสารสนเทศศาสตร์ |
chief information officer | ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) |
deformation | (ดิฟอรเม'เชิน) n. การให้ทำผิดรูปร่าง, การทำให้เสียโฉม, ความพิกลพิการ |
executive information sys | ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารใช้ตัวย่อว่า EIS (อ่านว่า อีไอเอส) หมาถึงการนำสารสนเทศหรือข้อมูลต่าง ๆ มาเก็บไว้ในรูปแบบที่ผู้บริหารมักจะต้องการใช้ และสามารถจะเรียกมาดู หรือใช้ได้สะดวก |
format | (ฟอร์'แมท) n. รูปแบบ, แผนการรวมทั้งหมด, Syn. plan, layout รูปแบบจัดรูปแบบ1. หมายถึงรูปแบบการเก็บข้อมูลของโปรแกรมสำเร็จแต่ละโปรแกรม โปรแกรม Word Perfect และโปรแกรม WordStar แม้จะเป็นโปรแกรมประมวลผลคำเหมือนกัน แต่รูปแบบการเก็บข้อมูลก็ไม่เหมือนกัน 2. FORMAT เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบดอส และระบบวินโดว์ ที่ใช้เพื่อเตรียมจัดรูปแบบจานบันทึกใหม่ ๆ ไว้สำหรับเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม จานบันทึกของแมคอินทอชกับจาน บันทึกของพีซี จะกำหนดรูปแบบการเก็บข้อมูลไม่เหมือนกัน ฉะนั้น หากนำจานบันทึกที่จัดรูปแบบด้วยคำสั่ง "FORMAT" ของระบบดอสไปใช้กับเครื่องแมคอินทอช หน่วยบันทึกก็จะไม่รับ เพราะอ่านไม่ได้ หรือบันทึกข้อมูลลงเก็บไม่ได้ |
formation | (ฟอร์เม'เชิน) n. การสร้าง, การวัดขนาดแถว, สิ่งที่สร้างขึ้น. -al adj., Syn. evolution |
informatics | สนเทศศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสารสนเทศ (information) และการคำนวณเพื่อคาดการณ์ในอนาคต เป็นคำที่ชาวยุโรปนำมาใช้แทนคำ computer science ที่แปลว่า วิทยาการคอมพิวเตอร์ดู computer science ประกอบ |
information | (อินฟอร์เม'เชิน) n. ความรู้, ข่าว, ข้อมูล, การบอกข่าว, การให้ความรู้, สำนักงานสนเทศ., See also: informational adj., Syn. learning |
information technology | เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) |
informative | (อินฟอร์ม'มะทิฟว) adj. ให้ความรู้, ซึ่งแจ้งให้ทราบ, See also: informatively adv. informativeness n. |
low-level format | จัดรูปแบบอย่างต่ำหมายถึง การจัดรูปแบบการบันทึกข้อมูล (format) ของจานบันทึกว่าจะต้องจัดรูปแบบ การบันทึกแบบนี้เมื่อเราใช้จานแข็งเป็นครั้งแรก หลังจากนั้น ก็ต้องใช้คำสั่งFORMAT ในระบบดอสเพื่อให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สำหรับจานอ่อน (floppy disk) นั้น เราไม่จำเป็นต้องดำเนินการตามกระบวนการนี้ |
malformation | (แมลฟอร์เม'เชิน) n. การสร้างหรือการก่อขึ้นที่ผิดปกติ' |
management information sy | ระบบการจัดการสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า MIS อ่านว่า เอ็มไอเอส เป็นวิชาที่ว่าด้วยระบบการจัดการสารสนเทศ มีความหมายกว้าง ๆ ว่าเป็นการนำเอาข้อมูลมาประมวลผลให้เกิดเป็นความหมายที่จะทำให้เข้าใจได้ ซึ่งต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก เพราะทำได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อเสนอให้ผู้บริหารตัดสินใจได้เร็วขึ้น |
numeric format | รูปแบบการเขียนตัวเลขหมายถึง รูปแบบการแสดงจำนวนเลขที่อ่านได้ เห็นได้ เราอาจแสดงจำนวนเลขได้ในหลายรูปแบบด้วยกัน เช่น .25 หรือ 25% เป็นต้น รวมทั้งการเขียนเลขแบบต่าง ๆ อย่างที่ใช้ในโปรแกรมตารางจัดการ เช่น 1000, 1, 000, 1, 000.00 ฯ |
reformation | (เรฟฟะเม'เชิน) n. การปฏิรูป, การเปลี่ยนรูป, การปรับปรุง, การเข้าแถวใหม่, การกลับเนื้อกลับตัว, การแก้ไขใหม่, การดัดนิสัย, See also: Reformation n. การปฏิรูปศาสนาในศตวรรษที่ 16 ที่ทำให้เกิดนิกายโปรเตสแตนต์ขึ้น -reformational adj. |
reformative | (รีฟอร์ม'มะทิฟว) adj. เป็นการปฏิรูป, เป็นการปรับปรุง, เป็นการดัดนิสัย |
reformatory | (รีฟอร์'มะทอรี) adj. =reformative (ดู) n. โรงเรียนดัดสันดาน |
rich text format | รูปแบบการเก็บข้อมูลเป็นแอสกีใช้ตัวย่อว่า rtf (อ่านว่า อาร์ทีเอฟ) เป็นรูปแบบของการเก็บข้อมูลที่เป็นเอกสาร (text) ในรหัสแอสกี (ASCII) โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) หลายโปรแกรมจะเรียกข้อมูลที่เก็บในรูปแบบนี้มาอ่านได้ใช้การได้ แต่ต้องกำหนดแบบตัวอักษรให้ก่อน มักใช้นามสกุล (file name) ว่า .RTF |
tagged image file format | รูปแบบแฟ้มภาพพร้อมป้ายระบุเป็นวิธีการเก็บภาพแบบหนึ่งของคอมพิวเตอร์ เน้นเรื่องระดับสีของสีเทา ภาพเหล่านี้จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .tiff ใช้เนื้อที่มากกว่าการเก็บภาพประเภทอื่น (การเก็บภาพประเภทอื่นนั้น นอกจากที่ใช้นามสกุลนี้ ก็มี .bmp , .jpg เป็นต้น) |
transformation | (แทรนซฺฟอร์มเม'เชิน) n. การเปลี่ยนรูป, การแปรรูป, การปฎิรูป, การเปลี่ยนสภาพ, ผมปลอมของสตรี., See also: transformational adj., Syn. transmutation |
conformation | (n) การคล้อยตาม, การทำให้สอดคล้องกัน, รูปแบบ, รูปร่าง |
deformation | (n) ความเสียโฉม, ความผิดปกติ, ความพิการ |
formation | (n) การสร้าง, การก่อรูป, ขบวน, แถว, แนว |
information | (n) การบอก, ข้อความ, ข่าว, ความรู้, เรื่องที่บอก, ข้อมูล |
malformation | (n) ความไม่สมประกอบ, ความผิดรูปผิดร่าง |
misinformation | (n) สิ่งที่ทราบมาผิดๆ, ข้อมูลที่ผิด |
reformation | (n) การแก้ไข, การปฏิรูป, การเปลี่ยนรูป, การดัดแปลง |
reformatory | (adj) เป็นการปฏิรูป, ซึ่งทำให้ดีขึ้น, เป็นการดัดนิสัย, เป็นการปรับปรุง |
reformatory | (n) โรงเรียนดัดสันดาน |
transformation | (n) การเปลี่ยนร่าง, การแปลง, การแปรรูป, การปฏิรูป |
print format | รูปแบบการพิมพ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
print format | รูปแบบการพิมพ์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
peat formation | การเกิดพีต [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
penecontemporaneous deformation; contemporaneous deformation | การเปลี่ยนลักษณะขณะตกตะกอน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
linear transformation | การแปลงเชิงเส้น [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
laying an information | การฟ้องกล่าวหา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
record format | รูปแบบระเบียน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
RFI (request for information) | อาร์เอฟไอ (เอกสารขอสารสนเทศ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
reformation | การแก้ไขให้ตรงกับเจตนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Reformation period; Reformation, the | สมัยปฏิรูป [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Reformation, the; Reformation period | สมัยปฏิรูป [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reformatory | สถานปรับปรุงความประพฤติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reformatory | สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน [ ดู community home และ house of detention ความหมายที่ ๒ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
request for information (RFI) | เอกสารขอสารสนเทศ (อาร์เอฟไอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
row transformation | การแปลงตามแถว [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
similarity transformation | การแปลงภาวะคล้าย [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
synulosis; cicatrisation; cicatrization; formation, scar | การเกิดแผลเป็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
scar formation; cicatrisation; cicatrization; synulosis | การเกิดแผลเป็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
orthogonal transformation | การแปลงเชิงตั้งฉาก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
affine transformation | การแปลงสัมพรรค [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
address format | รูปแบบเลขที่อยู่ [ ในคำสั่ง ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
American Standard Code for Information Interchange (ASCII) | รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ (แอสกี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
American Standard Code for Information Interchange (ASCII) | รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ (แอสกี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ASCII (American Standard Code for Information Interchange) | แอสกี (รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสารสนเทศ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
ASCII (American Standard Code for Information Interchange) | แอสกี (รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
quick format | การจัดรูปแบบเร็ว [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
beginning of information mark | เครื่องหมายเริ่มต้น [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
banded iron formation | แหล่งแร่เหล็กแบบชั้น, หมวดหินชั้นแร่เหล็ก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
management information system (MIS) | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (เอ็มไอเอส) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
management information system (MIS) | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (เอ็มไอเอส) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
malformation; deformity | รูปพิการ, สภาพวิรูป [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
malformation | รูปผิดปรกติ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
MIS (management information system) | เอ็มไอเอส (ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
MIS (management information system) | เอ็มไอเอส (ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
continuous deformation | การแปลงรูปอย่างต่อเนื่อง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
coal formation | หมวดถ่านหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
CMIP (Common Management Information Protocol) | ซีเอ็มไอพี (เกณฑ์วิธีจัดการสารสนเทศร่วม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
contemporaneous deformation; penecontemporaneous deformation | การเปลี่ยนลักษณะขณะตกตะกอน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
cicatrization; cicatrisation; formation, scar; synulosis | การเกิดแผลเป็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
CICS (customer information control system) | ซีไอซีเอส (ระบบควบคุมสารสนเทศลูกค้า) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Common Management Information Protocol (CMIP) | เกณฑ์วิธีจัดการสารสนเทศร่วม (ซีเอ็มไอพี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CIO (chief information officer) | ซีไอโอ (ประธานฝ่ายสารสนเทศ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CIO (chief information officer) | ซีไอโอ (ประธานฝ่ายสารสนเทศ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
congenital malformation | รูปวิปริตแต่กำเนิด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
chief information officer (CIO) | ประธานฝ่ายสารสนเทศ (ซีไอโอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
chief information officer (CIO) | ประธานฝ่ายสารสนเทศ (ซีไอโอ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
customer information control system (CICS) | ระบบควบคุมสารสนเทศลูกค้า (ซีไอซีเอส) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
cicatrisation; cicatrization; formation, scar; synulosis | การเกิดแผลเป็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
deformation | การเปลี่ยนรูป, การแปลงรูป [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
deformation | การเปลี่ยนรูป [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
Information storage and retrieval system | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Information science | สารสนเทศศาสตร์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Information | สารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Information technolgy | เทคโนโลยีสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Information resource | แหล่งสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Geographic information system | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Information resources manegement | การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Management information system | ระบบสารสนเทศเืพื่อการจัดการ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Online information service | บริการสารสนเทศแบบออนไลน์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
National Information Standards Organization - NISO | องค์การแห่งชาติสหรัฐอเมริกาว่าด้วยการมาตรฐานสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Informative abstract | สาระสังเขปให้ความรู้ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Geographic information system | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Online information service | บริการสารสนเทศแบบออนไลน์, Example: <p>บริการสารสนเทศแบบออนไลน์ คือ การให้บริการสารสนเทศผ่านทางระบบออนไลน์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่ผู้จัดการสารสนเทศสามารถปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย และผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา สารสนเทศแบบออนไลน์ ได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Journals) รวมทั้งฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographical information | รายละเอียดทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bioinformatics | ชีวสารสนเทศศาสตร์, Example: <p>ชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics) เป็นสาขาที่เกิดขึ้นจากการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางชีววิทยาการแพทย์ โดยเน้นปัญหาการเก็บ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลรหัสพันธุกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกับวิทยาศาสตร์การคำนวณ (Computational Science) ช่วยให้การทำงานและวิจัยด้านนี้เป็นไปอย่างก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพ <p>ตัวอย่างงานชีวสารสนเทศ ได้แก่ โครงการถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย์ (Human Genome Project) การถอดรหัสพันธุกรรมเชื้อโรคหรือพืชที่สำคัญ และการผลิตยาใหม่ เป็นต้น <p>ชีวสารสนเทศศาสตร์ได้รับการกล่าวถึงว่าจะมีความสำคัญอย่างมากในศตวรรษที่ 21 บุคลากรด้านชีวสารสนเทศมีความจำเป็นอย่างมาก มีการเห็นความสำคัญในการจัดให้ชีวสารสนเทศเป็นศาสตร์เฉพาะทางและจัดให้มีการสอนเป็นหลักสูตรขึ้น ในปัจจุบันการพัฒนาบุคลากรด้านนี้สามารถกระทำได้ โดยการสอนความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และวิทยาศาสตร์การคำนวณแก่บุคลากรด้านชีววิทยาการแพทย์ เช่น นักอณูชีววิทยา นักเคมี แพทย์ เภสัชกร และนักวิทยาศาสตร์แขนงต่างๆ <p>งานหลักของชีวสารสนเทศคือการสืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูลชีววิทยา (Biological Database) ที่บรรจุข้อมูลบรรณานุกรม การเรียงสายของโปรตีน (Protein Sequence) โครงสร้างโปรตีน (Protein Structure) หน้าที่โปรตีน (Protein Function) หมวดโปรตีน (Pattern/Family) และรหัสพันธุกรรม (Necleotide Sequence) เป็นต้น <p>บรรณานุกรม <p>Available at : http://www.si.mahidol.ac.th/simi/bioinfo/bi_what.html. Accessed July 31, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Chief source of information | แหล่งข้อมูลที่กำหนด, Example: ในการลงรายการทางบรรณานุกรมของหนังสือ บรรณารักษ์จะต้องทราบว่า จะสามารถหาข้อมูลได้จากแหล่งที่ได้มีการกำหนดร่วมกันซึ่งเป็นหลักการของการลงรายการ ซึ่งหมายถึง แหล่งสำคัญของข้อมูล สำหรับเอกสารตีพิมพ์นั้น แหล่งสำคัญของข้อมูล คือ หน้าปกใน ถ้าไม่มีหน้าปกใน ให้ใช้แหล่งในตัวเล่มซึ่งใช้แทนหน้าปกใน สำหรับเอกสารตีพิมพ์ออกมาโดยไม่มีหน้าปกใน หรือไม่มีหน้าปกในที่ให้รายละเอียดได้ทั้งหมด ให้ใช้ส่วนอื่นของเล่มที่ให้ข้อมูลสมบูรณ์ที่สุด ไม่ว่าส่วนนั้นจะเป็นหน้าปก (ไม่่รวมใบหุ้มปกที่แยกต่างหากออกจากตัวเล่ม) หน้าชื่อเรื่อง (half title page) ชื่อนำเนื้อเรื่อง (caption) การแจ้งตอนท้ายเล่มซึ่งให้รายละเอียดเกี่ยวกับชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ ปีที่พิมพ์ อย่างหนึ่งอย่างใดหรือรายอย่างและอาจจะรวมถึงรายละเอียดอื่นๆ ด้วย ชื่อเรื่องประจำหน้า (running titole) หรือส่วนอื่น ถ้าไม่มีส่วนใดในตัวเล่มให้ข้อมูลที่จะสามารถใช้เป็นหลักในการลงรายการ ให้ใช้ข้อมูลที่จำเป็นจากแหล่งอื่นที่มี ถ้าข้อมูลที่ควรจะปรากฏอยู่ในหน้าปกในไปปรากฏอยู่ในหน้าติดกัน (facing pages) หรือในหน้าถัดๆ ไป จะซ้ำักันหรือไม่ก็ตาม ให้ถือว่าหน้าเหล่านี้เป็นหน้าปกใน ให้ใช้การแจ้งตอนท้ายเล่ม (colophon)เป็นแหล่งสำคัญของข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Communication in information science | การสื่อสารทางสารสนเทศศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information | สารสนเทศ, สนเทศ, สารนิเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information center | ศูนย์สารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information officer | นักเอกสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information resource | ทรัพยากรสารสนเทศ, Example: <p>ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง สื่อหรือวัสดุที่ใช้ในการบันทึกสารสนเทศและความรู้ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. ทรัพยากรสารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) 2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Non-printed materials) และ 3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic materials) <p>1. ทรัพยากรสารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่ผลิตเป็นสิ่งพิมพ์ โดยผ่านกระบวนการตีพิมพ์ เช่น ตำรา หนังสืออ้างอิง รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ นวนิยายและเรื่องสั้น นิตยสารและวารสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นต้น <p>2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Non-printed materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่นำเสนอความรู้ผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตาเป็นหลัก ซึ่งไม่ผ่านกระบวนการตีพิมพ์ แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ โสตทัศนวัสดุ และวัสดุย่อส่วน <p>3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการอ่านหรือฟัง โดยมีชุดคำสั่งระบบจัดการฐานข้อมูล ทำหน้าที่ควบคุมการจัดการและการใช้ฐานข้อมูล เช่น ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลซีดี-รอม และอินเทอร์เน็ต เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information science | สารสนเทศศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information scientist | นักเอกสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information storage and retrieval system | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ, Example: <p>ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ หรือ ระบบการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการที่มีการคัดเลือก ควบคุม โครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึงและกระบวนการใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารสนเทศที่เข้าเรื่องจากแหล่งภายในและภายนอก ให้ผู้ใช้ได้รับทรัพยากรสารสนเทศตามความต้องการ โดยเป็นทั้งระบบที่จัดทำด้วยแรงงานคนและด้วยคอมพิวเตอร์ โดยมีสถาบันบริการสารสนเทศมีบทบาทหน้าที่ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในช่องทางที่เป็นทางการ และเป็นตัวกลางที่สำคัญเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศ <p>พัฒนาการของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ มี 2 ช่วงคือ ช่วงก่อนทศวรรษ 1960 และ ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 <p>1. ช่วงก่อนทศวรรษ 1960 เป็นการพัฒนาระบบจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในรูปสิ่งพิมพ์ของสถาบันบริการสารสนเทศประเภทห้องสมุด การจัดหมวดหมู่ซึ่งพัฒนามาเป็นระบบหมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้ และ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน รวมทั้งการจัดทำดรรชนีและสาระสังเขปด้วยระบบมือ การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีระยะแรก มีการพัฒนาเทคโนโลยีไมโครกราฟิก ซึ่งเป็นการถ่ายภาพย่อส่วนสารสนเทศจากสื่อ เช่น กระดาษลงฟิล์ม เทคโนโลยีในการค้นคืนระบบแรก เป็นเทคนิคการทำเครื่องมือค้นประเภทบัตรเจาะบันทึกหัวเรื่อง การทำดรรชนี เช่น ควิก และริเริ่มใช้คอมพิวเตอร์ทำบัตรรายการ <p>2. ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 เป็นพัฒนาการด้านการวิจัยและพัฒนาระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่สำคัญ เช่น การพัฒนากลุ่มความร่วมมือระหว่างสถาบันบริการสารสนเทศและฐานข้อมูลร่วมขนาดใหญ่ คือ โอซีแอลซี (OCLC : Online Computer Library Center) และอาร์แอลไอเอ็น (RLIN : Research Libraries Information Network) บริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์ เช่น กลุ่มไดอะลอก ออบิต และอินเทร์เน็ตกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. (2545). แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ : Information storage and retrieval หน่วยที่ 1-15. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information technolgy | เทคโนโลยีสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Informative abstract | สาระสังเขปประเภทให้ความรู้, สาระสังเขปให้ความรู้, Example: หมายถึง สาระสังเขปที่เขียนถึงประเด็นสำคัญๆ จุดเด่นของเนื้อเรื่อง และเป็นการย่อเรื่องให้ผู้อ่านทราบโดยกล่าวถึงบทความหรือต้นฉบับอย่างสมบูรณ์ เป็นสาระสังเขปที่ให้รายละเอียดมากกว่าสาระสังเขปประเภทพรรณนา <p>ตัวอย่างสาระสังเขปประเภทให้ความรู้ จาก ประชากรศึกษา : โครงสร้างและวิธีการนวัตกรรม : รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการภูมิภาค <p>เอกสารฉบับนี้ รายงานรายละเอียดของการประชุมเชิงปฏิบัติการภูมิภาค เรื่อง โครงสร้างและวิธีการนวัตกรรมสู่ประชากรศึกษา จัดโดยองค์การยูเนสโกในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ที่กรุงนิวเดลี ระหว่างวันที่ 23-29 ตุลาคม ค.ศ. 1979 มีผู้เข้าร่วมในการประชุม จำนวน 35 คน จาก 12 ประเทศในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก การประชุมครั้งนี่้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อช่วยให้ประเทศที่มีโครงการประชากรศึกษาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน 2)เพื่อช่วยให้ประเทศที่เริ่มมีประชากรศึกษาสามารถวางโครงสร้าง วิธีการ ทางเลือกของนวัตกรรมเพื่อประสิทธิผลในการดำเนินการต้้านต่างๆ ของโครงการประชากรศึกษา รายงานนี้แบ่งออกเป็นสามส่วน ในส่วนแรกจะเป็นบทปริทัศน์และบทวิเคราะห์ของประสบการณ์ของประเทศต่างๆ ทางด้้านโครงการ และวิธีการนวัตกรรมประชากรเพื่อรับสนองโครงการทางประชากรศึกษา โดยจัดกลุ่มประสบการณ์ดังกล่าวภายใต้หัวข้อดังนี้ ก) การพัฒนาและวางแผนโครงการ ข) ความตื่นตัวและการปฐมนิเทศ ค) องค์การทางการบริหารของโครงการการศึกษาของทั้งระบบในและนอกโรงเรียน ทั้งนี้่โดยจัดแบ่งผู้เข้าอบรมเป็น 4 กลุ่มตามประสบการณ์ข้างต้น เพื่ออภิปรายในรายละเอียดของ 4 หัวข้อย่อยของโครงการ คือ (1) การพัฒนาโครงการและการวิจัยและประเมินผล (2) ความตื่นตัว การปฐมนิเทศ และการฝึกอบรม (3) การพัฒนาหลักสูตรและอุปกรณ์ และ (4) การประสานงานระหว่างหน่วยงาน นอกจากนี้ยังได้วิเคราะห์ความได้เปรียบเสียเปรียบ และปัญหาของโครงสร้างและวิธีการที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งเสนอแนะตัวแบบทางเลือก และแบบแผนของโครงการแต่ละหัวข้อ ส่วนที่สองของรายงานประกอบด้วย รายงานเฉพาะประเทศที่แต่ละประเทศได้บรรยายถึงสถานการณ์ประชากรและประสบการณ์นวัตกรรมของประชากรศึกษาของการศึกษาในและนอกโรงเรียน ส่วนที่สามเป็นภาคผนวก <p>กุลธิดา บุญอิต. "การทำสาระสังเขป" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา หน่วยที่ 12-15 การวิเคราะห์สารสนเทศฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Management information system | ระบบสารสนเทศเืพื่อการจัดการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
National Information Standards Organizat | องค์การแห่งชาติสหรัฐอเมริกาว่าด้วยการมาตรฐานสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information retrieval | การค้นข้อสนเทศ, Example: <p>การค้นข้อสนเทศ หรือ การค้นคืนสารสนเทศ มีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อค้นคืนเอกสารทั้งหมดในทรัพยากรสารสนเทศที่เข้าเรื่องกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ออกมา โดยมีเอกสารที่ไม่เข้าเรื่องปะปนออกมาให้น้อยที่สุด การค้นคืนสารสนเทศมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ 2 ส่วน คือ <p>1. การจัดทำตัวแทนสาระของเอกสาร และตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ <p>2. การจับคู่เพื่อเปรียบเทียบระหว่างตัวแทนทั้งสองนี้ (ตัวแทนสาระของเอกสาร และตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้) <p>ระบบค้นคืนสารสนเทศ จำแนกประเภทได้หลายวิธี ที่สำคัญคือการจำแนกประเภทของระบบตามประเภทของสารสนเทศที่จัดเก็บและค้นคืนได้ ได้แก่ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ฐานข้อมูลตัวเลข ฐานข้อมูลภาพ และฐานข้อมูลมัลติมีเดีย <p>กระบวนการค้นหาสารสนเทศ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ <p>1. การทำความเข้าใจกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ <p>2. การคัดเลือกระบบค้นคืนสารสนเทศที่เหมาะสม <p>3. การกำหนดความต้องการสารสนเทศในรูปแนวคิดและคำค้น <p>4. การกำหนดกลยุทธ์การค้น <p>5. การดำเนินการค้นและทบทวนผลการค้น <p>ปัจจัยสนับสนุนในการค้นหาสารสนเทศ ได้แก่ <p>1. การสัมภาษณ์ผู้ใช้ก่อนการค้นหา เช่น ประเภทของสารสนเทศที่ต้องการ ลักษณะการนำสารสนเทศไปใช้ ระดับความลุ่มลึก และปริมาณของสารสนเทศที่ต้องการ <p>2. เกณฑ์การคัดเลือกระบบค้นคืนสารสนเทศ เช่น ขอบเขต ความทันสมัย ระยะเวลา เนื้อหาสาระ ค่าใช้จ่าย <p>3. เทคนิคสำคัญในการค้นหาสารสนเทศ เช่น การกำหนดคำค้นด้วยศัพท์ควบคุม (Control vocabulary) และศัพท์ไม่ควบคุม (Uncontrol vocabulary) การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคำค้นด้วยตรรกะบูเลียน เทคนิคการตัดคำ และเทคนิคการระบุเขตข้อมูล <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. (2545). แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ : Information storage and retrieval หน่วยที่ 1-15. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information resources management | การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cross-language information retrieval | การค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information network | เครือข่ายสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library information network | เครือข่ายห้องสมุด, Example: <p>ปัจจุบันหน่วยงานห้องสมุด ศูนย์บริการสารสนเทศ จากสถาบันการศึกษาภาครัฐและเอกชน รวมทั้งหน่วยงานราชการ องค์กรวิจัย หลายแห่งในประเทศไทยดำเนินการจัดหาหรือบอกรับทรัพยากรสารสนเทศในรูปสิ่งพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะฐานข้อมูลออนไลน์วิชาการ เพื่อเป็น แหล่งบริการความรู้ สนับสนุนการเรียนการสอน การศึกษา ค้นคว้าวิจัย แก่บุคลากรในสังกัด ให้สามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ตลอดเวลา ซึ่งค่าใช้จ่ายในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศมีราคาสูงขึ้นมากตลอดมาอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดภาระแก่ห้องสมุด ในการของบประมาณในการ บอกรับแต่ละปี ห้องสมุดจึงได้พยายามลดค่าใช้จ่ายหลากหลายวิธี และใช้ประโยชน์จากการบอกรับให้เกิดประโยชน์มากที่สุด เช่น การสร้างเครือ ข่ายความร่วมมือ ในการจัดหาและการใช้ทรัพยากรสารสนเทศออนไลน์ร่วมกัน โดยการหาแนวทางแบ่งปันการใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน เพื่อเป็นการ ประหยัดงบประมาณในการจัดหา และเป็นการใช้ฐานข้อมูลให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า <p>เครือข่ายห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษาทุกประเภทในประเทศไทย มีจำนวน 5 เครือข่าย คือ <p>1. เครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนกลาง (Thailinet) <p>2. เครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (Pulinet) <p>3. เครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ <p>4. เครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล <p>5. เครือข่ายห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเอกชน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information theory | ทฤษฎีสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information policy | นโยบายสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information service | บริการสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Genetic transformation | การถ่ายทอดทางพันธุกรรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Cross-language information retrieval | การค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Information retrieval | การค้นข้อสนเทศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Information storage and retrieval systems | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Bioinformatics | ชีวสารสนเทศศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Deformations (Mechanics) | การเปลี่ยนรูป (กลศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Disclosure of information | การเปิดเผยข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Information literacy | การรู้สารสนเทศ, Example: <p>หมายถึง ความรู้ความสามารถและทักษะของบุคคลในการเข้าถึงสารสนเทศ ประเมินสารสนเทศที่ค้นมาได้ และใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพทุกรูปแบบ <p>สมาคมห้องสมุดแห่งอเมริกัน (American Library Association) ได้กำหนดองค์ประกอบของการรู้สารสนเทศไว้ 4 ประการดังนี้คือ [ 1 ] <p>1. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจึงจะต้องการหรือจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เข้าใจถึงความสำคัญของสารสนเทศว่าใช้ประโยชน์และช่วยในการทำงานหรือการเรียนได้ดีขึ้นอย่างไร หมายรวมถึงการรู้ถึงหัวข้อเรื่อง ขอบเขตที่ต้องการ รูปแบบและประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ <p>2. ความสามารถในการค้นหาและเข้าถึงสารสนเทศ คือ การรู้ว่าจะได้สารสนเทศที่ต้องการได้จากแหล่งใด และจะค้นคืนอย่างไร <p>3. ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ หมายถึง ความสามารถในการสรุปแนวคิดหลักจากสารสนเทศที่รวบรวมมาได้ โดยอาศัยหลักเกณฑ์การประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ คือ ความน่าเชื่อถือ ความเที่ยงตรง ความถูกต้อง และความทันสมัย รวมถึงการคิดและการวิเคราะห์สารสนเทศที่ได้มา <p>4. ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ คือ ความสามารถในการใช้สารสนเทศที่มีอยู่ในการวางแผนและสร้างผลงานของตนเอง และสามารถเผยแพร่ผลงานนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ <p>ขณะที่ Unesco ก็ได้ให้ความสำคัญและเห็นว่าทุกคนควรมีโอกาสที่จะได้รับทักษะ เพื่อความเข้าใจ การมีส่วนร่วม การได้รับผลประโยชน์จากสังคมความรู้ แต่ด้วยการเกิดภาวะที่สารสนเทศเติบโตขึ้นมากจากหลายแหล่ง และอย่างรวดเร็ว ต้องมีการพิจารณาให้มีการใช้สารสนเทศอย่างฉลาด ซึ่งจะช่วยผู้ใช้พัฒนาทักษะ และความเข้าใจถึงสิ่งที่ต้องการหามีกระบวนการ และการใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำได้ผ่าน 3 รูปแบบ คือ The Big 6, Seven Pillars และ Empowering Eight <p>The Big 6 เป็นรูปแบบที่นิยมใช้กันมา พัฒนาโดยบรรณารักษ์ชาวอเมริกัน 2 คน คือ ไมค์ ไอเซนเบิร์ก และ บอบ เบอร์โควิทซ์ คือ 1. Task Definition 2. Information-seeking strategies 3. Location and access 4. Use of information 5. Synthesis และ 6. Evaluation <p>Seven Pillars The Information Skills Taskforce of the Standing of National and University Libraries in the United States Kingdom (SCONUL) ได้พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1999 คือ 1. Recognize information need 2. Distinguish ways of addressing gap 3. Construct strategies for locating 4. Locate and access 5. Compare and evaluate 6. Organize, apply and communicate และ 7. Synthesis and create <p>Empowering Eight ผู้เข้าร่วมประชุมในงาน International Workshop on Information Skills for Learning in Columbo, Sri Lanka ได้พัฒนาขึ้นสำหรับใช้ในกลุ่ม South and South East Asia ในปี ค.ศ. 2004 คือ 1. Identify 2. Expore 3. Select 4. Organize 5. Create 6. Present 7. Create และ 8. Apply <p>แหล่งข้อมูล <p>[ 1 ] American Library Association. Association of College and Research Libraries. Information Literacy Competency Standards for Higher Education. http://www.ala.org/ala/mgrps/divs/acrl/standards/informationliteracycompetency.cfm (accessed June 6, 2011). <p>[ 2 ] สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์. (2552). Information Literacy. http://www.stks.or.th/web/index.php?option=com_content&task=view&id=2834&Itemid=1 (เข้าถึงเมื่อวันที่ 6 มิ.ย. 2554) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Electronic government information | ข้อมูลข่าวสารของราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Formation Pore Pressure | ความดันของไหลในชั้นหิน , Formation Pore Pressure หรือ Formation Pressure คือ ความดันของไหลในชั้นหิน ของไหลที่แทรกตัวอยู่ในช่องว่างของชั้นหิน ซึ่งอาจเป็นก๊าซ น้ำมัน หรือ น้ำ, Example: จะมีความดันภายในตัวเองที่เกิดจากน้ำหนักตัวของไหลเองและแรงบีบอัด อันเกิดจากน้ำหนักหินกดทับลงมา แล้วทำให้ช่องว่างในหินลดขนาดลง (Compaction) ของไหลที่อยู่ในช่องว่างของหินก็จะออกแรงดันต้านกลายเป็นความดันของไหลในชั้นหิน (formation pore pressure) ในบางครั้งจะเรียกความดันที่เกิดจากของไหลในชั้นหินว่า ความดันชั้นหิน (formation pressure) ซึ่งจะเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อการควบคุมหลุมเจาะ [ปิโตรเลี่ยม] |
Capital formation | การสร้างสมทุน [เศรษฐศาสตร์] |
Economic information | สารสนเทศทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] |
American Standard Code for Information Interchange | รหัสตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ที่กำหนดมาตรฐานโดยสำนักงานมาตรฐานของสหรัฐเมริกาสำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์ต่างๆ, Example: รหัสแอสกีพื้นฐานใช้เพียง 7 บิต 8 บิต เพื่อใช้แทนสัญลักษณ์ภาพกราฟิกต่างๆ ส่วนทางประเทศไทยก็ได้อาศัยส่วนขยายนี้กำหนดเป็นรหัสภาษาไทยไว้ใช้งานด้วย เรียกว่าเป็นรหัส สมอ. [คอมพิวเตอร์] |
Cell transformation | การปลูกถ่ายเซลล์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Business Information Centre | (n) ศูนย์ข้อมูลธุรกิจ |
Forwarded for your information | จึงเรียนมาเพื่อทราบ |
geoinformation | (n) ภูมิสารสนเทศ |
information | [อิน ฟอร์ เม ชั่น] (n) ข้อมูล, Syn. detail |
Information Geometry | (n) เรขาคณิตสารสนเทศ |
Library and information science (LIS) | (n) บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ |
Not a new direction or challenge for information systems security, but a direction o | Not a new direction or challenge for information systems security, but a direction often not pursued and a challenge often not addressed, information systems auditing is critically required in today’s information systems intensive environment. It is required to ensure that our mission critical or lifeblood systems are designed and continue to be maintained with confidentiality, integrity, and availability foremost in mind. In addition, information systems auditing is required by professional auditing standards when information systems are involved in the area being audited. To assist in this effort, a new set of standards, CobiT (Control Objectives for Information and Related Technology) was recently issued which contains both information technology (IT) control objectives, for management and users, and information systems audit guidelines, for auditors. |
Not a new direction or challenge for information systems security, but a direction o | Not a new direction or challenge for information systems security, but a direction often not pursued and a challenge often not addressed, information systems auditing is critically required in today’s information systems intensive environment. It is required to ensure that our mission critical or lifeblood systems are designed and continue to be maintained with confidentiality, integrity, and availability foremost in mind. In addition, information systems auditing is required by professional auditing standards when information systems are involved in the area being audited. To assist in this effort, a new set of standards, CobiT (Control Objectives for Information and Related Technology) was recently issued which contains both information technology (IT) control objectives, for management and users, and information systems audit guidelines, for auditors. |
transformative | [Trans*form"a*tive] (adj) สามารถเปลี่ยนแปลงได้, See also: transformation |
ติดต่อสอบถาม | (v) ask for information, See also: contact for information, Syn. สอบถาม, Example: ผู้สนใจที่จะสมัคทุนการศึกษาติดต่อสอบถามรายละเอียดและขอใบสมัครได้ที่กองวิเทศสัมพันธ์ |
ไอที | (n) informational technology, See also: IT, Syn. เทคโนโลยีสารสนเทศ |
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร | (n) information center, Syn. ศูนย์ข่าว |
ให้ข่าวสาร | (v) give information, See also: spread the news, Syn. ส่งข่าวสาร, Ant. รับข่าวสาร, Example: ปัจจุบันมีสื่อที่ให้ข่าวสารกับเรามากมาย เช่น หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น |
เทคโนโลยีสารสนเทศ | (n) information technology, See also: IT, Example: เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีความเป็นอยู่ของสังคมสมัยใหม่อยู่มาก, Thai Definition: เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการผลิต จัดเก็บ และเผยแพร่ข่าวสารผ่านทางคอมพิวเตอร์ ไมโครอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม |
เทคโนโลยีสารสนเทศ | (n) information technology, See also: IT, Thai Definition: เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการผลิต จัดเก็บ และเผยแพร่ข่าวสารผ่านทางคอมพิวเตอร์ ไมโครอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม |
สนเทศ | (n) information |
สารสนเทศ | (n) information |
ข้อมูลขนาดใหญ่ | (n) a large amount of information, See also: voluminous information, Example: CD - ROM สามารถบันทึกข้อมูลขนาดใหญ่ได้จำนวนมาก, Thai Definition: ข้อมูลที่มีจำนวนมาก |
ข้อมูลข่าวสาร | (n) news information, Syn. ข่าวสาร, Example: ระบบแลนเป็นการเชื่อมต่อเครื่องพีซีให้มีการใช้ข้อมูลข่าวสาร และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ร่วมกัน, Thai Definition: ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง |
ข้อมูลจริง | (n) correct information, See also: truth, Example: เมื่อจะเขียนเรื่องที่เกิดในต่างประเทศ นักเขียนควรจะเดินทางไปเก็บข้อมูลจริง, Thai Definition: ข้อมูลที่ได้รับจากประสบการณ์จริง หรือประสบด้วยตนเอง |
ข้อมูลรูปภาพ | (n) pictorial information, See also: graphic, Syn. ข้อมูลภาพ, Example: เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ได้ก้าวหน้าไปมาก จนสามารถที่จะประมวลผล และเก็บรวบรวมข้อมูลรูปภาพได้จำนวนมาก, Thai Definition: ข้อมูลที่มีลักษณะเป็นรูปภาพ |
ประมวลผลข้อมูล | (v) process data (information), See also: evaluate data (information), Example: ดิจิตอลคอมพิวเตอร์จะเป็นเครื่องมือที่ใช้ประมวลผลข้อมูลในลักษณะของตัวเลข, Thai Definition: รวบรวมผลของข้อมูลให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่ |
รูปแบบ | (n) format, Syn. แบบ, รูปร่าง, โครง, แบบอย่าง, ต้นแบบ, Example: วิธีการเก็บข้อมูลลงบนแผ่นดิสก์นั้น จำเป็นต้องมีรูปแบบและระบบการจัดเก็บที่เป็นระเบียบ |
ได้ความ | (v) learn the news, See also: get the information, know, Syn. ได้เรื่อง, ได้การ, รู้เรื่อง, Example: เธอได้ความมาอย่างไรบ้าง เล่าให้พวกเราฟังหน่อย, Thai Definition: รู้เรื่องราวหรือข้อมูลของเหตุการณ์, รู้ข่าวคราวที่เป็นไป |
แถวหน้ากระดาน | (n) line of troops, See also: line formation, Example: เด็กนักเรียนยืนเป็นแถวหน้ากระดานเพื่อเตรียมเคารพธงชาติ |
โรงเรียนดัดสันดาน | (n) reformatory, See also: house of correction, Example: เจ้าเด็กคนนี้ ผมจะส่งมันไปโรงเรียนดัดสันดาน, Count Unit: โรง, แห่ง |
สารนิเทศ | (n) general information, Example: การนำคอมพิวเตอร์มาช่วยงานจะทำให้สามารถสรุปสารนิเทศในรูปแบบที่เหมาะสมได้โดยง่าย, Thai Definition: การชี้แจงแนะนำเกี่ยวกับข่าวสารหรือข้อมูลต่างๆ |
สารสนเทศ | (n) information, Example: คอมพิวเตอร์สามารถจัดการข้อมูลหรือผลิตสารสนเทศได้ในเวลาอันรวดเร็ว, Thai Definition: การแสดงหรือชี้แจงข่าวสารข้อมูลต่างๆ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ข่าวสาร | (n) information, See also: news, message, Syn. ข่าว, ประกาศ, ข้อมูล, Example: ข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ช่วยให้เรารู้เรื่องต่างๆ ดีขึ้น, Count Unit: เรื่อง, ข่าว, ชิ้น, Thai Definition: คำบอกเล่าเรื่องราวที่เป็นไปหรือรายละเอียดของข้อมูลต่างๆ |
ข่าวกรอง | (n) intelligence, See also: information, Example: เรื่องนี้เชื่อถือได้เพราะเป็นข่าวกรองที่ผ่านการตรวจสอบแล้ว, Count Unit: ข่าว, เรื่อง, Thai Definition: ข่าวที่ได้ตรวจสอบหลักฐานแล้วว่าเป็นข่าวที่เชื่อถือได้ |
ข่าว | (n) information, Syn. ข่าวสาร, ข้อมูล, Example: ผู้เห็นเหตุการณ์ต้องการให้ข่าวเรื่องการโจรกรรมธนาคารแก่ตำรวจ, Count Unit: เรื่อง, ประเด็น, Thai Definition: คำบอกเล่าเรื่องราวหรือรายละเอียดของข้อมูล ซึ่งโดยปกติมักเป็นเรื่องเกิดใหม่หรือเป็นที่สนใจ |
ข่าวคราว | (n) news, See also: message, information, Syn. ข่าวสาร, ข้อมูล, ข่าว, Example: เราไม่ได้ข่าวคราวจากทางบ้านมาหลายเดือนแล้ว, Count Unit: เรื่อง, ข่าว, Thai Definition: คำบอกเล่าเรื่องทุกข์สุขความเป็นไปของชีวิต |
ข้อมูล | (n) data, See also: information, Example: ไวรัสตัวใหม่ทำให้ข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์หายไป, Thai Definition: ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงสำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือการคำนวณ |
คาบ | (v) inform, See also: tell, communicate the news, pass on the information, Example: เขาคาบรายละเอียดมารายงานเจ้าพ่ออย่างเรียบร้อยหมดเปลือก, Thai Definition: แจ้งข่าวให้คนอื่นรู้, Notes: (สแลง) |
พยุหยาตรา | (v) march in force, See also: march on, move an army, march in formation, Syn. ยกกองทัพ, เดินทัพ, ยกทัพ, Example: สมเด็จพระนเรศวรทรงพยุหยาตราทัพไปตีเมืองหงสาวดี, Thai Definition: ไปเป็นกระบวนทัพใหญ่ |
ส่วนข้อมูล | (n) information division |
สังคมข่าวสาร | (n) information society, Example: สังคมปัจจุบันกำลังเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมข่าวสาร |
สำนักข่าว | (n) news agency, See also: press agency, press association, information service, Example: ทุกสำนักข่าวเฝ้าติดตามตั้งแต่ต้นจนจบว่ารัฐบาลของสหรัฐจะดำเนินการอย่างไร, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ที่ซึ่งเป็นแหล่งรวมข้อมูลหรือรายละเอียดของข่าวต่างๆ |
ประวัติส่วนตัว | (n) background and personal information, Example: ผู้สมัครงานต้องกรอกประวัติส่วนตัวให้ครบถ้วน |
ชันนะตุ | (n) scald head, See also: skin disease characterized by the formation pustules on the scalp, Example: ปะคำดีควายเป็นสมุนไพรที่แก้ชันนะตุได้, Thai Definition: ชื่อโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง เป็นที่ศีรษะ เกิดจากเชื้อราบนผิวหนังศีรษะก่อนแล้วลุกลามกินลึกลงไปถึงรากผม ทำให้ผมร่วง |
กรมสารนิเทศ | (n) Department of Information, Example: กรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ได้แถลงการณ์ให้ประชาชนทราบถึงผลการเจรจาอย่างละเอียด, Count Unit: กรม |
กระแสข่าว | (n) informed sources, See also: dispatch, information, stream of information, Example: ขณะนี้มีกระเเสข่าวออกมาว่ารัฐบาลได้จับกลุ่มกบฏได้แล้ว |
การตั้งตัว | (n) establishment, See also: formation, setting up, Syn. การสร้างฐานะ, การตั้งฐานะ, การตั้งหลักฐาน |
การแถลงข่าว | (n) publication, See also: giving information, news publishing, announcement, Syn. การแจ้งข่าว, การแพร่ข่าว, การลงข่าว, การรายงานข่าว, การออกข่าว, Example: คู่รักดาราเปิดการแถลงข่าวอย่างเป็นทางการที่โรงแรมดุสิต, Thai Definition: การให้ข่าวเป็นทางการ |
การบอกกล่าว | (n) giving information, See also: notification, telling, advising, informing, Syn. การบอก, การแจ้ง, การแจ้งให้ทราบ, Ant. การรับฟัง, การฟัง, การสดับ, การสดับรับฟัง, Example: โปรแกรมควรที่จะมีการบอกกล่าวให้กับผู้ใช้ได้ทราบด้วยว่ามันได้ทำอะไรให้กับผู้ใช้ไปบ้าง, Thai Definition: การร้องบอกให้ผู้อื่นเป็นพยานรับรู้ไว้ |
การแปร | (n) change, See also: alternation, modification, amendment, transformation, transmutation, transition, Syn. การแปรเปลี่ยน, การเปลี่ยน, การเปลี่ยนแปลง, Example: การแปรของภาษาเป็นการแปรแบบค่อยเป็นค่อยไปทีละน้อย, Thai Definition: การเปลี่ยนกลายไปจากลักษณะหรือภาวะเดิม |
การผันแปร | (n) alteration, See also: change, shift, turn, transformation, deviation, conversion, modification, Syn. การแปรผัน, การแปร, การเปลี่ยนแปลง, การกลับกลาย, Example: สาเหตุใหญ่ๆ ที่ทำให้เกิดการผันแปรในยีนได้แก่รังสีไวรัสและยาบางชนิด, Thai Definition: การกลับกลายไป, การเปลี่ยนแปลงไป |
การรายงานผล | (n) report, See also: information, Syn. การแจ้งผล, Example: การรายงานผลการแข่งขันทางโทรทัศน์ช้ากว่าทางวิทยุเพราะเกิดความผิดพลาดในส่งข้อมูล |
การสร้างคำ | (n) word formation, Example: คำนามผสมกับคำนามเป็นวิธีการสร้างคำในภาษาไทย, Thai Definition: ระเบียบวิธีการสร้างถ้อยคำเพื่อใช้ในภาษา |
การก่อรูป | (n) formation, See also: organizing, Example: พุทธศาสนานิกายเถรวาทซึ่งเข้ามาใหม่ก็สามารถแสดงบทบาทสำคัญในการก่อรูปคุณค่าทางจริยธรรมและทางสังคม |
ไขความลับ | (v) let out a secret, See also: give away a secret, leak information, expose a secret, Syn. บอกความลับ, Example: ทนายไขความลับให้ลูกหลานท่านเจ้าคุณฟังทั้งหมด |
ความ | (n) content, See also: information, Syn. เนื้อความ, เรื่อง, Example: ผมให้แปลเอาความเท่านั้น ไม่ต้องใส่รายละเอียดมาก |
ความพิกลพิการ | (n) deformation, See also: mutilation, disability, Syn. ความพิการ, Example: ทารกที่รอดจากการตั้งใจทำแท้งของมารดาส่วนใหญ่ร่างกายจะมีความพิกลพิการ |
ความรู้ | (n) knowledge, See also: information, awareness, Syn. วิชาความรู้, Example: ความรู้ที่เรียนมานั้นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการทำงานได้ |
จัดรูปแบบ | (v) format, Syn. วางรูปแบบ, Example: คุณควรจัดรูปแบบของหนังสือเสียใหม่เพื่อให้มีความน่าสนใจมากขึ้น |
แถลงข่าว | (v) (make a) statement, See also: give information, publish a statement, publish news, inform, Example: เวลาที่เจรจาความทางการเมืองกับต่างประเทศและแถลงข่าว เขานิยมใช้ภาษาจีนและใช้ล่ามแปล, Thai Definition: ให้ข่าวเป็นทางการ |
รายงาน | (v) report, See also: provide information, give an account of, Example: นักกีฬาหลายคนรายงานว่า เวลาเล่นต่อหน้าผู้ดูจะเล่นได้ดีกว่าเล่นคนเดียว, Thai Definition: บอกเรื่องราวที่ไปทำหรือไปรู้มา |
วางรูปแบบ | (v) set a format, See also: stipulate a format, Syn. จัดรูปแบบ, กำหนดรูปแบบ, Example: คณะอนุกรรมการได้เสนอแนวทางเพื่อวางรูปแบบในการพัฒนายุทธศาสตร์, Thai Definition: จัดรูปลักษณะหรือจัดแนวทางเพื่อเป็นกรอบก่อนลงมือกระทำ |
สาระประโยชน์ | (n) informativeness, See also: benefit, utility, helpfulness, Syn. สาระ, Example: งานแปลทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษก่อให้เกิดความรู้ ความบันเทิง และสาระประโยชน์นานัปการ, Thai Definition: ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์ |
ชีวสารสนเทศศาสตร์ | [chīwasārasonthētsāt] (n) EN: bioinformatics FR: bio-informatique [ f ] |
ช่องข่าว | [chǿng khāo] (n, exp) EN: news channel FR: chaîne d'information [ f ] |
ช่องข่าว 24 ชั่วโมง | [chǿng khāo yīsip-sī chūamōng] (n, exp) FR: chaîne d'information continue [ f ] ; chaîne d'information en continu [ f ] |
ได้ความ | [dāikhwām] (v) EN: learn the news ; get the information ; know ; understand ; make sense ; get results |
เอ4 | [ē-sī] (n) EN: A4 FR: A4 (format ~) [ m ] |
ฟังข่าว | [fang khāo] (v, exp) FR: écouter les informations |
ฟันปลา | [fanplā] (n) EN: serration ; sawtooth formation FR: dentelure [ f ] |
ฟอร์แมต | [fømaēt] (n) EN: format FR: format [ m ] |
ให้ข้อมูล | [hai khømūn] (v, exp) EN: give some information FR: donner des informations ; informer |
แจ้งความเท็จ | [jaēngkhwām thet] (v, exp) EN: report false information intentionally |
การบอก | [kān bøk] (n) EN: information |
การบอกกล่าว | [kān bøkklāo] (n) EN: giving information ; notification ; telling ; advising ; informing FR: information [ f ] ; allégation [ f ] ; énonciation [ f ] |
การฝึกงาน | [kān feukngān] (n) EN: job training ; apprenticing ; skill development ; practical training FR: apprentissage [ m ] ; stage [ m ] ; formation [ f ] |
การแจ้งความ | [kān jaēngkhwām] (n) EN: information ; charge |
การเขียนโปรแกรม | [kān khīen prōkraēm] (n, exp) EN: computing programming FR: programmation (informatique) [ f ] |
การเกิด | [kān koēt] (n) EN: birth FR: naissance [ f ] ; formation [ f ] |
การก่อตั้ง | [kān køtang] (n) EN: formation |
การก่อตั้งบริษัท | [kān køtang børisat] (n, exp) EN: formation of a company FR: création d'une entreprise [ f ] |
การมีข้อมูลมากเกินไป | [kān mī khømūn māk koēnpai] (n, exp) EN: information overload |
การอบรม | [kān oprom] (n) EN: teaching ; instructing ; tutoring ; training ; drill FR: formation [ f ] ; éducation [ f ] |
การผันแปร | [kān phanpraē] (n) EN: alteration ; change ; shift ; turn ; transformation ; deviation ; conversion ; modification |
การเปลี่ยน | [kān plīen] (n) EN: changement FR: changement [ m ] ; transformation [ f ] |
การเปลี่ยนแปลง | [kān plīenplaēng] (n) EN: change ; revolution ; transformation FR: changement [ m ] ; transformation [ f ] ; modification [ f ] ; altération [ f ] ; évolution [ f ] ; mutation [ f ] |
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย | [kān plīenplaēng thāng dān rāngkāi] (n, exp) FR: transformation corporelle [ f ] |
การแปรสภาพ | [kān praēsaphāp] (n) EN: transformation |
การประมวลผลสารสนเทศ | [kān pramūanphon sārasonthēt] (n, exp) EN: information processing FR: traitement de l'information [ m ] |
การเรียน | [kān rīen] (n) EN: schooling ; studying ; learning ; education ; studies FR: enseignement [ m ] ; éducation (scolaire) [ f ] ; apprentissage [ m ] ; formation (scolaire) [ f ] ; études [ fpl ] ; scolarité [ f ] |
การเรียนหนังสือ | [kān rīen nangseū] (n) EN: study ; learning FR: apprentissage [ m ] ; formation (scolaire) [ f ] |
การสร้างคำ | [kān sāng kham] (n, exp) EN: word formation FR: formation des mots [ f ] |
การสะสมทุน | [kān sasom thun] (n, exp) EN: capital formation |
การศึกษา | [kānseuksā] (n) EN: education FR: éducation [ f ] ; formation [ f ] ; enseignement [ m ] ; études [ fpl ] ; instruction [ f ] |
การศึกษาระดับสูง | [kānseuksā radap sūng] (n, exp) EN: advanced education ; advanced study FR: formation de haut niveau [ f ] ; formation supérieure [ f ] |
การศึกษาต่อเนื่อง | [kānseuksā tøneūang] (n, exp) EN: continuous education FR: formation continue [ f ] |
การตั้งบริษัท | [kān tang børisat] (n, exp) EN: formation of a company |
การตั้งบริษัทใหม่ | [kān tang børisat mai] (n, exp) EN: formation of a new company FR: établissement d'une nouvelle société [ m ] |
การตั้งตัว | [kān tangtūa] (n) EN: establishment ; formation ; setting up |
การแถลงข่าว | [kān thalaēngkhāo] (n) EN: publication ; giving information ; news publishing ; announcement ; press conference |
เก็บข้อมูล | [kep khømūn] (v, exp) EN: record data FR: enregistrer des données ; conserver des informations |
เก็บตก | [keptok] (v) EN: pick up information ; glean information |
คณะ | [khana] (n) EN: group ; gang ; party ; contingent ; organization ; team ; body ; committee ; board ; troupe FR: groupe [ m ] ; troupe [ f ] ; formation [ f ] ; contingent [ m ] ; comité [ m ] |
ขนาด | [khanāt] (n) EN: size ; dimension ; magnitude ; proportion ; measurement ; caliber ; type ; standard ; specification ; mode ; norm ; yardstick ; capacity ; format FR: taille [ f ] ; dimension [ f ] ; format [ m ] ; magnitude [ f ] ; mesures [ fpl ] ; calibre [ m ] |
ขนาดกระดาษ | [khanāt kradāt] (n, exp) EN: paper size FR: format de papier [ m ] |
ข่าว | [khāo] (n) EN: news ; report ; information FR: actualité [ f ] ; nouvelle [ fpl ] ; information [ f ] ; info [ f ] (fam.) ; journal télévisé [ m ] ; journal radiodiffusé [ m ] |
ข่าวเช้า | [khāo chāo] (n, exp) EN: morning news FR: informations du matin [ fpl ] |
ข่าวชิ้นหนึ่ง | [khāo chin neung] (n, exp) EN: a piece of news FR: une tranche d'information |
ข่าวด่วน | [khāo duan] (n, exp) EN: hot news ; late news ; stop-press news ; urgent news ; urgent dispatch FR: nouvelles de dernière minute [ fpl ] ; flash d'information [ m ] ; actualité brûlante [ f ] ; dernières nouvelles [ fpl ] |
ข่าวคราว | [khāokhrāo] (n) EN: news ; message ; information FR: nouvelle [ f ] ; message [ m ] ; information [ f ] |
ข่าวกีฬา | [khāo kīlā] (n, exp) EN: sports news ; sports news item FR: informations sportives [ fpl ] ; nouvelles sportives [ fpl ] ; actualité sportive [ f ] |
ข่าวกรอง | [khāokrøng] (n) EN: intelligence ; information FR: information [ f ] ; renseignement [ m ] ; indication [ f ] |
ข่าวสั้น | [khāo san] (n, exp) EN: news in brief FR: nouvelles en bref [ fpl ] ; flash d'information [ m ] |
affine transformation | (n) (mathematics) a transformation that is a combination of single transformations such as translation or rotation or reflection on an axis |
american standard code for information interchange | (n) (computer science) a code for information exchange between computers made by different companies; a string of 7 binary digits represents each character; used in most microcomputers, Syn. ASCII |
back-formation | (n) a word invented (usually unwittingly by subtracting an affix) on the assumption that a familiar word derives from it |
conformation | (n) a symmetrical arrangement of the parts of a thing |
conformational entropy | (n) entropy calculated from the probability that a state could be reached by chance alone |
counterreformation | (n) a reformation intended to counter the results of a prior reformation |
counter reformation | (n) the reaction of the Roman Catholic Church to the Reformation reaffirming the veneration of saints and the authority of the Pope (to which Protestants objected); many leaders were Jesuits |
defense information systems agency | (n) a combat support agency in the Department of Defense responsible for developing and operating and supporting information systems to serve the needs of the President and the Secretary of Defense and the Joint Chiefs of Staff, Syn. DISA |
defense technical information center | (n) the agency in the Department of Defense that provides scientific and technical information to federal agencies and their contractors, Syn. DTIC |
deformation | (n) alteration in the shape or dimensions of an object as a result of the application of stress to it |
deformational | (adj) relating to or causing change in either shape or size of a material body or geometric figure |
disinformation | (n) misinformation that is deliberately disseminated in order to influence or confuse rivals (foreign enemies or business competitors etc.) |
format | (n) the organization of information according to preset specifications (usually for computer processing), Syn. formatting, data format, data formatting |
format | (n) the general appearance of a publication |
format | (v) set (printed matter) into a specific format, Syn. arrange |
format | (v) determine the arrangement of (data) for storage and display (in computer science) |
format | (v) divide (a disk) into marked sectors so that it may store data, Syn. initialize, initialise |
formation | (n) an arrangement of people or things acting as a unit |
formation | (n) the act of fabricating something in a particular shape, Syn. shaping |
formation | (n) a particular spatial arrangement |
formation | (n) natural process that causes something to form |
formation | (n) creation by mental activity |
formative | (n) minimal language unit that has a syntactic (or morphological) function |
formative | (adj) capable of forming new cells and tissues |
formative | (adj) forming or capable of forming or molding or fashioning, Syn. plastic, shaping |
formatted capacity | (n) (computer science) the usable capacity of a disk drive; the amount of space that is left after the sector headings and boundary definitions and timing information have been added by formatting the disk |
geological formation | (n) (geology) the geological features of the earth, Syn. formation |
heat of formation | (n) the heat evolved or absorbed during the formation of one mole of a substance from its component elements |
high-level formatting | (n) (computer science) the format for the root directory and the file allocation tables and other basic configurations |
information | (n) a message received and understood, Syn. info |
information | (n) knowledge acquired through study or experience or instruction |
information | (n) formal accusation of a crime |
information | (n) (communication theory) a numerical measure of the uncertainty of an outcome, Syn. selective information, entropy |
information age | (n) a period beginning in the last quarter of the 20th century when information became easily accessible through publications and through the manipulation of information by computers and computer networks |
informational | (adj) relating to or having the nature of information |
information bulletin | (n) a bulletin containing the latest information |
information gathering | (n) the act of collecting information |
information measure | (n) a system of measurement of information based on the probabilities of the events that convey information |
information return | (n) a return that provides information to the tax collector but does not compute the tax liability |
information science | (n) the sciences concerned with gathering, manipulating, storing, retrieving, and classifying recorded information, Syn. informatics, IP, information processing |
information technology | (n) the branch of engineering that deals with the use of computers and telecommunications to retrieve and store and transmit information, Syn. IT |
information theory | (n) (computer science) a statistical theory dealing with the limits and efficiency of information processing |
information warfare | (n) the use of information or information technology during a time of crisis or conflict to achieve or promote specific objectives over a specific adversary or adversaries, Syn. IW |
informative | (adj) providing or conveying information, Syn. informatory, Ant. uninformative |
informatively | (adv) in an informative manner, Syn. instructively, Ant. uninstructively, uninformatively |
insider information | (n) important information about the plans or condition of a corporation that has not been released to the public; use for personal profit is illegal |
low-level formatting | (n) (computer science) the format of sectors on the surface of a hard disk drive so that the operating system can access them and setting a starting position, Syn. initialisation, initialization |
malformation | (n) something abnormal or anomalous, Syn. miscreation |
military formation | (n) a formation of troops |
misinformation | (n) information that is incorrect |
Afformative | n. An affix. [ 1913 Webster ] |
back-formation | n. (Linguistics) |
Conformate | a. [ L. conformatus, p. p. See Conform. ] Having the same form. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
Conformation | n. [ L. conformatio: cf. F. conformation. ] The conformation of our hearts and lives to the duties of true religion and morality. I. Watts. [ 1913 Webster ] In Hebrew poetry, there may be observed a certain conformation of the sentences. Lowth. [ 1913 Webster ] A structure and conformation of the earth. Woodward. [ 1913 Webster ] |
Conformator | n. [ L., a framer. ] An apparatus for taking the conformation of anything, as of the head for fitting a hat, or, in craniometry, finding the largest horizontal area of the head. [ Webster 1913 Suppl. ] |
Deformation | n. [ L. deformatio: cf. F. déformation. ] |
deformational | adj. |
Efformation | n. The act of giving shape or form. [ Obs. ] Ray. [ 1913 Webster ] |
Format | ‖n. [ F. or G. Cf. Formation. ] The older manuscripts had been written in a much larger format than that found convenient for university work. G. H. Putnam. [ Webster 1913 Suppl. ] One might, indeed, protest that the format is a little too luxurious. Nature. [ Webster 1913 Suppl. ]
|
format | v. t. to set into a specific format; -- of printed matter or data recorded on a data storage medium. |
Formate | n. [ See Formic. ] (Chem.) A salt of formic acid. |
Formation | n. [ L. formatio: cf. F. formation. ] |
Formative | a. [ Cf. F. formatif. ] The meanest plant can not be raised without seed, by any formative residing in the soil. Bentley. [ 1913 Webster ] |
Formative | n. (Gram.) |
Information | n. [ F., fr. L. informatio representation, conception. See Inform, v. t. ] The active informations of the intellect. South. [ 1913 Webster ] Larger opportunities of information. Rogers. [ 1913 Webster ] He should get some information in the subject he intends to handle. Swift. [ 1913 Webster ] |
information content | n. information{ 4 }. [ PJC ] |
information processing | n. The processing of information, especially by computers, including the organization, distribution, and frequently the analysis of data and the presentation of results in easily understood form. [ PJC ] |
information theory | n. (Math., Telecommunications) The science which studies the capacity of systems to contain, store, and transmit information{ 2 and 4 }, and the factors such as noise and channel capacity that may affect the rate or accuracy of information transmission and reception. [ PJC ] |
Informative | a. Having power to inform, animate, or vivify. Dr. H. More. [ 1913 Webster ] |
Informatory | a. Full of, or conveying, information; instructive. [ R. ] London Spectator. [ 1913 Webster ] |
malconformation | n. [ Mal- + conformation. ] Imperfect, disproportionate, or abnormal formation; ill form; disproportion of parts. [ 1913 Webster ] |
Maleconformation | n. Malconformation. [ 1913 Webster ] |
Maleformation | n. See Malformation. [ 1913 Webster ] |
Malformation | n. [ Mal- + formation. ] Ill formation; irregular or anomalous formation; abnormal or wrong conformation or structure; -- often used of body parts such as limbs which do not develop properly during fetal maturation. [ 1913 Webster +PJC ] |
Misformation | n. Malformation. [ 1913 Webster ] |
Misinformation | n. Untrue or incorrect information. Bacon. [ 1913 Webster ] |
Preformation | n. (Biol.) An old theory of the preëxistence of germs. Cf. Emboîtement. [ 1913 Webster ] |
Preformative | n. A formative letter at the beginning of a word. M. Stuart. [ 1913 Webster ] |
Reformation | n. [ F. réformation, L. reformatio. ] Satire lashes vice into reformation. Dryden. [ 1913 Webster ] |
Re-formation | n. The act of forming anew; a second forming in order; |
Reformative | a. Forming again; having the quality of renewing form; reformatory. Good. [ 1913 Webster ] |
Reformatory | a. Tending to produce reformation; reformative. [ 1913 Webster ] |
Reformatory | n.; Magistrates may send juvenile offenders to reformatories instead of to prisons. Eng. Cyc. [ 1913 Webster ] |
Transformation | n. [ L. transformatio: cf. transformation. ] The act of transforming, or the state of being transformed; change of form or condition. Specifically: -- [ 1913 Webster ] [ 1913 Webster ] |
Transformative | a. [ Cf. F. transformatif. ] Having power, or a tendency, to transform. [ 1913 Webster ] |
Unreformation | n. Want of reformation; state of being unreformed. [ Obs. ] Bp. Hall. [ 1913 Webster ] |
Vasoformative | a. [ L. vas a vessel + formative. ] (Physiol.) Concerned in the development and formation of blood vessels and blood corpuscles; |
信息 | [信 息] information; news; message #383 [Add to Longdo] |
消息 | [消 息] news; information; CL:條|条[ tiao2 ] #489 [Add to Longdo] |
讯 | [讯 / 訊] to question; to ask; to interrogate; rapid; speedy; fast; news; information #792 [Add to Longdo] |
表 | [表] exterior surface; family relationship via females; to show (one's opinion); a model; a table (listing information); a form; a meter (measuring sth) #927 [Add to Longdo] |
资料 | [资 料 / 資 料] material; resources; data; information #954 [Add to Longdo] |
来源 | [来 源 / 來 源] source (of information etc); origin #1,255 [Add to Longdo] |
供 | [供] offer (information etc); supply #1,948 [Add to Longdo] |
情报 | [情 报 / 情 報] (spy) intelligence; information-gathering #3,964 [Add to Longdo] |
通报 | [通 报 / 通 報] bulletin; journal; circulate information; bulletin #4,570 [Add to Longdo] |
转型 | [转 型 / 轉 型] transformation; to transform #5,189 [Add to Longdo] |
变形 | [变 形 / 變 形] deformation; to become deformed; to change shape; to morph #5,362 [Add to Longdo] |
格式 | [格 式] form; specification; format #5,432 [Add to Longdo] |
资讯 | [资 讯 / 資 訊] information #5,601 [Add to Longdo] |
反馈 | [反 馈 / 反 饋] to send back information; feedback #7,120 [Add to Longdo] |
信息技术 | [信 息 技 术 / 信 息 技 術] information technology; IT #7,821 [Add to Longdo] |
二手 | [二 手] indirectly acquired; second-hand (information, equipment etc) #8,931 [Add to Longdo] |
叙述 | [叙 述 / 敘 述] to relate (a story or information); to tell or talk about; to recount; narration; telling; narrative; account #9,407 [Add to Longdo] |
通风 | [通 风 / 通 風] airy; ventilation; to ventilate; to disclose information #9,503 [Add to Longdo] |
变换 | [变 换 / 變 換] to transform; to convert; to vary; to alternate; a transformation #9,900 [Add to Longdo] |
信息系统 | [信 息 系 统 / 信 息 系 統] information system #10,303 [Add to Longdo] |
泄露 | [泄 露 / 洩 露] leak (information); divulge #11,086 [Add to Longdo] |
内幕 | [内 幕 / 內 幕] inside story; non-public information; behind the scenes; internal #11,118 [Add to Longdo] |
机密 | [机 密 / 機 密] secret; classified (information) #11,435 [Add to Longdo] |
通气 | [通 气 / 通 氣] ventilation; aeration; to keep each other informed; to release information #13,631 [Add to Longdo] |
兵团 | [兵 团 / 兵 團] large military unit; formation; corps; army #14,475 [Add to Longdo] |
底蕴 | [底 蕴 / 底 蘊] inside information; concrete details #14,659 [Add to Longdo] |
追查 | [追 查] to investigate; to track down (information) #15,908 [Add to Longdo] |
风声 | [风 声 / 風 聲] rumor; talk; news; information; sound of the wind; teaching #16,138 [Add to Longdo] |
讯息 | [讯 息 / 訊 息] information; news; message; text message or SMS #19,946 [Add to Longdo] |
信息管理 | [信 息 管 理] information management #20,068 [Add to Longdo] |
编队 | [编 队 / 編 隊] form into columns; organize into teams; formation (of ships or aircraft) #20,316 [Add to Longdo] |
民主化 | [民 主 化] to convert to democracy; democratic transformation #21,074 [Add to Longdo] |
塔斯社 | [塔 斯 社] TASS; Information Telegraph Agency of Russia #21,611 [Add to Longdo] |
队列 | [队 列 / 隊 列] formation #22,432 [Add to Longdo] |
变电 | [变 电 / 變 電] power transformation #22,830 [Add to Longdo] |
制式 | [制 式] standard (format, e.g. PAL or SECAM for TV signal); system; service pattern; type of service #22,833 [Add to Longdo] |
启事 | [启 事 / 啟 事] announcement (written, on billboard, letter, newspaper or website); to post information; a notice #23,743 [Add to Longdo] |
内情 | [内 情 / 內 情] inside information #25,075 [Add to Longdo] |
队形 | [队 形 / 隊 形] formation #25,603 [Add to Longdo] |
小册子 | [小 册 子 / 小 冊 子] booklet; pamphlet; leaflet; information sheet; menu #27,857 [Add to Longdo] |
服务台 | [服 务 台 / 服 務 台] service desk; information desk; reception desk #27,887 [Add to Longdo] |
服务台 | [服 务 台 / 服 務 臺] service desk; information desk; reception desk #27,887 [Add to Longdo] |
见闻 | [见 闻 / 見 聞] what one sees and hears; knowledge; information #28,336 [Add to Longdo] |
端详 | [端 详 / 端 詳] details (of information) #28,674 [Add to Longdo] |
听信 | [听 信 / 聽 信] to listen to information; to get the news; to believe what one hears #31,842 [Add to Longdo] |
格式化 | [格 式 化] to format #32,881 [Add to Longdo] |
履历 | [履 历 / 履 歷] curriculum vitae; career information; career #34,258 [Add to Longdo] |
体式 | [体 式 / 體 式] format; form #35,841 [Add to Longdo] |
维新 | [维 新 / 維 新] a reformation; a political renewal #37,879 [Add to Longdo] |
新闻处 | [新 闻 处 / 新 聞 處] news service; information agency #38,979 [Add to Longdo] |
誤報 | [ごほう, gohou] TH: ข้อมูลผิดพลาด EN: misinformation |
Information | (n) |die, pl. Informationen| ข้อมูล |
Informationen | (n) |pl.|, See also: die Information |
Bioinformatik | (n) |die| ชีวสารสนเทศศาสตร์ |
情報 | [じょうほう, jouhou] (n) (1) (See 秘密情報) news; gossip; (military) intelligence; (2) (See 情報インフラ) information (data contained in characters, signals, code, etc.); (P) #102 [Add to Longdo] |
案内 | [あんない, annai] (n) (1) information; guidance; leading; (vs) (2) to guide; to show (around); to conduct; (P) #106 [Add to Longdo] |
変換 | [へんかん, henkan] (n, vs) change; conversion; transformation; translation; (P) #554 [Add to Longdo] |
報告 | [ほうこく, houkoku] (n, vs) report; information; (P) #648 [Add to Longdo] |
行 | [こう, kou] (n) (1) line (i.e. of text); row; verse; (2) { Buddh } carya (austerities); (3) { Buddh } samskara (formations); (4) (abbr) (See 行書) running script (a semi-cursive style of kanji); (P) #873 [Add to Longdo] |
編成 | [へんせい, hensei] (n, vs) composition; formation; organization; organisation; compilation; (P) #999 [Add to Longdo] |
形式 | [けいしき, keishiki] (n) (1) (See 形式張る) form (as opposed to substance); formality; (2) method; system; style; (3) (See ファイル形式) format; mode; appearance; form (something takes); (4) math expression; (P) #1,072 [Add to Longdo] |
誕生 | [たんじょう, tanjou] (n, vs) birth; creation; formation; (P) #1,081 [Add to Longdo] |
系統 | [けいとう, keitou] (n) system; family line; geological formation; lineage; ancestry; (P) #1,225 [Add to Longdo] |
形成 | [けいせい, keisei] (n, vs, adj-no) formation; molding; taking form; (P) #1,303 [Add to Longdo] |
報道 | [ほうどう, houdou] (n) (1) information; report; journalism; news; (vs) (2) to report; (P) #1,329 [Add to Longdo] |
結成 | [けっせい, kessei] (n, vs) formation; combination; (P) #1,408 [Add to Longdo] |
変化 | [へんげ, henge] (n, vs) (1) change; variation; alteration; mutation; transition; transformation; transfiguration; metamorphosis; (2) variety; diversity; (3) inflection; declension; conjugation; (4) sidestepping (sumo); (P) #1,435 [Add to Longdo] |
誠(P);実 | [まこと, makoto] (adv, n) (1) truth; reality; (2) sincerity; honesty; integrity; fidelity; (3) (arch) that's right (used when recalling forgotten information, suddenly changing the subject, etc.); (P) #1,760 [Add to Longdo] |
け;っけ | [ke ; kke] (prt) particle indicating that the speaker is trying to recall some information #1,868 [Add to Longdo] |
知識(P);智識 | [ちしき, chishiki] (n) knowledge; information; (P) #2,058 [Add to Longdo] |
改革 | [かいかく, kaikaku] (n, vs, adj-no) reform; reformation; innovation; (P) #2,205 [Add to Longdo] |
意識 | [いしき, ishiki] (n, vs) (1) consciousness; (2) awareness; sense; (3) { Buddh } mano-vijnana (mental consciousness, cognizer of sensory information); (P) #2,431 [Add to Longdo] |
広報(P);弘報;廣報(oK) | [こうほう, kouhou] (n) PR; public relations; publicity; information; (P) #2,552 [Add to Longdo] |
陣 | [じん, jin] (n) battle formation; camp; encampment #2,697 [Add to Longdo] |
報 | [ほう, hou] (n, n-suf) information; news; report; (P) #3,028 [Add to Longdo] |
筋(P);条 | [すじ, suji] (n) (1) muscle; tendon; sinew; (2) vein; artery; (3) fiber; fibre; string; (4) line; stripe; streak; (5) (See 筋が通る) reason; logic; (6) plot; storyline; (7) lineage; descent; (8) school (e.g. of scholarship or arts); (9) aptitude; talent; (10) source (of information, etc.); circle; channel; (11) well-informed person (in a transaction); (12) logical move (in go, shogi, etc.); (13) ninth vertical line (shogi); (14) seam on a helmet; (15) (abbr) (See 筋蒲鉾) gristly fish paste (made of muscle, tendons, skin, etc.); (16) (arch) social position; status; (n-suf, n, adj-no) (17) on (a river, road, etc.); along; (suf, ctr) (18) counter for long thin things; (19) (arch) (Edo period) counter for hundreds of mon (obsolete unit of currency); (P) #3,255 [Add to Longdo] |
変身 | [へんしん, henshin] (n, vs) metamorphosis; disguise; transformation; (P) #3,431 [Add to Longdo] |
生成 | [せいせい, seisei] (n, vs) creation; generation; formation; derivation; (P) #3,709 [Add to Longdo] |
伝承 | [でんしょう, denshou] (n, vs, adj-no) transmission; hand down (information); legend; tradition; folklore; (P) #4,555 [Add to Longdo] |
維新 | [いしん, ishin] (n) restoration (e.g. Meiji); reformation; revolution; (P) #5,038 [Add to Longdo] |
書式 | [しょしき, shoshiki] (n) blank form; format #5,386 [Add to Longdo] |
施工 | [せこう(P);しこう, sekou (P); shikou] (n, vs) construction; constructing; carrying out; work; formation; workmanship; execution; (P) #5,412 [Add to Longdo] |
変形 | [へんけい, henkei] (n, vs, adj-no) transformation; variation; metamorphosis; modification; deformation; variety; deformity; monster; (P) #5,442 [Add to Longdo] |
改変 | [かいへん, kaihen] (n, vs) change; innovation; transformation #5,461 [Add to Longdo] |
報知 | [ほうち, houchi] (n, vs) information; news; intelligence; (P) #5,695 [Add to Longdo] |
書き方 | [かきかた, kakikata] (n) (1) way of writing; manner of writing; (2) penmanship (esp. used in old textbooks); calligraphy; (3) format (e.g. of a report); (4) stroke order of a character; (P) #5,771 [Add to Longdo] |
フォーマット | [fo-matto] (n, vs) { comp } (computer) format; (P) #5,936 [Add to Longdo] |
通報 | [つうほう, tsuuhou] (n, vs) (1) report; tip; bulletin; (2) { math;comp } message (in information and communication theory); (P) #6,865 [Add to Longdo] |
流出 | [りゅうしゅつ, ryuushutsu] (n, vs) (1) discharge; outward flow; efflux; effluence; (2) leak of (private) information or pictures; (P) #7,997 [Add to Longdo] |
受付(P);受け付け(P);受付け;受け付 | [うけつけ, uketsuke] (n) (1) (esp. 受付) reception (desk); information desk; (n, vs) (2) (See 受け付ける) receipt; acceptance; (P) #8,392 [Add to Longdo] |
アスキー | [asuki-] (n) { comp } American Standard Code for Information Interchange; ASCII; (P) #8,416 [Add to Longdo] |
アンテナ | [antena] (n) (1) antenna; (2) person who collects information or opinions; (P) #8,627 [Add to Longdo] |
体裁 | [ていさい(P);たいさい, teisai (P); taisai] (n) (1) (outward) appearance; (2) (proper) format (e.g. of an essay); form; style; (3) appearances; decency; show; display; (4) lip-service; insincere words; glib talk; (P) #10,492 [Add to Longdo] |
変態 | [へんたい, hentai] (n, vs, adj-no) (1) transformation; metamorphosis; (2) abnormality; pervert; (P) #10,628 [Add to Longdo] |
機密 | [きみつ, kimitsu] (n) secrecy; highly classified information; (P) #10,812 [Add to Longdo] |
諜報 | [ちょうほう, chouhou] (n) secret information; intelligence #10,861 [Add to Longdo] |
用件 | [ようけん, youken] (n) business; thing to be done; something that should be perfomed; information that should be conveyed; (P) #13,574 [Add to Longdo] |
インフォメーション(P);インフォーメーション;インフォーメーシオン(ik) | [infome-shon (P); info-me-shon ; info-me-shion (ik)] (n) information; (P) #14,076 [Add to Longdo] |
変貌 | [へんぼう, henbou] (n, vs) transfiguration; transformation; change of appearance; (P) #14,103 [Add to Longdo] |
掛かる(P);懸かる(P);掛る;懸る | [かかる, kakaru] (v5r, vi) (1) (See 時間がかかる) to take; (v5r) (2) to hang; (3) (See お目にかかる) to come into view; to arrive; (4) to come under (a contract, a tax); (5) to start (engines, motors); (6) to attend; to deal with; to handle; (v5r, aux-v) (7) to have started to; to be on the verge of; (8) to overlap (e.g. information in a manual); to cover; (9) to (come) at; (10) (See 鍵がかかる) to be fastened; (11) to be covered (e.g. with dust, a table-cloth, etc.); (12) (See 罠にかかる) to be caught in; (13) (See 電話が掛かる) to get a call; (14) to depend on; (P) #14,931 [Add to Longdo] |
変革 | [へんかく, henkaku] (n, vs) (1) change; reform; revolution; upheaval; (2) Reformation; (P) #14,940 [Add to Longdo] |
心得 | [こころえ, kokoroe] (n) knowledge; information; (P) #15,728 [Add to Longdo] |
地層 | [ちそう, chisou] (n) stratum; geological formation; layer; bed (coal, gravel, etc.); (P) #17,295 [Add to Longdo] |
見聞 | [けんぶん(P);けんもん, kenbun (P); kenmon] (n, vs) information; observation; (P) #17,302 [Add to Longdo] |
アクセス情報 | [アクセスじょうほう, akusesu jouhou] access information [Add to Longdo] |
アドレス形式 | [アドレスけいしき, adoresu keishiki] address format [Add to Longdo] |
アドレス情報 | [アドレスじょうほう, adoresu jouhou] address information [Add to Longdo] |
インフォストラクチャー | [いんふぉすとらくちゃー, infosutorakucha-] infostructure, information structure [Add to Longdo] |
インフォメーションスーパーハイウェイ | [いんふぉめーしょんすーぱーはいうえい, infome-shonsu-pa-haiuei] information superhighway [Add to Longdo] |
ウィンドウビューイング変換 | [ウィンドウビューイングへんかん, uindoubyu-ingu henkan] normalization transformation, Viewing transformation, window-to-viewport transformation [Add to Longdo] |
ウィンドウビューポート変換 | [ウィンドウビューポートへんかん, uindoubyu-po-to henkan] window, viewport transformation, viewing transformation [Add to Longdo] |
ウィンドウ情報 | [ウィンドウじょうほう, uindou jouhou] window information [Add to Longdo] |
エントリ情報 | [エントリじょうほう, entori jouhou] entry-information [Add to Longdo] |
エントリ情報選択 | [エントリじょうほうせんたく, entori jouhousentaku] entry-information-selection [Add to Longdo] |
エントロピー | [えんとろぴー, entoropi-] entropy, mean information content, average information content [Add to Longdo] |
キャラクタフォーマット | [きゃらくたふぉーまっと, kyarakutafo-matto] character format [Add to Longdo] |
グローバル形式 | [グローバルけいしき, guro-baru keishiki] global format [Add to Longdo] |
シャノン | [しゃのん, shanon] Shannon, binary unit of information content, bit [Add to Longdo] |
セグメント変換 | [せぐめんとへんかん, segumentohenkan] segment transformation [Add to Longdo] |
ゾーン形式 | [ゾーンけいしき, zo-n keishiki] zoned format [Add to Longdo] |
チャネルデフィニションフォーマット | [ちゃねるでふぃにしょんふぉーまっと, chanerudefinishonfo-matto] channel definition format [Add to Longdo] |
データ媒体変換 | [データばいたいへんかん, de-ta baitaihenkan] data transformation [Add to Longdo] |
ディレクトリ情報ベース | [ディレクトリじょうほうベース, deirekutori jouhou be-su] Directory Information Base, (DIB) [Add to Longdo] |
ドキュメンテーションセンタ | [どきゅめんてーしょんせんた, dokyumente-shonsenta] information centre, documentation centre [Add to Longdo] |
ナット | [なっと, natto] natural unit of information content, nat [Add to Longdo] |
ネーティブファイルフォーマット | [ねーていぶふぁいるふぉーまっと, ne-teibufairufo-matto] native file format [Add to Longdo] |
ネイティブフォーマット | [ねいていぶふぉーまっと, neiteibufo-matto] native format [Add to Longdo] |
ネットワークプロトコルアドレス指定情報 | [ネットワークぷろとこるアドレスしていじょうほう, nettowa-ku purotokoru adoresu shiteijouhou] network protocol address information [Add to Longdo] |
ハートレー | [はーとれー, ha-tore-] Hartley, decimal unit of information content [Add to Longdo] |
ビット | [びっと, bitto] Shannon, binary unit of information content, bit, binary digit [Add to Longdo] |
ビューイング変換 | [びゅういんぐへんかん, byuuinguhenkan] normalization transformation, Viewing transformation, window-to-viewport transformation [Add to Longdo] |
ビュー変換入力優先度 | [ビューへんかんにゅうりょくゆうせんど, byu-henkannyuuryokuyuusendo] view transformation input priority [Add to Longdo] |
ファイルフォーマット | [ふぁいるふぉーまっと, fairufo-matto] file format [Add to Longdo] |
ファイル形式 | [ファイルけいしき, fairu keishiki] file format [Add to Longdo] |
フォーマッティング | [ふぉーまっていんぐ, fo-matteingu] formatting [Add to Longdo] |
フォーマット | [ふぉーまっと, fo-matto] format [Add to Longdo] |
フォーマティング | [ふぉーまていんぐ, fo-mateingu] formatting [Add to Longdo] |
フレーム間タイルフィル | [フレームかんたいるふいる, fure-mu kantairufuiru] information time fill [Add to Longdo] |
フレーム形式 | [フレームけいしき, fure-mu keishiki] frame format [Add to Longdo] |
マーケティング情報システム | [マーケティングじょうほうシステム, ma-keteingu jouhou shisutemu] Marketing Information System, MIS [Add to Longdo] |
ミス | [みす, misu] miss, Miss, myth, MIS (management information system) [Add to Longdo] |
モデリング変換 | [モデリングへんかん, moderingu henkan] modelling transformation [Add to Longdo] |
ユーザー情報 | [ユーザーじょうほう, yu-za-jouhou] user information [Add to Longdo] |
リリース情報 | [リリースじょうほう, riri-su jouhou] release notes, release information [Add to Longdo] |
ルーチング情報 | [ルーチングじょうほう, ru-chingu jouhou] routing information [Add to Longdo] |
ルーティング情報 | [ルーティングじょうほう, ru-teingu jouhou] routing information [Add to Longdo] |
レコード形式 | [レコードけいしき, reko-do keishiki] record format [Add to Longdo] |
ワークステーション変換 | [ワークステーションへんかん, wa-kusute-shon henkan] workstation transformation [Add to Longdo] |
遠隔保守システム | [えんかくほしゅシステム, enkakuhoshu shisutemu] ASSIST, Advanced Service Support Information System Technology [Add to Longdo] |
応用特有情報 | [おうようとくゆうじょうほう, ouyoutokuyuujouhou] application-specific information [Add to Longdo] |
課金情報 | [りょうきんじょうほう, ryoukinjouhou] billing information [Add to Longdo] |
課金情報 | [りょうきんじょうほう, ryoukinjouhou] accounting information [Add to Longdo] |
画像情報 | [がぞうじょうほう, gazoujouhou] image information, image data [Add to Longdo] |
拡張UEF | [かくちょうユーイーエフ, kakuchou yu-i-efu] Extended User Exchange Format [Add to Longdo] |
判 | [ばん, ban] (PAPIER)FORMAT [Add to Longdo] |
情報 | [じょうほう, jouhou] Information, Nachricht, Meldung [Add to Longdo] |
案内所 | [あんないじょ, annaijo] Auskunft, Information [Add to Longdo] |
筋 | [すじ, suji] -Muskel, -Sehne, -Ader, -Faser; -Linie; -Logik; Vernunft, Handlung (Roman), Quelle (einer Information) [Add to Longdo] |