index | (n) ดัชนี, See also: ดรรชนี, Syn. inventory, register, directory, list |
index | (n) ตัวชี้, See also: ตัววัด, ตัวบ่งชี้, Syn. indicator, pointer |
index | (vi) ทำดัชนี, Syn. reference, refer |
index | (vt) ทำดัชนี, Syn. reference, refer |
card index | (n) กล่องบรรจุบัตรข้อมูลที่เรียงลำดับตามตัวอักษร, Syn. card catalog |
price index | (n) ดรรชนีราคา, See also: ดรรชนีแสดงระดับการเปลี่ยนแปลงของสินค้ากับการบริการ, Syn. index |
thumb index | (n) ร่องเปิดหนังสือ, See also: ส่วนที่ตัดเป็นร่องที่ขอบหนังสือเพื่อใช้ในการค้นหาเนื้อหาที่ต้องการให้รวดเร็วขึ้น |
index finger | (n) นิ้วชี้, Syn. first finger, forefinger |
index-linked | (n) ซึ่งเพิ่มขึ้นตามค่าครองชีพ |
ach index | ดัชนีทางโภชนาการ |
index | (อิน' เดคซฺ) n. ดรรชนี, เครื่องชี้, เข็มชี้, นิ้วชี้, เลขกำลังในเครื่องหมายพีชคณิต, สารบัญสิ่งตีพิมพ์ที่ต้องห้ามในศาสนาโรมันคาทอลิก (Index Librorum Prohibitorum) , หนังสือหรือวัตถุที่ต้องห้าม, สารบัญ, คำนำ. -vt. จัดให้มีสารบัญ, จัดให้มีดรรชนี, ใส่ดรรชนี, เ |
index finger | นิ้วชี้, Syn. forefinger |
indexed file | แฟ้มดรรชนีหมายถึง แฟ้มพิเศษต่างหากที่บอกตำแหน่งที่อยู่ของระเบียนต่าง ๆ ที่เก็บ ไว้ในแฟ้มฐานข้อมูล (database file) การหาข้อมูลด้วยวิธีนี้ จะทำได้เร็วมาก |
indexed sequential access | วิธีการเข้าถึงลำดับดรรชนีใช้ตัวย่อว่า ISAM (อ่านว่า ไอแซม) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล |
price index | n. ดรรชนีราคา, ดรรชนีแสดงระดับการเปลี่ยนแปลงของสินค้ากับการบริการ |
index | (n) สารบัญ, เครื่องชี้, นิ้วชี้, เข็มชี้ |
index | (vt) ทำสารบัญ, เป็นเครื่องชี้ |
power index | ดัชนีอำนาจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plasticity index (PI) | ดรรชนีพลาสติก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
P.I. index | ดัชนีพีไอ [ มีความหมายเหมือนกับ Russell index ] [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
P.M.A. index | ดัชนีพีเอ็มเอ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Lloyd's Shipping Index | ข่าวสารการเดินเรือของสถาบันลอยด์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
law of exponents; exponential law; index law | กฎเลขชี้กำลัง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
Russell index | ดัชนีรัสเซลล์ [ มีความหมายเหมือนกับ P.I. index ] [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
remount index | ดัชนีสอบติดตั้ง [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
refractive index | ดรรชนีหักเห [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
replacement index | ดัชนีการแทนที่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
risk index | ดัชนีการเสี่ยงภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
situation index | ดัชนีสถานที่ตั้ง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
oral hygiene index | ดัชนีอนามัยช่องปาก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
antiknock index | ดรรชนีต้านการน็อก [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
antiknock index | ดรรชนีกันน็อก [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
alkali-lime index | ดรรชนีแอลคาไล-ไลม์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
marker bed; index bed; key bed; key horizon | ชั้นหินหลัก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
migration preference index | ดัชนีบุริมนิยมการย้ายถิ่น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
clearness index | ดรรชนีความใส [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
calculus index | ดัชนีหินน้ำลาย [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
comparative density index | ดัชนีความหนาแน่นเปรียบเทียบ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
comparative mortality index | ดัชนีภาวะการตายเปรียบเทียบ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
consumer price index | ดัชนีราคาผู้บริโภค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
case, index | ผู้ป่วยต้นปัญหา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
density index | ดัชนีความหนาแน่น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
gingival index | ดัชนีสภาพเหงือก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fixed-base index | ดรรชนีฐานตรึง, ดัชนีฐานตรึง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
efficiency index | ดัชนีประสิทธิภาพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
exponential law; index law; law of exponents | กฎเลขชี้กำลัง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
effectiveness index | ดัชนีประสิทธิผล [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
indices; index; indexes; indices (pl.) | ดัชนี, ดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
index contour | เส้นชั้นหลัก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
index file | แฟ้มเก็บดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
index fossil | ซากดึกดำบรรพ์ดรรชนี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
index law; exponential law; law of exponents | กฎเลขชี้กำลัง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
index mineral | แร่งดรรชนี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
index number | เลขดัชนี, เลขดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
index number | เลขดรรชนี, เลขดัชนี [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
index of age preference | ดัชนีบุริมนิยมอายุ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
index of migration differentials | ดัชนีผลต่างของการย้ายถิ่น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
index of migration effectiveness | ดัชนีประสิทธิผลของการย้ายถิ่น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
indices (pl.); index; indexes; indices | ดัชนี, ดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
indices (พหู.); index (เอก.); index (เอก.); indices (พหู.) | ดัชนี [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
indices (พหู.); index (เอก.); index (เอก.); indices (พหู.) | ดัชนี [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ISAM (indexed sequential access method) | ไอแซม (วิธีเข้าถึงลำดับดรรชนี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
index | ๑. นิ้วชี้ [ มีความหมายเหมือนกับ forefinger ]๒. ดรรชนี, ดัชนี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
index | ดัชนี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
index; indexes; indices; indices (pl.) | ดัชนี, ดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
index (เอก.); index (เอก.); indices (พหู.); indices (พหู.) | ดัชนี [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
index (เอก.); index (เอก.); indices (พหู.); indices (พหู.) | ดัชนี [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Index | ดัชนี [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Author index | ดัชนีผู้แต่ง [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Periodical index | ดรรชนีวารสาร [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Title index | ดรรชนีชื่อเรื่อง [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Thumb index | ดรรชนีหัวแม่มือ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Abstracting and indexing service | บริการสาระสังเขปและดัชนี, Example: <p>บริการสาระสังเขปและดัชนี เป็นบริการสารสนเทศประเภทหนึ่ง ที่ห้องสมุดหรือสถาบันบริการสารสนเทศจัดให้มีขึ้นเพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้บริการ <p>สาระสังเขปและดัชนี หมายถึง การย่อเนื้อหาหรือสาระสำคัญของเอกสารในรูปแบบที่สั้นและมีความถูกต้อง ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจ และได้เนื้อหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ สามารถวิเคราะห์เนื้อหาของเอกสารฉบับนั้นว่าตรงกับความต้องการหรือไม่ และมีความจำเป็นหรือไม่ที่ต้องไปอ่านเอกสารต้นฉบับนั้นอย่างละเอียดอีกครั้ง <p>ดัชนี (Index) หมายถึง คำ วลี ข้อความ หรือคำศัพท์ที่กำหนดขึ้น เพื่อใช้เป็นตัวแทนของสารสนเทศ เป็นเครื่องมือชี้นำผู้ใช้ไปยังข้อมูลหรือแหล่งข้อมูลตามที่ผู้ใช้ต้องการ <p>สาระสังเขปหรือบทคัดย่อ (Abstract) คือ เนื้อเรื่องย่อหรือสาระสำคัญที่เป็นตัวแทนของเอกสาร โดยมีรูปแบบที่สั้น กะทัดรัด และมีความถูกต้อง แม่นยำ สาระสังเขปจะมุ่งเน้นถึงสาระสำคัญตามลำดับเนื้อหาของเอกสารต้นฉบับ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นบทความจากเอกสารวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยเฉพาะสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายงานการศึกษาวิจัย รายงานการประชุมสัมมนา สิทธิบัตร ตลอดจนสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ที่มีความสำคัญและเข้าถึงได้ยาก สาระสังเขปจะต้องมีความครบถ้วนสมบูรณ์ในตัวเอง และให้รายละเอียดทางบรรณานุกรม เพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นคว้าจากเอกสารต้นฉบับได้ <p>ลักษณะของสาระสังเขปที่ดี คือ มีความสั้น กะทัดรัด กระชับ มีความถูกต้องแม่นยำ มีความชัดเจนและสมบูรณ์ในตัวเอง และมีการยึดถือข้อเท็จจริง โดยไม่เสนอความคิดเห็นส่วนตัวหรือประเมินคุณค่าในการทำสาระสังเขป ผู้เขียนต้องคัดเลือกหรือเรียบเรียงเนื้อหาสาระตามเอกสารต้นฉบับ <p>สาระสังเขปที่สมบูรณ์ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน คือ ส่วนอ้างอิง ส่วนเนื้อหา และส่วนชื่อผู้เขียนสาระสังเขป <p>ความสำคัญของสาระสังเขป คือ การช่วยเสริมให้ดัชนีและบรรณานุกรมมีคุณค่ามากขึ้น โดยการจัดทำสาระสังเขปไว้ที่ท้ายรายการข้อมูลทางบรรณานุกรมในแต่ละรายการ เป็นการเพิ่มเนื้อเรื่องย่อให้ผู้ใช้สามารถอ่านเพื่อพิจารณาตัดสินใจได้รวดเร็วขึ้น <p>สมาคมวิชาชีพที่จัดทำสาระสังเขปและดัชนี เช่น National Federation of Abstracting and Information Services (NFAIS), USA เป็นองค์กรรวมหน่วยงานที่ให้บริการจัดทำสาระสังเขปและดัชนี <P>ตัวอย่างสารสนเทศ ที่จัดอยู่ในบริการสาระสังเขปและดัชนี เช่น <p>1. วารสารสาระสังเขปทางเคมี : Chemical Abstract (CA) จัดทำโดย American Chemical Society (ACS), USA <p>2. ดัชนีทางด้านสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ : EI : Compendex (Engineering Index) จัดทำโดย American Society of Mechanical Engineers (ASME), USA <p>3. ดัชนีทางด้านสาขาวิชาแพทยศาสตร์ : Index Medicus จัดทำโดย National Library of Medicine (NLM), USA <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2546). เอกสารการสอนชุดวิชาการวิเคราะห์สารสนเทศ : Information analysis หน่วยที่ 12-15. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Author index | ดัชนีผู้แต่ง, Example: <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Author-Index1.jpg" alt="Author Index"> <p>เป็นการนำชื่อผู้แต่ง ซึ่งอาจเป็นชื่อบุคคล นิติบุคคล หรือ หน่วยงาน องค์กร สถาบัน ลงเป็นรายการหลัก จะปรากฏในดัชนีซึ่งแบ่งตามลักษณะของสิ่งพิมพ์ที่นำมาจัดทำดัชนี ได้แก่ ดัชนีวารสาร ดัชนีหนังสือพิมพ์ และดัชนีหนังสือท้ายเล่ม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Index | ดรรชนี หรือ ดัชนี, Example: ดรรชนี หรือ บัญชีค้นคำ (index) เป็นการนำหัวข้อย่อยๆ และคำบางคำ ที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง มาจัดเรียงตามลำดับอักษร แล้วกำกับด้วยเลขหน้าที่หัวข้อย่อย และคำบางคำนั้นปรากฏอยู่ เพื่อช่วยให้ผู้อ่าน ได้ค้นหาเรื่องราวไปยังข้อมูลและแหล่งข้อมูลได้ตามต้องการและรวดเร็วขึ้น และเป็นการควบคุมทางบรรณานุกรมสำหรับสารสนเทศในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งตามวัตถุประสงค์ของผู้จัดทำดรรชนี <p>โครงสร้างของดรรชนี ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน ดังนี้คือ <p>1. คำ กลุ่มคำ วลี ข้อความ ที่ใช้แทนเนื้อหา อาจเป็นคำที่ปรากฏอยู่ในเอกสาร เป็นคำที่ปรากฏใช้บ่อบในเอกสาร หรือเป็นคำศัพท์มาตรฐานที่นำมาจากคู่มือหัวเรื่อง หรือศัพท์สัมพันธ์ <p>2. ข้อมูลชี้แหล่งหรือตำแหน่งของสารสนเทศ เช่น ข้อมูลทางบรรณานุกรมของดรรชนีวารสาร ได้แ่ก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร ปีที่ ฉบับที่ วันเดือนปี และเลขหน้า เล่มที่ และหน้าที่ปรากฏเนื้อหา เป็นต้น <p>ประเภทของดรรชนี จำแนกได้ ดังนี้ <p>1. จำแนกตามทรัพยากรสารสนเทศที่นำมาจัดทำ 3 ประเภท คือ <p>1.1 ดรรชนีวารสาร (Periodical index) <p>1.2 ดรรชนีหนังสือพิมพ์ (Newsapers index) <p>1.3. ดรรชนีหนังสือเล่ม (Book index) <p>2. จำแนกตามวิธีการจัดทำ แบ่งเป็น <p>2.1 ดรรชนีที่ทำด้วยระบบมือ (Manual system) จำแนกเป็น ใช้วิธีค้นคำหรือกลุ่มคำจากเอกสารตามที่ปรากฏ หรือการกำหนดคำหรือวลีซึ่งใช้เป็นตัวแทนเนื้อหา ได้แก่ ภาษาดรรชนี เช่น หัวเรื่อง ศััพท์สัมพันธ์ <p>2.2 ดรรชนีที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยกำหนดให้คอมพิวเตอร์ดึงคำ วลี หรือกลุ่มคำจากเอกสาร <p>3. จำแนกตามองค์ประกอบหรือลักษณะของดรรชนี มีรายละเอียด ดังนี้ <p>3.1 มีข้อมูลตัวแทน ข้อมูลระบุลักษณะ และข้อมูลชี้แหล่ง เช่น ดรรชนีวารสาร จะระบุคำหัวเรื่องซึ่งเป็นตัวแทนเนื้อหา ระบุชื่อผู้เขียนบทความ ชื่อบทความ ซึ่งเป็นข้อม฿ูลระบุลักษณะ และระบุข้อมูลชี้แหล่ง คือ ชื่อวารสาร วันเดือนปี และเลขหน้าที่เรื่องนั้นๆ ปรากฏ <p>3.2 มีข้อมูลตัวแทนและข้อมูลชี้แหล่ง แต่ไมีมีข้อมูลระบุลักษณะ ได้แก่ ดรรชนีท้ายเล่มหนังสือ ซึ่งมีตำ หรือวลี เป็นข้อมูลตัวแทนเนื้อหา และระบุเลขหน้าที่คำนั้นๆ ปรากฏ <p>3.3 มีข้อมูลตัวแทนและข้อมูลระบุลักษณะ แต่อาจมีหรือไม่มีข้อมูลชี้แหล่ง เช่น ดรรชนีควิก (Kwic index) และดรรชนีควอก (Wkoc index) <p>4. จำแนกตามแหล่งที่อยู่ของดรรชนี ได้แก่ <p>4.1 ดรรชนีที่อยู่กับแหล่งสารสนเทศ ได้แก่ ท้ายเล่มหนังสือ (Book index) ประกอบด้วย ดรรชนีชื่อผู้แต่ง ดรรชนีชื่อเรื่อง ดรรชนีหัวเรื่อง และดรรชนีคำสำคัญ <p>4.2 ดรรชนีที่อยู่ต่างหาก (Independent index) เช่น ดรรชนีในรูปบัตร รูปเล่ม และฐานข้อมูลดรรชนี เช่น ดรรชนีวารสารและหนังสือพิมพ์ ฐานข้อมูลสำเร็จรูปต่างๆ เช่น ERIC, DAO เป็นต้น และรายการในบัตรรายการประเภทต่างๆ เป็นต้น <p>รายการอ้าอิง: <p>ทัศนา หาญพล. "การทำดรรชนี" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ หน้า 224-248. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Indexing | การทำดรรชนี, Example: <p>การทำดัชนี Indexing <p>การจัดทำดรรชนี (Indexing) เป็นกระบวนการวิเคราะห์เนื้อหาของความรู้ โดยนำเอาเนื้อหาสำคัญและแนวคิด (concept) ที่ได้จากความรู้นั้นมาจัดทำเป็นภาษาในระบบการจัดทำดรรชนี และนำมาจัดเรียงตามลำดับอักษร เพื่อสะดวกในการค้นหาเรื่องที่ต้องการ ดรรชนีช่วยผู้ใช้ให้เข้าถึงสารนิเทศที่ต้องการได้อย่างสมบูรณ์ ดรรชนีเป็นเครื่องมือที่มีการสร้างไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่เนื้อหาของหัวข้อ เรื่องที่ผู้ใช้ต้องการ หรือชี้แนะไปยังแหล่งสารนิเทศที่มีเอกสารที่ต้องการ มีส่วนประกอบสำคัญคือ <p>1 คำสำคัญ (Keyword / descriptor) เป็นคำที่ใช้แทนสาระของเอกสาร <p>2 รายการทางบรรณานุกรม (Bibliographic description) แสดงถึงลักษณะทางกายภาพของเอกสารพร้อมด้วยรหัสของเอกสาร เพื่อแสดงแหล่งที่ปรากฎของสารนิเทศ <p>คุณลักษณะของเนื้อหาที่จำเป็นสำหรับการจัดทำดรรชนี <p>1 เลขหมู่หนังสือ (Classification code) <p> 2 หัวเรื่อง (Subject headings) <p>บรรณานุกรม : เพชราภรณ์ จันทรสูตร์, ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนำดรรชนีและสาระสังเขป กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Indexer | ผู้ทำดรรชนี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Periodical index | ดรรชนีวารสาร, Example: <p>ดรรชนีวารสาร (Periodical Index) เป็นดรรชนีที่จำแนกตามลักษณะของทรัพยากรสารสนเทศ จัดทำขึ้นเพื่อนำผู้ใช้ไปยังวารสารที่มีบทความนั้นๆ ปรากฏอยู่ ดรรชนีวารสารจำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ <p>1. ใช้้ค้นบทความทั่วๆ ไป ที่ลงในวารสารต่างๆ ไม่เจาะจงชื่อวารสารชื่อใดชื่อหนึ่ง เช่น Reader's Guide to Periodical Literature ซึ่งเป็นดรรชนีวารสาร นิตยสาร วารสารทางวิชาการ จัดทำขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1901 โดย H.W. Wilson Company <p>ตัวอย่าง Reader's Guide to Periodical Literature <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Readers-Guide.jpg" alt="Readers' Guide to Periodical Literature"> <p>วิธีการใช้ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Sample-Readers-Guide.jpg" width="640" higth="200" alt="How to Use Readers' Guide to Periodical Literature"> <p>ปัจจุบันได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งเป็น 2 ฐานข้อมูล คือ Readers' Guide to Periodical Literature ซึ่งครอบคลุมข้อมูลตั้งแต่ปี 1983 ถึงปัจจุบัน (http://www.ebscohost.com/academic/readers-guide-to-periodical-literature) และ Readers' Guide Retrospective: 1890-1982 ครอบคลุมข้อมูลของปี 1890-1982 (http://www.ebscohost.com/academic/readers-guide-retrospective) <p>2. ใช้ค้นเรื่องที่ลงในวารสารชื่อเรื่องใดชื่อเรื่องหนึ่ง อาจเป็นสำนักพิมพ์ที่จัดพิมพ์วารสารนั้นๆ จัดทำขึ้น เช่น ดรรชนีราชกิจจาบุเบกษา <p>3. ใช้ค้นเรื่องในสาขาเฉพาะที่ตีพิมพ์ในวารสาร เช่น Applied Science & Technology Index ปัจจุบันได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ โดย EBSCO <p>รายการอ้างอิง: <p>ทัศนา หาญพล. "การทำดรรชนี" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ หน้า 224-248. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. <p>City College of San Francisco. Finding Periodical Articles Using Print Indexes. Available: http://www.ccsf.edu/Librar/printindexes.pdf. Accessed: 20120416. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Relative index | ดรรชนีสัมพันธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Thumb index | ดรรชนีหัวแม่มือ, ดรรชนีริมกระดาษ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Title index | ดรรชนีชื่อเรื่อง, Example: <p>เป็นการทำดรรชนีโดยการนำชื่อเรื่องของหนังสือ บทความ และเอกสารอื่นๆ มาลงรายการดรรชนีเป็นรายการหลัก และปรากฏอยู่ที่ท้ายเล่มของดรรชนีของหนังสือ ดรรชนีวารสาร และดรรชนีหนังสือพิมพ์ หรือปัจจุบันมีการทำดรรชนีชื่อเรื่องให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ตด้วย <p>ตัวอย่าง ดรรชนีชื่อเรื่อง ของวารสารประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p><p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Pop-Ti-Index.jpg" width="640" higth="200" alt="Population Science Title Index"> <p>ตัวอย่าง การให้บริการดรรชนีชื่อเรื่องทางอินเทอร์เน็ตของ TDRI <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-TDRI-Ti2.jpg" width="640" higth="200" alt="TDRI Title Index"> <p>การทำดรรชนีชื่อเรื่องเป็นลักษณะฐานข้อมูลและให้บริการทางอินเทอร์เน็ตนั้น เอื้ออำนวยเป็นอย่างมากในการเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลโดยตรง <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-TDRI-Ti-Full-Text.jpg" width="640" higth="200" alt="TDRI Title Index Full Text"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Consumer price index | ดัชนีราคาผู้บริโภค [เศรษฐศาสตร์] |
Cost of living index | ดัชนีค่าครองชีพ [เศรษฐศาสตร์] |
Indexation | การปรับค่าตามดัชนีราคา [เศรษฐศาสตร์] |
Index fund | กองทุนรวมดัชนี, Example: กองทุนรวมที่มีนโยบายสร้างผลตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนตามการเคลื่อนไหวของดัชนีราคาหลักทรัพย์ที่ระบุไว้ในโครงการจัดการกองทุนรวม โดยดัชนีราคาหลักทรัพย์ดังกล่าวต้องได้รับการยอมรับจากสำนักงาน ก.ล.ต. [ตลาดทุน] |
Stock price index | ดัชนีราคาหลักทรัพย์, Example: ผู้ลงทุนสามารถติดตามภาพรวมความเคลื่อนไหวของระดับราคาซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ไทย และตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai) ได้จากดัชนีราคาหุ้นต่าง ๆ โดยดัชนีที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในตลาดหลักทรัพย์ไทย เป็นดัชนีราคาหุ้นชนิดถ่วงน้ำหนักด้วยมูลค่าตลาด (Market Capitalization Weighted Index) ที่คำนวณโดยการเปรียบเทียบมูลค่าตลาดรวมของหลักทรัพย์ในวันปัจจุบัน (Current Market Value) กับมูลค่าตลาดรวมของหลักทรัพย์ในวันฐาน (Base Market Value) ซึ่งมีค่าของดัชนีราคาหุ้นในวันฐานเท่ากับ 100 และมีสูตรการคำนวณดังนี้ ดัชนีราคาหุ้น =$ \frac{ มูลค่าตลาดรวม ณ วันปัจจุบัน (Current Market Value)X 100 }{ มูลค่าตลาดรวม ณ วันฐาน (Base Market Value) }$ [ตลาดทุน] |
SET Index | ดัชนีราคาหุ้นตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, Example: ดัชนีราคาหุ้นประเภทที่คำนวณถัวเฉลี่ยราคาหุ้นสามัญแบบถ่วงน้ำหนักด้วยจำนวนหุ้นจดทะเบียน เป็นดัชนีที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยคำนวณขึ้น โดยใช้หุ้นสามัญจดทะเบียนทุกตัวในตลาดหลักทรัพย์ในการคำนวณสูตรการคำนวณเป็นดังนี้ SET Index <br>= $ \frac{ ค่าเฉลี่ย (ถ่วงน้ำหนัก) ของราคาหุ้นสามัญทุกตัวในตลาดหลักทรัพย์ ณ วันปัจจุบัน x 100 }{ ค่าเฉลี่ย (ถ่วงน้ำหนัก) ของราคาหุ้นสามัญทุกตัวข้างต้น ณ 30 เม.ย. 2518 }$</br> <br>= มูลค่าตลาดโดยรวมของหุ้นสามัญจดทะเบียนทุกตัว ณ วันปัจจุบัน x 100 / มูลค่าตลาดโดยรวมของหุ้นสามัญข้างต้น ณ 30 เม.ย.2518</br> <br>ดัชนีราคาหุ้นตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแสดงมูลค่าเฉลี่ยของหุ้นสามัญทั้งหมดในตลาดหลักทรัพย์ ณ วันปัจจุบัน เทียบกับมูลค่าเฉลี่ยของหุ้นดังกล่าว ณ วันฐาน ค่าเปลี่ยนแปลงของดัชนีนี้จึงแสดงถึงระดับการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าหุ้นสามัญทั้งหมดในตลาดหลักทรัพย์ด้วย</br> [ตลาดทุน] |
SET 50 Index | ดัชนีเซท 50, ดัชนีราคาหุ้น, Example: เป็นดัชนีราคาหุ้นที่ตลาดหลักทรัพย์จัดทำขึ้นอีกตัวหนึ่ง เพื่อใช้แสดงระดับและความเคลื่อนไหวของราคาหุ้นสามัญ 50 ตัวที่มีมูลค่าตลาดสูงและการซื้อขายมีสภาพคล่องสูงอย่างสม่ำเสมอ สูตรและวิธีการคำนวณเป็นเช่นเดียวกับการคำนวณ SET Index แต่ใช้วันที่ 16 สิงหาคม 2538 เป็นวันฐาน [ตลาดทุน] |
SET 100 Index | ดัชนีเซท 100, ดัชนีราคาหุ้น, Example: เป็นดัชนีราคาหุ้นที่จัดทำขึ้น เพื่อสะท้อนภาพรวมการเคลื่อนไหวของหลักทรัพย์จดทะเบียนที่เป็นกิจการขนาดใหญ่ถึงขนาดกลาง จำนวน 100 หลักทรัพย์ ที่มีสภาพคล่องและการกระจายหุ้นที่เหมาะสม ทั้งนี้ การคำนวณ SET100 Index ใช้วิธีเดียวกับ SET50 Index [ตลาดทุน] |
MAI Index | ดัชนีราคาหุ้นตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ, Example: ดัชนีราคาหุ้นที่คำนวณโดยใช้หุ้นสามัญจดทะเบียนทุกหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ และใช้วันที่ 2 กันยายน 2545 เป็นวันฐาน mai Index แสดงถึงระดับราคาโดยเฉลี่ยของหุ้นสามัญทั้งหมดในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ณ วันปัจจุบันเมื่อเทียบกับวันฐาน [ตลาดทุน] |
Sectoral index | ดัชนีราคาหุ้นกลุ่มอุตสาหกรรม, Example: ดัชนีราคาหุ้นของแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรม ดัชนีราคาหุ้นกลุ่มอุตสาหกรรมใดจะใช้ราคาหุ้นสามัญทุกตัวที่จัดอยู่ใน กลุ่มอุตสาหกรรมนั้นในการคำนวณ เช่น ดัชนีราคาหุ้นกลุ่มธนาคาร คำนวณขึ้นโดยใช้ราคาหุ้นสามัญทุกสถาบันในกลุ่มธนาคาร เป็นต้น ในปัจจุบันนี้ ตลาดหลักทรัพย์จัดหุ้นสามัญจดทะเบียนทั้งหมดกระจายอยู่ใน 30 กลุ่มอุตสาหกรรม และได้คำนวณดัชนี ราคาหุ้นกลุ่มอุตสาหกรรมทั้ง 30 กลุ่ม เป็นรายกลุ่มด้วย [ตลาดทุน] |
Stock index options | ตราสารสิทธิที่จะซื้อหรือขายดัชนีราคาหุ้น, Example: เป็น options ที่ให้สิทธิแก่ผู้ถือที่จะซื้อหรือขายกลุ่มหุ้นที่เป็นองค์ประกอบในการคำนวณดัชนีราคาหุ้นกับผู้ขาย options ในตราสาร options จะต้องระบุว่าให้สิทธิผู้ถือซื้อ (call) หรือให้สิทธิขาย (put) ให้ใช้สิทธิได้ทุกวันหรือให้ใช้สิทธิในวันที่ ครบกำหนด อีกทั้งต้องระบุถึงดัชนีราคาหุ้นที่ใช้อ้างอิง มูลค่าตัวคูณที่ใช้แปลงค่า 1 หน่วยดัชนีเป็นจำนวนเงิน ระดับดัชนีที่ถือเป็น ราคาให้ใช้สิทธิ (exercise price) เดือนหมดอายุของตราสาร (มักกำหนดเดือนปัจจุบันและเดือนถัดไปต่อเนื่องกัน 3 ถึง 4 เดือน เป็นต้น) และวิธีการส่งมอบเมื่อมีการใช้สิทธิซึ่งจะให้ส่งมอบเป็นเงินสดตามผลต่างของระดับดัชนีบน options กับระดับดัชนีที่ ใช้อ้างอิง ณ วันใช้สิทธิ stock index options เป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่ผู้เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลักทรัพย์และเกี่ยวข้องกับการลงทุนในหลัก ทรัพย์นิยมใช้ปกป้องความเสี่ยงจากความผันผวนของภาวะตลาดหลักทรัพย์ การให้ซื้อขายตราสารนี้ยังเป็นการเพิ่มช่องทางลงทุนในตลาดทุน และสร้างโอกาสให้มีการทำ arbitrage มาช่วยให้กลไกตลาดมีประสิทธิภาพในการสะท้อนปัจจัยพื้นฐานได้ดีขึ้น [ตลาดทุน] |
Stock index futures | สัญญาซื้อขายดัชนีราคาหุ้นล่วงหน้า, Example: สัญญาซื้อขายกลุ่มหุ้นที่เป็นองค์ประกอบในการคำนวณดัชนีราคาหุ้นโดยกำหนดให้ส่งมอบกันในอนาคต ใน Stock Index Futures จะต้องระบุดัชนีราคาหุ้นที่ใช้อ้างอิง มูลค่าของ 1 สัญญาซื้อขาย (หมายถึงตัวคูณที่แปลงค่า 1 หน่วยดัชนี เป็นจำนวนเงิน เช่น ตัวคูณของ S&P 500 Futures เท่ากับ $500 เป็นต้น) เดือนกำหนดส่งมอบ (มักกำหนดเป็นเดือนมี.ค., มิ.ย., ก.ย., และ ธ.ค.) และวิธีการส่งมอบ ซึ่งจะกำหนดให้ส่งมอบกันด้วยเงินสด ตามผลต่างของระดับดัชนีที่ซื้อกับที่ขาย (ถ้าเป็นกรณี รอถึงกำหนดส่งมอบจะคิดจากผลต่างของระดับดัชนีที่ซื้อ (หรือที่ขาย) กับระดับดัชนีที่ใช้อ้างอิง ณ วันส่งมอบ) Stock Index Futures เป็นเครื่องมือที่ผู้ลงทุนในหลักทรัพย์ (ทั้งบุคคลธรรมดาและสถาบัน) และผู้ทำธุรกิจหลักทรัพย์ใช้ปกป้องและบริหารความเสี่ยงจากความผันผวนของภาวะตลาดหลักทรัพย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ผู้ลงทุนมีช่อง ทางลงทุนเพิ่มขึ้น และช่วยให้กลไกราคาในตลาดหลักทรัพย์สะท้อนถึงปัจจัยพื้นฐานได้ดียิ่งขึ้น เนื่องจากการที่สามารถกระทำ Arbitrage จากผลต่างที่ผิดปกติระหว่างระดับดัชนีในตลาดหลักทรัพย์กับระดับดัชนีในการซื้อขาย Stock Index Futures ซึ่งการทำ Arbitrage จะผลักดันให้ราคาที่ผิดปกติกลับสู่ระดับตามปัจจัยพื้นฐานได้เร็วขึ้น [ตลาดทุน] |
Automatic indexing | การทำดัชนีอัตโนมัติ [TU Subject Heading] |
Body mass index | ดัชนีมวลกาย [TU Subject Heading] |
Consumer price indexes | ดัชนีราคาผู้บริโภค [TU Subject Heading] |
Index numbers (Economics) | เลขดัชนี [TU Subject Heading] |
Indexes | ดัชนี [TU Subject Heading] |
Indexing | การทำดัชนี [TU Subject Heading] |
Inflation-indexed bonds | พันธบัตรที่มีการปรับชดเชยอัตราเงินเฟ้อ [TU Subject Heading] |
Thumb index | ดรรชนีริมกระดาษ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Oral hygiene index | ดัชนีอนามัยช่องปาก [TU Subject Heading] |
Oxygen index of materials | ดัชนีออกซิเจนของวัสดุ [TU Subject Heading] |
Price indexes | ดัชนีราคา [TU Subject Heading] |
Refractive index | ดัชนีหักเห [TU Subject Heading] |
Stock index futures | สัญญาซื้อขายดัชนีหุ้นล่วงหน้า [TU Subject Heading] |
Stock price indexes | ดัชนีราคาหุ้น [TU Subject Heading] |
Wholesale price indexes | ดัชนีราคาขายส่ง [TU Subject Heading] |
Comparative Mortality Index | ดัชนีเปรียบเทียบภาวะการตาย, Example: เป็นดัชนีที่ใช้เปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม ประชากร โดยปรับมาตรฐานเพื่อขจัดผลจากความแตกต่างของ โครงสร้างประชากรออก ดัชนีนี้หาได้โดยใช้อัตราภาวะการตายมาตรฐาน (standard mortality rates) คูณกับประชากรในกลุ่มอายุต่างๆ ของประชากรที่เราศึกษาและบวกค่าผลคูญที่ได้เข้าด้วยกัน ก็จะเป็นจำนวนการตายที่คาดหวัง จากนั้นจึงคำนวณดัชนีดังกล่าวโดยเปรียบเทียบระหว่างการตายที่เกิดขึ้นจริง (observed deaths) กับจำนวนการตามที่คาดหวัง (expected death) ซึ่งได้จากการใช้อัตรามาตรฐาน [สิ่งแวดล้อม] |
Erosion Index | ดัชนีการกร่อน, Example: ค่าแสดงศักยภาพของฝนที่ทำให้ผิวหน้าดินกร่อนไป คำนวณได้จากพลังงานการตกกระทบ ของเม็ดฝนกับปริมาณฝนแต่ละครั้ง [สิ่งแวดล้อม] |
Intensity, Migration, Index of | ดัชนีความเข้มของการย้ายถิ่น, Example: คำนวณได้โดยนำเอาจำนวนผู้ย้ายถิ่น จากพื้นที่ ก ไปยังพื้นที่ ข เป็นตัวตั้ง แล้วหารด้วยผลคูณของจำนวนประชากรในพื้นที่ ข เมื่อสิ้นช่วงเวลาที่ศึกษา และจำนวนประชากรในพื้นที่ ก เมื่อเริ่มต้นช่วงเวลาที่ศึกษา ซึ่งยังมีชีวิตอยู่ จนกระทั่งถึงเมื่อสิ้นช่วงเวลาที่ศึกษา [สิ่งแวดล้อม] |
Index of Net Velocity | ดัชนีความผันเวียนสุทธิ, Example: กระแสการย้ายถิ่นสุทธิหารด้วยอัตราส่วน ของจำนวนผู้ย้ายถิ่นทั้งหมดต่อกำลังสองของประชากรทั้งประเทศ [สิ่งแวดล้อม] |
Migration Preference Index | ดัชนีความพอใจการย้ายถิ่น, Example: เอาจำนวนผู้ย้ายถิ่นจากพื้นที่ ก ไปยังพื้นที่ ข เป็นตัวตั้ง หารด้วย อัตราส่วนของจำนวน ผู้ย้ายถิ่นทั้งหมดต่อกำลังสองของประชากรทั้งประเทศ [สิ่งแวดล้อม] |
Leachability Index | ดัชนีความสามารถชะละลาย, Example: ค่าดัชนีความสามารถชะละลายเป็นค่าไม่มีหน่วย โดยเกิดจากการทดสอบ การชะละลายของของแข็งที่มีของเสียประกอบอยู่ [สิ่งแวดล้อม] |
Density Index | ดัชนีความหนาแน่น, Example: เป็นดัชนีที่ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ประชากรกับพื้นที่ที่ประชากรอาศัยอยู่ คำนวณได้จากจำนวน ประชากรทั้งหมดหารด้วยจำนวนพื้นที่ที่ประชากรนั้นอาศัยอยู่ [สิ่งแวดล้อม] |
Comparative Density Index | ดัชนีความหนาแน่นเปรียบเทียบ, Example: เป็นดัชนีที่ใช้ในการเปรียบเทียบแบบแผนการ ตั้งถิ่นฐานของประชากรหลายกลุ่ม ดัชนีนี้มีหลายตัว เช่น ความหนาแน่นของ ประชากรต่อหน่วยพื้นที่ที่สามารถเพาะปลูกได้ (density of population per unit of cultivable area) ความหนาแน่นของเกษตรกรต่อพื้นที่ที่สามารถ เพาะปลูกได้ (Density of agricultural popultion per cultivable area) [สิ่งแวดล้อม] |
Sludge Density Index | ดัชนีความหนาแน่นสลัดจ์, Example: ส่วนกลับของดัชนีปริมาตรสลัดจ์ (SVI) คูณด้วย 100 [สิ่งแวดล้อม] |
INDEX 1. REVISION CHART ............................................................ | (n) INDEX 1. REVISION CHART ................................................................................................................................................. 3 2. INTRODUCTION .................................................................................................................................................... 4 3. LOGIN ...................................................................................................................................................................... 5 4. SALE FRONT END ................................................................................................................................................ 6 5. ARCHIVES .............................................................................................................................................................. 8 5.1. PRICELIST ........................................................................................................................................................ 8 5.1.1. Department programming .................................................................................................................. 8 5.1.2. Items .................................................................................................................................................... 10 5.1.3. Cover charge ...................................................................................................................................... 12 5.1.4. Variants programming ....................................................................................................................... 13 5.1.5. Favourites programming .................................................................................................................. 14 5.2. CUSTOMERS PROGRAMMING ......................................................................................................................... 14 5.2.1. Customer Recall ................................................................................................................................ 15 5.2.2. Customer history ............................................................................................................................... 15 5.2.3. Pending documents archive ............................................................................................................. 16 5.2.4. Receipt suspension for summary invoice ...................................................................................... 16 5.2.5. Issue of an unpaid receipt ................................................................................................................ 17 5.2.6. Summary invoice ............................................................................................................................... 17 5.3. FOOD STAMPS ................................................................................................................................................ 17 5.3.1. New issuer Company ........................................................................................................................ 18 5.3.2. Food Stamps denomination programming ..................................................................................... 19 5.3.3. Food Stamps balance ....................................................................................................................... 19 5.3.4. Food Stamps total management ..................................................................................................... 20 5.3.5. Food Stamps modifications .............................................................................................................. 20 5.3.6. Food Stamps invoicing ...................................................................................................................... 21 5.4. WAREHOUSE .................................................................................................................................................. 22 5.4.1. Create a recipe .................................................................................................................................. 22 5.4.2. Management of the warehouse variations ..................................................................................... 24 5.4.3. Direct association with the warehouse ........................................................................................... 24 5.4.4. Management stock warning ............................................................................................................. 24 5.5. DATABASES MANAGEMENT ............................................................................................................................ 25 6. CONFIGURATION ............................................................................................................................................... 27 6.1. OPERATORS PROGRAMMING ......................................................................................................................... 27 6.2. PRINTER PROGRAMMING ............................................................................................................................... 28 6.3. CASH REGISTER PROGRAMMING ................................................................................................................... 30 6.3.1. Header and footer ............................................................................................................................. 30 6.3.2. Programming VAT groups ................................................................................................................ 30 6.3.3. Tender programming ......................................................................................................................... 31 6.3.4. Currency programming ..................................................................................................................... 31 6.3.5. Taxes settings programming ............................................................................................................ 33 7. TABLES ................................................................................................................................................................. 34 7.1. OTHER PROGRAMMING .................................................................................................................................. 35 7.1.1. Appearance ........................................................................................................................................ 35 7.1.2. Setting programming ......................................................................................................................... 36 7.1.3. Phases names ................................................................................................................................... 38 7.1.4. Messages ........................................................................................................................................... 39 8. STATISTIC CHART .............................................................................................................................................. 40 9. DOCUMENTS ....................................................................................................................................................... 43 |
บัตรรายการ | (n) catalogue card, See also: card index (library), Example: นักศึกษาสามารถค้นหนังสือได้จากบัตรรายการในห้องสมุด |
สิ่งชี้นำ | (n) pointer, See also: indicator, index, guide, Syn. เครื่องบ่งชี้, เครื่องชี้ |
เครื่องบ่งชี้ | (n) indicator, See also: pointer, gauge, index, mark, signal, sign, guide, Syn. ตัวบ่งชี้, สิ่งชี้นำ, Example: แกลเลอรี่ที่ตั้งขึ้นโดยเอกชนในเมืองเชียงใหม่นั้นเป็นเครื่องบ่งชี้ให้เห็นกระแสความต้องการศิลปะของผู้คนบางกลุ่ม |
เครื่องบ่งบอก | (n) indicator, See also: index, guide, pointer, Syn. เครื่องชี้นำ, สิ่งชี้นำ |
เครื่องชี้ | (n) pointer, See also: indicator, index, guide, Syn. เครื่องบ่งชี้, สิ่งชี้นำ, Example: การประปาใช้มาตรวัดน้ำเป็นเครื่องชี้สำหรับการเก็บเงินค่าใช้น้ำของแต่ละบ้าน |
อักขรานุกรม | (n) alphabetic index, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: หนังสือสำหรับค้นชื่อเรียงลำดับตามตัวอักษร |
สารบัญ | (n) table of contents, See also: content, index, Syn. สารบาญ, Example: การหาเรื่องที่ตนต้องการอ่านด้วยวิธีที่เร็วที่สุดคือเปิดดูที่สารบัญ, Thai Definition: รายชื่อเรื่อง, บัญชีเรื่องต่างๆ |
ดรรชนี | (n) index, Syn. ดัชนี, Example: เวลาเราค้นหนังสือ เราสามารถค้นได้ทั้งดรรชนีผู้แต่ง ดรรชนีชื่อเรื่อง หรือดรรชนีหัวเรื่อง, Thai Definition: บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้นๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ดรรชนี | (n) index, See also: list, Syn. ดัชนี, Thai Definition: ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ดรรชนี | (n) index finger, See also: forefinger, Syn. นิ้วชี้, Example: อิงอรเป็นผู้แต่งเรื่องดรรชนีนาง, Count Unit: นิ้ว, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ดรรชนีหักเห | (n) refractive index, See also: index of refraction, Syn. ดัชนีหักเห, Example: เมื่อเขาโยนลูกบอลกระดอนแตะพื้นไปยังกำแพง ดรรชนีหักเหจะเป็นเท่าไร, Thai Definition: ดรรชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง |
ดรรชนี | (n) index, Syn. ดัชนี, Example: เวลาเราค้นหนังสือ เราสามารถค้นได้ทั้งดรรชนีผู้แต่ง ดรรชนีชื่อเรื่อง หรือดรรชนีหัวเรื่อง, Thai Definition: บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้นๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ดรรชนี | (n) index number, Syn. ดัชนี, Thai Definition: ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ดรรชนี | (n) index finger, See also: forefinger, second finger, Syn. นิ้วชี้, ดัชนี, Example: อิงอรเป็นผู้แต่งเรื่องดรรชนีนาง, Count Unit: นิ้ว, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ดรรชนีหักเห | (n) refractive index, See also: index of refraction, Syn. ดัชนีหักเห, Example: เมื่อเขาโยนลูกบอลกระดอนแตะพื้นไปยังกำแพง ดรรชนีหักเหจะเป็นเท่าไร, Thai Definition: ดรรชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง |
ดัชนี | (n) forefinger, See also: index finger, Syn. นิ้วชี้, ดรรชนี, Example: ลักษณะจีบนิ้วคือพระดัชนี(นิ้วชี้)กับพระอังคุฐ(นิ้วหัวแม่มือ)จดกันเป็นวง |
ดัชนี | (n) index, Syn. สารบาญ, รายการ, ทะเบียน, ดรรชนี, ระเบียน, Example: แฟ้มแบบนี้เหมาะสำหรับใช้ทำตารางรหัสหรือทำตัวดัชนีเพื่อการค้นหา, Thai Definition: บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้นๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น |
ดัชนี | (n) index, Example: ดัชนีของการพัฒนามนุษย์ต้องดูที่รายได้ของครอบครัวแต่ละครอบครัว, Thai Definition: ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง เช่น ดัชนีค่าครองชีพ |
ดัชนี | (n) index number, Syn. เลขดัชนี, Thai Definition: จำนวนที่เขียนไว้บนมุมขวาของอีกจำนวนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ฐาน เพื่อแสดงการยกกำลังของฐานนั้น เช่น 322 เป็นดัชนีของ 3 |
อักขรานุกรม | [akkharānukrom] (n) EN: alphabetical order ; alphabetic index FR: ordre alphabétique [ m ] ; index alphabétique [ m ] |
บัตรรายการ | [bat rāikān] (n, exp) EN: catalogue card ; index card |
บัตรเรียงอักษร | [bat rīeng aksøn] (n, exp) EN: card index FR: fichier de cartes [ m ] |
ดรรชนี = ดัชนี | [datchanī] (n) EN: index ; rate ; list FR: index [ m ] ; indice [ m ] ; taux [ m ] ; liste [ f ] |
ดรรชนี = ดัชนี | [datchanī] (n) EN: index finger ; forefinger FR: index [ m ] |
ดรรชนีชื่อหนังสือ | [datchanī cheū nangseū] (n, exp) EN: title index FR: bibliographie [ f ] |
ดรรชนีชื่อผู้แต่ง | [datchanī cheū phūtaeng] (n, exp) EN: author index FR: index des auteurs [ m ] |
ดรรชนีหักเห | [datchanī hakhē] (n, exp) EN: refractive index |
ดัชนีหุ้น | [datchanī hun] (n, exp) EN: share index |
ดัชนีค่าครองชีพ | [datchanī khā khrøngchīp] (n, exp) EN: cost of living index |
ดรรชนีค้นคำ | [datchanī khon kham] (n, exp) EN: index FR: index [ m ] |
ดรรชนีค้นเรื่อง | [datchanī khon reūang] (n, exp) EN: subject index |
ดัชนีมวลร่างกาย | [datchanī mūan rāngkāi] (n, prop) EN: Body Mass Index (BMI) FR: indice de masse corporelle [ m ] |
ดรรชนีผู้แต่ง | [datchanī phūtaeng] (n, exp) EN: author index FR: index des auteurs [ m ] |
ดัชนีราคา = ดรรชนีราคา | [datchanī rākhā] (n, exp) EN: price index |
ดัชนีราคาหุ้น | [datchanī rākhā hun] (n, exp) EN: share index |
ดรรชนีวารสาร | [datchanī wārasān] (n, exp) EN: periodical index |
เครื่องชี้นำ | [khreūang chīnam] (n, exp) EN: indicator ; guide ; index |
เลขชี้กำลัง | [lēkchīkamlang] (n) EN: exponent ; index ; exponential notation FR: exposant [ m ] |
เลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน | [lēkchīkamlang pen sētsuan] (n, exp) EN: fractional index ; fractional exponent |
นิ้วชี้ | [niū chī] (n) EN: index finger FR: index [ m ] |
สัญกรณ์เลขชี้กำลัง | [sanyakōn lēkchīkamlang] (n, exp) EN: index notation |
สารบัญ | [sāraban] (n) EN: table of contents ; content ; index FR: table des matières [ f ] ; sommaire [ m ] ; index [ m ] |
สารบาญ | [sārabān] (n) EN: table of contents ; contents ; index FR: table des matières [ f ] ; sommaire [ m ] ; index [ m ] |
สารบัญแผนที่ | [sāraban phaēnthī] (n, exp) FR: index des cartes [ m ] |
ตัวบ่งชี้ | [tūabongchī] (n) EN: index |
index | |
index's | |
indexed | |
indexer | |
indexes | |
indexers | |
indexing | |
indexation | |
poindexter | |
poindexter's |
index | |
indexed | |
indexer | |
indexes | |
indexers | |
indexing | |
indexation | |
cross-index | |
cross-indexed | |
cross-indexes | |
cross-indexing |
body mass index | (n) a measure of someone's weight in relation to height; to calculate one's BMI, multiply one's weight in pounds and divide that by the square of one's height in inches; overweight is a BMI greater than 25; obese is a BMI greater than 30, Syn. BMI |
business index | (n) a statistical compilation that provides a context for economic or financial conditions |
card index | (n) an alphabetical listing of items (e.g., books in a library) with a separate card for each item, Syn. card catalogue, card catalog |
cephalic index | (n) ratio (in percent) of the maximum breadth to the maximum length of a skull, Syn. cranial index, breadth index |
combined dna index system | (n) the DNA file maintained by the Federal Bureau of Investigation |
consumer price index | (n) an index of the cost of all goods and services to a typical consumer, Syn. CPI, cost-of-living index |
cross-index | (v) make an index that refers from one point to the next |
facial index | (n) the ratio (in percent) of the maximum width to the maximum height of the face |
index | (n) a numerical scale used to compare variables with one another or with some reference number |
index | (n) a number or ratio (a value on a scale of measurement) derived from a series of observed facts; can reveal relative changes as a function of time, Syn. indicator, index number, indicant |
index | (n) an alphabetical listing of names and topics along with page numbers where they are discussed |
index | (n) the finger next to the thumb, Syn. index finger, forefinger |
index | (v) list in an index |
index | (v) provide with an index |
index | (v) adjust through indexation |
indexation | (n) a system of economic regulation: wages and interest are tied to the cost-of-living index in order to reduce the effects of inflation |
index case | (n) the earliest documented case of a disease that is included in an epidemiological study |
indexer | (n) someone who provides an index |
index fossil | (n) a fossil known to have lived in a particular geologic age that can be used to date the rock layer in which it is found, Syn. guide fossil |
index fund | (n) a mutual fund whose assets are stocks on a given list |
index fund | (n) a mutual fund that invests in the stocks that are the basis of a well-known stock or bond index |
indexical | (adj) of or relating to or serving as an index |
indexing | (n) the act of classifying and providing an index in order to make items easier to retrieve |
indexless | (adj) lacking an index |
index register | (n) (computer science) a register used to determine the address of an operand |
price index | (n) an index that traces the relative changes in the price of an individual good (or a market basket of goods) over time, Syn. price level |
producer price index | (n) an index of changes in wholesale prices, Syn. wholesale price index |
refractive index | (n) the ratio of the velocity of light in a vacuum to that in a medium, Syn. index of refraction |
retail price index | (n) an index of changes in retail prices |
stock index | (n) index based on a statistical compilation of the share prices of a number of representative stocks, Syn. stock market index |
stock-index futures | (n) a futures contract based on a stock index; a bet on the future price of the indexed group of stocks |
thumb index | (n) one of a series of rounded notches in the fore edge of a book to indicate sections |
cross-reference | (n) a reference at one place in a work to information at another place in the same work, Syn. cross-index |
exponent | (n) a mathematical notation indicating the number of times a quantity is multiplied by itself, Syn. power, index |
standard and poor's | (n) a broadly based stock market index, Syn. Standard and Poor's Index |
consumer price index | n. An index of the cost of all goods and services to a typical consumer, calculated and published by the United States Bureau of Labor Statistics; abbreviated ☞ For a table of values from the Bureau of Labor Statistics of the CPI over time, see CPI-U from 1913 to 1998. [ PJC ] |
cross-index | n. a reference at one place in a work to information at another place in the same work. |
cross-index | v. t. to provide cross-references in (a book or other document). |
Dow-Jones Index | n. (Finance) an index of certain stock prices on the New York Stock Exchange, computed by the Dow Jones publishing company as a weighted average of the prices of specific stocks in certain categories. Three indices are maintained, the Industrials, the Transportations, and the Utilities. When used without qualification, the term usually refers to the Dow Jones Industrial Average. |
Index | n.; Tastes are the indexes of the different qualities of plants. Arbuthnot. [ 1913 Webster ]
|
Index | v. t. |
indexation | n. a system of economic regulation in which wages and interest are tied to the cost-of-living index in order to compenaste for the effects of inflation. [ WordNet 1.5 ] |
Indexer | n. One who makes an index. [ 1913 Webster ] |
Indexical | a. Of, pertaining to, or like, an index; having the form of an index. [ 1913 Webster ] |
Indexically | adv. In the manner of an index. [ 1913 Webster ] |
Indexterity | n. [ Pref. in- not + dexterity: cf. F. indextérité. ] Lack of dexterity or readiness, especially in the use of the hands; clumsiness; awkwardness. Harvey. [ 1913 Webster ] |
Subindex | n.; |
指标 | [指 标 / 指 標] norm; index; target #1,333 [Add to Longdo] |
指数 | [指 数 / 指 數] (numerical, statistical) index #1,434 [Add to Longdo] |
物价指数 | [物 价 指 数 / 物 價 指 數] price index #16,250 [Add to Longdo] |
引得 | [引 得] index (phonetic loan) #18,443 [Add to Longdo] |
索引 | [索 引] index #27,157 [Add to Longdo] |
恒生指数 | [恒 生 指 数 / 恒 生 指 數] Hang Seng Index #31,123 [Add to Longdo] |
折射率 | [折 射 率] index of refraction #62,054 [Add to Longdo] |
下标 | [下 标 / 下 標] subscript; suffix; index #77,268 [Add to Longdo] |
大指 | [大 指] first (index) finger; big toe #97,229 [Add to Longdo] |
检字法 | [检 字 法 / 檢 字 法] indexing system for Chinese characters in a dictionary #219,043 [Add to Longdo] |
均线指标 | [均 线 指 标 / 均 線 指 標] moving average index (used in financial analysis) [Add to Longdo] |
居民消费价格指数 | [居 民 消 费 价 格 指 数 / 居 民 消 費 價 格 指 數] consumer price index CPI [Add to Longdo] |
指数基金 | [指 数 基 金 / 指 數 基 金] index fund [Add to Longdo] |
指数套利 | [指 数 套 利 / 指 數 套 利] index arbitrage [Add to Longdo] |
指数期权 | [指 数 期 权 / 指 數 期 權] index options [Add to Longdo] |
日经指数 | [日 经 指 数 / 日 經 指 數] Nikkei stock market index [Add to Longdo] |
标准普尔 | [标 准 普 尔 / 標 準 普 尔] Standard and Poor's financial index (S&P) [Add to Longdo] |
消费价格指数 | [消 费 价 格 指 数 / 消 費 價 格 指 數] consumer price index CPI [Add to Longdo] |
沪综指 | [沪 综 指 / 滬 綜 指] Shanghai composite index (stock market index) [Add to Longdo] |
火山爆发指数 | [火 山 爆 发 指 数 / 火 山 爆 發 指 數] volcanic explosivity index (VEI) [Add to Longdo] |
移动平均线指标 | [移 动 平 均 线 指 标 / 移 動 平 均 線 指 標] moving average index (used in financial analysis) [Add to Longdo] |
日経 | [にっけい, nikkei] (n) (abbr) (abbr. of 日本経済新聞) Nikkei (newspaper, share index); (P) #3,446 [Add to Longdo] |
索引 | [さくいん, sakuin] (n, adj-no) index; indices; indexes; (P) #3,609 [Add to Longdo] |
見出し | [みだし, midashi] (n) (1) heading; headline; title; caption; (2) index; (3) (abbr) (See 見出し語) headword; (P) #3,636 [Add to Longdo] |
表題 | [ひょうだい, hyoudai] (n) title; index; heading; (P) #5,850 [Add to Longdo] |
指数 | [しすう, shisuu] (n) index; index number; exponent (e.g. in floating-point representation); characteristic; (P) #6,019 [Add to Longdo] |
目録 | [もくろく, mokuroku] (n) (1) catalogue; catalog; inventory; index; list; (2) certificate indicating an impending gift; (P) #6,801 [Add to Longdo] |
指針 | [ししん, shishin] (n) (1) needle (of a compass, etc.); indicator; pointer; index; (2) guiding principle; guideline; guide; (P) #7,308 [Add to Longdo] |
指標 | [しひょう, shihyou] (n) index; indices; indicator; (P) #9,241 [Add to Longdo] |
インデックス | [indekkusu] (n) index; indices; indexes; (P) #10,937 [Add to Longdo] |
DI | [ディーアイ, dei-ai] (n) (1) diffusion index; (2) discomfort index; (3) drug information [Add to Longdo] |
TOPIX | [トピックス, topikkusu] (n) (See 東証株価指数) Tokyo Stock Price Index; TOPIX [Add to Longdo] |
あいうえお順 | [あいうえおじゅん, aiueojun] (n) aiueo-order; (table) index based on the kana syllabary order [Add to Longdo] |
つめ見出し | [つめみだし, tsumemidashi] (n) thumb index (e.g. in a dictionary) [Add to Longdo] |
インデキシング | [indekishingu] (n) indexing [Add to Longdo] |
インデクサ | [indekusa] (n) { comp } indexer [Add to Longdo] |
インデクシング | [indekushingu] (n) indexing [Add to Longdo] |
インデクセーション | [indekuse-shon] (n) (See 指数化方式) indexation [Add to Longdo] |
インデックスアドレッシング | [indekkusuadoresshingu] (n) { comp } index addressing [Add to Longdo] |
インデックストラック | [indekkusutorakku] (n) { comp } index track [Add to Longdo] |
インデックスバッファ | [indekkusubaffa] (n) { comp } index buffer [Add to Longdo] |
インデックスファイル | [indekkusufairu] (n) { comp } indexed file [Add to Longdo] |
インデックスファンド | [indekkusufando] (n) index fund [Add to Longdo] |
インデックスホール | [indekkusuho-ru] (n) { comp } index hole [Add to Longdo] |
インデックスレジスタ | [indekkusurejisuta] (n) { comp } index register [Add to Longdo] |
インデックス付きアドレス | [インデックスつきアドレス, indekkusu tsuki adoresu] (n) { comp } indexed address [Add to Longdo] |
インデックス付きサーチ | [インデックスつきサーチ, indekkusu tsuki sa-chi] (n) { comp } indexed search [Add to Longdo] |
オールオーディナリーズ | [o-ruo-deinari-zu] (n) All Ordinaries (Australian stock index) [Add to Longdo] |
コンポジットインデックス | [konpojittoindekkusu] (n) composite index [Add to Longdo] |
サンケア指数 | [サンケアしすう, sankea shisuu] (n) sun protection index [Add to Longdo] |
シーピーアイ | [shi-pi-ai] (n) consumer price index; CPI [Add to Longdo] |
ディフュージョンインデックス | [deifuyu-jon'indekkusu] (n) diffusion index [Add to Longdo] |
パリティ指数 | [パリティしすう, paritei shisuu] (n) parity index [Add to Longdo] |
ビュー指標 | [ビューしひょう, byu-shihyou] (n) { comp } view index [Add to Longdo] |
フルテキストインデックス | [furutekisutoindekkusu] (n) { comp } full-text index [Add to Longdo] |
ミゼリーインデックス | [mizeri-indekkusu] (n) misery index [Add to Longdo] |
ラスパイレス指数 | [ラスパイレスしすう, rasupairesu shisuu] (n) Laspeyres index [Add to Longdo] |
リストインデックス | [risutoindekkusu] (n) { comp } list index [Add to Longdo] |
位置決め孔 | [いちぎめこう, ichigimekou] (n) { comp } index hole [Add to Longdo] |
引用索引 | [いんようさくいん, inyousakuin] (n) { comp } citation index [Add to Longdo] |
演色評価数 | [えんしょくひょうかすう, enshokuhyoukasuu] (n) (See 演色性) colour rendering index (color) [Add to Longdo] |
卸売物価指数 | [おろしうりぶっかしすう, oroshiuribukkashisuu] (n) wholesale price index; WPI [Add to Longdo] |
音訓索引 | [おんくんさくいん, onkunsakuin] (n) index listing kanji by their Chinese and Japanese pronunciations [Add to Longdo] |
価格インデクセーション | [かかくインデクセーション, kakaku indekuse-shon] (n) price indexation [Add to Longdo] |
稼働率指数 | [かどうりつしすう, kadouritsushisuu] (n) index of capacity utilization ratio; ICUR; capacity utilization index; operating rate index [Add to Longdo] |
株価指数 | [かぶかしすう, kabukashisuu] (n) stock price index [Add to Longdo] |
株価指数先物 | [かぶかしすうさきもの, kabukashisuusakimono] (n) stock index futures [Add to Longdo] |
株価指数先物取引 | [かぶかしすうさきものとりひき, kabukashisuusakimonotorihiki] (n) stock price index futures trading; stock-index futures trading; trading of stock index futures [Add to Longdo] |
株式指標 | [かぶしきしひょう, kabushikishihyou] (n) stock price index [Add to Longdo] |
韓国総合株価指数 | [かんこくそうごうかぶかしすう, kankokusougoukabukashisuu] (n) Korea Composite Stock Price Index; KOSPI [Add to Longdo] |
業況判断指数 | [ぎょうきょうはんだんしすう, gyoukyouhandanshisuu] (n) diffusion index; DI; business sentiment index [Add to Longdo] |
インデックストラック | [いんでっくすとらっく, indekkusutorakku] index track [Add to Longdo] |
インデックスレジスタ | [いんでっくすれじすた, indekkusurejisuta] index register [Add to Longdo] |
ビュー指標 | [ビューしひょう, byu-shihyou] view index [Add to Longdo] |
位置決め孔 | [いちぎめこう, ichigimekou] index hole [Add to Longdo] |
引用索引 | [いんようさくいん, inyousakuin] citation index [Add to Longdo] |
検索時概念組合せ索引作業 | [けんさくじがいねんくみあわせさくいんさぎょう, kensakujigainenkumiawasesakuinsagyou] post-coordinated indexing [Add to Longdo] |
見出し | [みだし, midashi] heading, caption, subtitle, index [Add to Longdo] |
索引 | [さくいん, sakuin] index [Add to Longdo] |
索引トラック | [さくいんトラック, sakuin torakku] index track [Add to Longdo] |
索引ファイル | [さくいんファイル, sakuin fairu] indexed file [Add to Longdo] |
索引言語 | [さくいんげんご, sakuingengo] indexing language [Add to Longdo] |
索引語 | [さくいんご, sakuingo] indexing term [Add to Longdo] |
索引作業 | [さくいんさぎょう, sakuinsagyou] indexing [Add to Longdo] |
索引時概念組合せ索引作業 | [さくいんじがいねんくみあわせさくいんさぎょう, sakuinjigainenkumiawasesakuinsagyou] pre-coordinated indexing [Add to Longdo] |
索引順アクセス方式 | [さくいんじゅんアクセスほうしき, sakuinjun akusesu houshiki] Indexed Sequential Access Method, ISAM [Add to Longdo] |
索引順次アクセス方式 | [さくいんじゅんじアクセスほうしき, sakuinjunji akusesu houshiki] Indexed Sequential Access Method, ISAM [Add to Longdo] |
索引順編成データセット | [さくいんじゅんへんせいデータセット, sakuinjunhensei de-tasetto] indexed sequential data set [Add to Longdo] |
索引精度 | [さくいんせいど, sakuinseido] depth of indexing [Add to Longdo] |
索引編成 | [さくいんへんせい, sakuinhensei] indexed organization [Add to Longdo] |
索引用語の付与 | [さくいんようごのふよ, sakuinyougonofuyo] allocation of indexing terms [Add to Longdo] |
指標 | [しひょう, shihyou] index (e.g. in programming) [Add to Longdo] |
指標データ項目 | [しひょうデータこうもく, shihyou de-ta koumoku] index data item [Add to Longdo] |
指標レジスタ | [しひょうレジスタ, shihyou rejisuta] index register [Add to Longdo] |
指標付きアドレス | [しひょうつきアドレス, shihyoutsuki adoresu] indexed address [Add to Longdo] |
指標付き色指定 | [しひょうつきいろしてい, shihyoutsukiiroshitei] indexed colour [Add to Longdo] |
指標名 | [しひょうめい, shihyoumei] index-name [Add to Longdo] |
自動索引作業 | [じどうさくいんさぎょう, jidousakuinsagyou] automatic indexing [Add to Longdo] |
色指標 | [いろしひょう, iroshihyou] color index [Add to Longdo] |
束指標 | [たばしひょう, tabashihyou] bundle index [Add to Longdo] |
多重索引順編成法 | [たじゅうさくいんじゅんへんせいほう, tajuusakuinjunhenseihou] MISAM, Multikey Indexed Sequential Access Method [Add to Longdo] |
対応付け索引方式 | [たいおうつけさくいんしき, taioutsukesakuinshiki] coordinate indexing [Add to Longdo] |
累積索引付け | [るいせきさくいんつけ, ruisekisakuintsuke] cumulative indexing [Add to Longdo] |
じょう | [じょう, jou] index [Add to Longdo] |
インデックス | [いんでっくす, indekkusu] index [Add to Longdo] |
索引 | [さくいん, sakuin] Register, Index [Add to Longdo] |