afro-asiatic languages n. | pl. กลุ่มของภาษาที่ใช้กันแพร่หลายในอาฟริกาเหนือ และเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ ประกอบด้วย Semitic, Egyptian, Berber, Cushitic, Chad., Syn. Hamito-Semitic languages |
american language | ภาษาอังกฤษที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา (English) |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU) |
body languange | n. ดูkinesics |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
high level language | ภาษาระดับสูงหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องรู้ถึงโครงสร้างภายในของเครื่องแต่อย่างใด ภาษาระดับสูงมีอยู่ด้วยกันหลายภาษา เช่น ภาษาซี (C) ภาษาเบสิก (BASIC) และภาษาปาสกาล (PASCAL) เป็นต้น ตรงข้ามกับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ซึ่งเรียกกันว่าเป็นภาษาระดับต่ำ ผู้เขียนจะต้องรู้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมเป็นภาษานั้นได้ อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์จะยังไม่สามารถเข้าใจภาษาระดับสูงนี้ได้ แต่จะต้องใช้ตัวแปล (compiler) จัดการแปลเสียก่อน จึงจะปฏิบัติตามคำสั่งได้ดู computer language ประกอบ |
human oriented language | ภาษาแนวมนุษย์หมายถึงภาษาที่ใกล้เคียงภาษามนุษย์ เขียนได้ง่าย เข้าใจง่าย และกระทัดรัด สะดวกในการใช้งาน ภาษานี้มีลักษณะเหมือนภาษาหนังสือ ใช้เขียนสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน แต่คอมพิวเตอร์จะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) ก่อนจึงจะเข้าใจ และนำไปปฏิบัติได้ แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ1. ภาษาระดับสูง (high level language) 2. ภาษาระดับต่ำ (low level language) การใช้ภาษามนุษย์เขียนชุดคำสั่งนี้มีข้อดีคือ ทำได้ง่าย มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่าย เขียนได้สั้น เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลายคำสั่งในภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดีตรงที่สามารถใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่าเพราะไม่เสียเวลาในการแปลดู computer language ประกอบดู machine language เปรียบเทียบ |
interpreted language | ภาษาที่แปลด้วยตัวแปลภาษาหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่คอมพิวเตอร์จะอ่านคำสั่งทีละคำสั่ง จัดการแปลให้แล้วปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ทันที ก่อนที่จะไปอ่านคำสั่งใหม่ เช่น ภาษา BASIC, LISP, PROLOG และ LOGO เป็นต้น การใช้ภาษาประเภทนี้ ที่ใช้จะรู้สึกทันใจกว่า เพราะรายงานผลได้ทันที ถ้ามีที่ผิด ก็จะได้แก้ไขได้เลย ภาษาเหล่านี้เป็นภาษาที่ใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่า Interpreter เป็นตัวแปล |
job control language | ภาษาควบคุมงานใช้ตัวย่อว่า JCL หมายถึง คำสั่งที่จะกำหนดระบบการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยติดต่อผ่านทางระบบปฏิบัติการ (operating system) ว่า จะทำงานต่าง ๆ อย่างไร ใช้รหัสใดเพื่อสื่อสารให้ระบบปฏิบัติการควบคุมการทำงานให้ อาจจะเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การเรียกหาแฟ้มข้อมูลบางแฟ้ม รวมทั้งการใช้อุปกรณ์รับข้อมูลหรืออุปกรณ์แสดงผลชนิดใด |
language | (แลง'เกว็จฺ) n. ภาษา |
languid | (แลง'กวิด) adj. อ่อนเปลี้ย, เพลียแรง, อ่อนกำลัง, เฉื่อยชา, เหนื่อย, โรยรา, ละห้อย, เหี่ยวแห้ง, ไม่ไยดี., See also: languidness n. ดูlanguid, Syn. pensive, drooping |
languish | (แลง'กวิช) { languished, languishing, languishes } vi. อ่อนกำลัง, อ่อนเพลีย, อ่อนเปลี้ย, หดหู่, ไม่ไยดี, อิดโรย, ร่วงโรย, ละห้อย, โรยรา, ทำหน้าตาเศร้าหมอง., See also: languisher n. languishing adj. ดlanguishู |
languor | (แลง'เกอะ) n. ความอ่อนเพลีย, ความอ่อนเปลี้ยเพลียแรง, ความเซื่องซึม, ความเชื่องช้า, See also: languorous adj. ดูlanguor |
low level language | ภาษาระดับต่ำเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง (machine language) ฉะนั้น คอมพิวเตอร์จะแปลได้ง่ายกว่าภาษาระดับสูงอย่างภาษา FORTRAN, COBOL หรือ C แต่ผู้เขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับนี้ จะพบว่าเขียนยากกว่าใช้ภาษาระดับสูง ซึ่งมีลักษณะเหมือนภาษามนุษย์มากกว่า ตัวอย่างของภาษานี้มี ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) อยู่เพียงภาษาเดียว ดู high level language เปรียบเทียบ |
machine language | ภาษาเครื่องหมายถึง ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำให้เครื่องรับรู้และเข้าใจได้ เขียนโดยใช้รหัสเลขฐานสองเป็นหลัก (ฉะนั้น จะมีแต่เลข 0 กับ 1 เท่านั้น) คำสั่งแต่ละคำสั่งจะหมายถึงการทำงานอย่างหนึ่ง แต่ละโปรแกรมจึงจะยาวค่อนข้างมาก ผู้ที่เริ่มต้นเรียนคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ ไม่ควรเรียนการเขียนโปรแกรมด้วยภาษานี้เลย เพราะอาจจะทำให้หมดกำลังใจไปเลย อาจจะพอเปรียบได้ว่า เลขฐานสองนั้นก็เหมือน ๆ กับตัวโน้ต เพลง (ภาษาดนตรีก็เข้าใจยากไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภาษาเครื่องนี้สักเท่าใดดอก) อย่างไรก็ตาม ก็ต้องทำความเข้าใจไว้เสมอว่า ไม่ว่าเราจะสั่งให้เครื่องทำงานด้วยโปรแกรมภาษาอะไรก็ตาม ตัวแปลโปรแกรม (compiler) ก็จะต้องทำหน้าที่แปลภาษาที่เราใช้ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนเสมอ คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจจนสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง (execute) นั้น ๆ ได้ |
natural language processi | การประมวลผลภาษาธรรมชาติหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลได้โดยใช้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาธรรมชาติ พูดง่าย ๆ ก็คือ สามารถใช้ภาษาธรรมดา ๆ สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามได้ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์จะใช้ภาษาเฉพาะที่มีกฎเกณฑ์ ไวยากรณ์ และศัพท์ของตนเอง ที่เรียกว่า ภาษาเชิงมนุษย์ (human oriented language) เช่น ภาษา C ภาษา BASIC ภาษา COBOL ฯ ส่วนภาษาธรรมชาตินั้น หมายถึง ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย แม้ว่าในปัจจุบัน จะมีการ พัฒนาด้านนี้กันไปไกลมาแล้ว แต่ก็สรุปได้ว่า ยังใช้การไม่ได้ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะภาษานั้นมีความสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก ยากที่จะแปลหรือตีความให้ตาย ตัวได้ |
object language | ภาษาจุดหมายหมายถึง ชุดคำสั่งที่เป็นภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามได้ทันที่ถ้าผ่านการเชื่อมโยง (link) โดยปกติ ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาระดับสูง (high level language) หรือที่เรียกว่าภาษาต้นฉบับ (source language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจและจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องหรือภาษาจุดหมายก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ |
page description language | ใช้ตัวย่อว่า PDL (พีดีแอล) เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง เช่นเดียวกับโพสต์คริปต์ (postcript) ซึ่งจะทำการประมวลผลในหน่วยประมวลผลของเครื่องพิมพ์เอง ในพีดีแอลนั้น จะต้องมีคำสั่งเกี่ยวกับเรื่องของการกำหนดหน้า การคำนวณภาพกราฟิก แม้จะมีความยาวมาก แต่ก็จะทำงานได้เร็วกว่า คำสั่งที่ส่งไปจากเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพีซีแอล พีดีแอลนั้นจะใช้ได้กับเครื่องพิมพ์ทุกยี่ห้อที่สามารถเข้าใจภาษานี้ ปัจจุบันแมคอินทอชใช้พีดีแอล ที่ชื่อ "postcript" ส่วนพีซีใช้พีดีแอลที่ชื่อ "true type" (เทียบเคียงได้กับ postcript) |
printer control language | ใช้ตัวย่อว่า PCL (อ่านว่า พีซีแอล) เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่องพิมพ์บางยี่ห้อ ส่วนมากจะเป็นเครื่องพิมพ์เลเซอร์ของบริษัทฮิวเล็ตแพกการ์ดหรือ HP (อย่างปนคำนี้กับ PDL) |
programming language | ภาษาโปรแกรมหมายถึง ภาษาที่ออกแบบโครงสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเขียนคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ทำนองเดียวกับตัวโน้ตของภาษาดนตรี ภาษาโปรแกรมมีตั้งแต่ระดับต่ำสุด คือใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง (machine language) มากที่สุด ไปจนถึงภาษาระดับสูง คือใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ (ภาษาอังกฤษธรรมดา ๆ) มากที่สุดดู language ประกอบ |
programming language one | ใช้ตัวย่อว่า PL/1 (อ่านว่า พีแอล/วัน) เป็นภาษาระดับสูง (high level language) รุ่นเก่าอีกภาษาหนึ่ง ส่วนใหญ่ใช้กับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ หรือเมนเฟรม (mainframe) |
query language | ภาษาสอบถามใช้ตัวย่อว่า QL (อ่านว่า คิวแอล) เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาธรรมดา มักใช้ในการสั่งเรียกข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลหรือคลังข้อมูล (database) มาดูบนจอภาพหรือสั่งให้พิมพ์ออกมา |
structured query language | ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้างใช้ตัวย่อว่า (บางทีออกเสียงว่า "ซีเควล") เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล (database) ซึ่งใช้หลักการของการให้ตอบคำถามไปทีละข้อ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ไปเลือกหาข้อมูลที่ต้องการมาแสดง |
symbolic language | ภาษาสัญลักษณ์เป็นภาษาที่ใช้เป็นรหัส กำหนดตำแหน่งที่อยู่ และการปฏิบัติการของคำสั่งต่าง ๆ ในรูปของสัญลักษณ์ ซึ่งมนุษย์คุ้นเคยมากกว่าภาษาเครื่อง เช่น ใช้คำว่า sub แทน ลบ (มาจากคำ subtract) |
target language | ภาษาเป้าหมายหมายถึง ภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และปฏิบัติตามได้ทันที โดยปกติในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาต้นฉบับ (source language) หรือภาษาระดับสูง (high level language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจ และจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องก่อนคอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ ภาษาเป้าหมายก็คือภาษาเครื่องนั่นเองมีความหมายเหมือน object language หรือ machine languageดู source language เปรียบเทียบ |
language | (n) ภาษา, ถ้อยคำ |
languish | (vi) อ่อนเพลียลง, ซูบซีดลง, เฉื่อยลง, เนือยลง, อิดโรย |
languishment | (n) ความอ่อนเพลีย, ความซูบซีด, ความอ่อนเปลี้ย, ความเฉื่อยชา, ความอิดโรย |
languor | (n) ความอ่อนแอ, ความเงียบ, ความเซื่องซึม |
languorous | (adj) อ่อนแอ, เซื่องซึม, เงียบ, อ่อนเปลี้ย, หงอย, เฉื่อยชา |
procedural language | ภาษาเชิงกระบวนคำสั่ง [ มีความหมายเหมือนกับ imperative language ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
programming language | ภาษาโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
programming language | ภาษาชุดคำสั่ง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
PL/I (Programming Language/I) | (ภาษา)พีแอลวัน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
procedure oriented language | ภาษาเชิงกระบวนงาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
perl (Practical Extraction and Reporting Language) | (ภาษา)เพิร์ล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
low level language | ภาษาระดับต่ำ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
language | ภาษา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
language, object | กรรมภาษา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
languor | อาการโผเผ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
remote control language | ภาษาควบคุมระยะไกล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
structured query language (SQL) | ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (เอสคิวแอล, ซีเควล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
structured query language (SQL) | ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (เอสคิวแอล, ซีเควล) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
SGML (Standard Generalized Markup Language) | (ภาษา)เอสจีเอ็มแอล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
symbolic language | ภาษาสัญลักษณ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
scripting language | ภาษาบทคำสั่ง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
system control language | ภาษาควบคุมระบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
source language | ภาษาต้นฉบับ, ภาษาต้นทาง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
SQL (structured query language) | เอสคิวแอล, ซีเควล (ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
SQL (structured query language) | เอสคิวแอล, ซีเควล (ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
SGML (Standard Generalized Markup Language) | (ภาษา)เอสจีเอ็มแอล [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
scripting language | ภาษาบทคำสั่ง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
scientific language | ภาษาเชิงวิทยาศาสตร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
statistics of language | สถิติเกี่ยวกับภาษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
Standard Generalized Markup Language (SGML) | (ภาษา)เอสจีเอ็มแอล [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
object language | ภาษาจุดหมาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
object language | กรรมภาษา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
object oriented language | ภาษาเชิงวัตถุ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
applicative language; functional language | ภาษาเชิงหน้าที่ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
ALGOL (ALgorithmic Language) | (ภาษา)อัลกอล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
APL (A Programming Language) | (ภาษา)เอพีแอล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
algorithmic language | ภาษาขั้นตอนวิธี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
aureate language | ภาษาไพจิตร [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลี [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
authoring language | ภาษาสร้างโปรแกรมบทเรียน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
JCL (job control language) | เจซีแอล (ภาษาควบคุมงาน) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
job control language (JCL) | ภาษาควบคุมงาน (เจซีแอล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
job control language | ภาษาควบคุมงาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
query language (QL) | ภาษาสอบถาม (คิวแอล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
query language (QL) | ภาษาสอบถาม (คิวแอล) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
QL (query language) | คิวแอล (ภาษาสอบถาม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
QL (query language) | คิวแอล (ภาษาสอบถาม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
block-structured language | ภาษาโครงสร้างแบบบล็อก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
block-structured language | ภาษาโครงสร้างแบบบล็อก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
metalanguage | อภิภาษา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
mother tongue; mother language | ภาษาแม่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
macro language | ภาษาแมโคร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
mother language; mother tongue | ภาษาแม่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
machine language | ภาษาเครื่อง [ มีความหมายเหมือนกับ computer language ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Language dictionary | พจนานุกรมภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Metalanguage | อภิภาษา [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Controlled language | ภาษาควบคุม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Natural language | ภาษาธรรมชาติ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Controlled language | ภาษาควบคุม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Natural language | ภาษาธรรมชาติ, Example: ภาษาธรรมชาติ ในแง่ของการทำดรรชนี เพื่อใช้เป็นตัวแทนสารสนเทศนั้น หมายถึง คำที่มิเกิดจากการถูกกำหนดหรือบังคับใ้ห้ใช้ แต่เป็นการนำคำจากที่ผู้แต่งหรือเจ้าของผลงานกำหนดใช้เอง ซึ่งอาจจะไม่ตรงกับศัพท์บัญญัติ หรือศัพท์ควบคุมที่กำหนดให้ใช้ <p> <p>ภาษาธรราชาติ มักจะเป็นคำทันสมัยหรือยังมิได้ถูกกำหนดเป็นคำศัพท์ควบคุม ซึ่งสามารถทำให้สืบค้นเรื่องที่ตรงกับปัจจุบัน แต่จะมีข้อเสีย เนื่องจากภาษาธรรมชาติ มิได้มีการควบคุมคำที่มีความหมายเดียวกันและใช้แตกต่างกัน ทำให้เสียเวลาในการสืบค้น เนื่องจากต้องนึกคำที่จะต้องค้นหลายคำ ซึ่งต่างจากภาษาควบคุม ที่จะมีการควบคุมคำศัพท์ ทำให้มีมาตรฐานในการใช้คำดังกล่าวเป็นแนวทางเดียวกัน หมายถึง เรื่องเดียวกัน แต่อาจจะไม่ตรงกับคำที่ปรากฏในเนื้อหาของสารสนเทศและทันสมัย เนื่องจากภาษาควบคุมต้องมีการพิจารณากลั่นกรอง จึงจะสามารถกำหนดใช้ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cross-language information retrieval | การค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cross-language information retrieval | การค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Natural language processing | การประมวลผลภาษาธรรมชาติ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Language processing technology | เทคโนโลยีด้านการประมวลผลภาษา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
C# (Computer program language) | ซี# (ภาษาคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Computer hardware description languages | ภาษาบรรยายคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
VoiceXML (Document markup language) | วอยซ์เอ็กซ์เอ็มแอล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Algorithmic language | ภาษาอัลกอล, Example: ภาษาคอมพิวเตอร์สำคัญภาษาหนึ่งที่ได้รับการคิดค้นขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 2500 ระหว่างการประชุมวิชาการที่มีนักคอมพิวเตอร์จากประเทศเดนมาร์ก อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ฮอลแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกามาประชุมกัน แม้ว่าภาษานี้จะไม่ประสบความสำเร็จในทางการค้าคือมีใช้เฉพาะในมหาวิทยาลัย และงานวิจัยทางยุโรปเป็นส่วนใหญ่แต่ก็ต้องกล่าวว่เป็นรากฐานสำคัญที่ทำให้เกิดภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาปาสกาล ภาษาซี และภาษาเอดา [คอมพิวเตอร์] |
APL (a programming language) | เอพีแอล ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่งซึ่งคิดค้นขึ้นโดยนักคณิตศาสตร์ชื่อ เคนเนท ไอเวอร์สัน แห่งบริษัทไอบีเอ็ม ใช้สัญลักษณ์ต่างๆ หลากหลายมาใช้แทนคำสั่งในภาษานี้พร้อมกันนั้นก็เพิ่งคำสั่งแปลกๆ ที่ภาษาคอมพิวเตอร์อื่นๆ ไม่มีใช้ลงไปด้วย ทำให้ภาษานี้ซับซ้อนและไม่ได้รับความนิยมนัก ทั้งๆ ที่เป็นภาษาที่มีสมรรถนะสูงมาก [คอมพิวเตอร์] |
Assembly language | ภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับต่ำสำหรับใช้เขียนโปรแกรม, Example: แต่ละคำสั่งจะตรงกับคำสั่งภาษาเครื่องหนึ่งคำสั่ง ภาษาเครื่องนั้นปกติเป็นตัวเลขฐานสองหรือ 0 กับ 1 ซึ่งยากที่จะจำ ส่วนภาษาแอสเซมบลีนั้นเปลี่ยนเลข 0 กับ 1 ให้เป็นคำที่จำได้ง่าย เช่น A แทนคำว่า Add หรือบวก s แทน Subtract หรือลบ ทำให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าการท่องจำเลข 0 กับ 1 ภาษาแอสเซมบลีนี้มักจะแตกต่างกันไปตามประเภทและรุ่นของตัวประมวลผล (processor) และใช้ร่วมกันไม่ได้ [คอมพิวเตอร์] |
Natural language processing (Computer science)) | การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (คอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์] |
Low level language | ภาษาระดับต่ำ [คอมพิวเตอร์] |
Natural language | ภาษาธรรมชาติ [คอมพิวเตอร์] |
Natural language processing | การประมวลภาษาธรรมชาติ [คอมพิวเตอร์] |
Programming Language 1 | ภาษาพีแอลวัน [คอมพิวเตอร์] |
Programmed Inquiry Language Or Teaching | ภาษาไพล็อต [คอมพิวเตอร์] |
Structured Query Language | ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง, Example: ภาษาสำหรับกำหนดลักษณะของข้อมูล และค้นข้อมูลในฐานข้อมูลแบบตาราง ภาษานี้ได้รับการพัฒนาขึ้นโดยนักวิจัยของบริษัทไอบีเอ็ม และปัจจุบันนี้ได้รับควมนิยมมากจนมีใช้ในโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หลายโปรแกรม [คอมพิวเตอร์] |
structural language | ภาษาโครงสร้าง, เทคนิคในการใช้โครงสร้างควบคุมภายในภาษาโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่ได้ไม่ซับซ้อนมากเกินไป โครงสร้างควบคุมที่ใช้กันได้แก่ การทำงานตามลำดับ การทำงานซ้ำตามเงื่อนไข การเลือกทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เทคนิคนี้นิยมใช้กันในภาษาคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ [คอมพิวเตอร์] |
Dhtml (Document markup language) | ดีเอชทีเอ็มแอล [คอมพิวเตอร์] |
high-level language | ภาษาระดับสูง, Example: ภาษาสำหรับเขียนโปรแกรมที่ช่วยให้เราเขียนคำสั่งได้โดยไม่ต้องรู้โครงสร้างและการทำงานภายในคอมพิวเตอร์ ภาษาระดับสูงที่รู้จักกันดีได้แก่ ภาษา C, BASIC, COBOL, FORTRAN, Pascal [คอมพิวเตอร์] |
Thai Sign Language Program: computer vocabulary | ภาษามือไทยชุดคำศัพท์คอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูลภาษามือไทย ที่บรรจุคำศัพท์คอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลประกอบไปด้วย คำศัพท์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย ภาพ วีดิทัศน์ภาษามือไทย [Assistive Technology] |
Z (Computer program language) | แซด (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Zhuang language | ภาษาจ้วง [TU Subject Heading] |
Ya language | ภาษาหย่า [TU Subject Heading] |
Yao language (Southeastern Asia) | ภาษาเย้า (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) [TU Subject Heading] |
XML (Document markup language | เอกซ์เอ็มแอล (ภาษากำหนดเครื่องหมายเอกสาร) [TU Subject Heading] |
XHTML (Document markup language) | เอ๊กซ์เอชทีเอ็มแอล (ภาษากำหนดเครื่องหมายเอกสาร) [TU Subject Heading] |
ABAP/4 (Computer program language) | เอบีเอพี/4 (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
ActionScrip (Computer prgram language) | แอคชันสคริปต์ (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
African language | ภาษาแอฟริกัน [TU Subject Heading] |
Ahom language | ภาษาอาหม [TU Subject Heading] |
Arabic language | ภาษาอาหรับ [TU Subject Heading] |
Assembler language (Computer program language) | แอสเซมเบลอร์ (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
AutoLISP (Computer program language) | ออโตลิชพ (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
B (Computer program language) | บี (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Bantu language | ภาษาแบนตู [TU Subject Heading] |
BASIC (Computer program language) | เบสิก (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
BASIC A (Computer program language) | เบสิกเอ (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Black Tai language | ภาษาไทดำ [TU Subject Heading] |
Body language | ภาษากาย [TU Subject Heading] |
Bru language | ภาษาบรู [TU Subject Heading] |
Burmese language | ภาษาพม่า [TU Subject Heading] |
C (Computer program language) | ซี (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
C# (Computer program language) | ซี# (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
artificial language | ภาษาประดิษฐ์ |
คัดไทย | (n) penmanship in Thai language, Syn. วิชาคัดไทย, Example: ในชั่วโมงคัดไทย ทุกคนต่างตั้งหน้าตั้งตาคัดลายมือ เพราะหากคัดไม่เสร็จก็จะไม่ได้กลับบ้าน, Thai Definition: วิชาฝึกเขียนลายมือ |
คัดไทย | (v) write one's penmanship in Thai language, See also: handwrite, Syn. คัดลายมือ, Example: ลายมือของคนสมัยก่อนสวยกว่าของคนสมัยนี้ เพราะสมัยก่อนเวลาเลิกเรียน นักเรียนต้องคัดไทยทุกวันก่อนกลับบ้าน, Thai Definition: เขียนข้อความภาษาไทยอย่างบรรจง |
ภาษากาย | (n) body language, Example: ภาษาพูดนั้นสื่อความคิด แต่ภาษากายสื่อความรู้สึกได้ลึกซึ้งยิ่งกว่า, Thai Definition: การใช้ความเคลื่อนไหวหรือท่าทางของร่างกาย สื่อให้ผู้คนเข้าใจตามความต้องการ |
ภาษามือ | (n) finger language, See also: sign language, finger alphabet, Example: คนใบ้ใช้ภาษามือเพื่อสื่อสารกัน, Thai Definition: การใช้กิริยาของมือแสดงความหมายต่างๆ ตามกำหนดของการศึกษาของผู้บกพร่องทางการได้ยิน |
ภาษาราชการ | (n) official language, Example: พม่าประกาศใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการ, Thai Definition: ภาษาที่กำหนดใช้สำหรับความเป็นทางการของประเทศนั้นๆ |
โทเฟิล | (n) Test of English as Foreign Language, See also: TOFEL, Syn. การทดสอบภาษาอังกฤษสำหรับคนต่างชาติผู้จะเข้าศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกา |
ภาษาธรรมชาติ | (n) natural language, Example: ภาษาธรรมชาติในแต่ละภาษาจะมีลักษณะเฉพาะตัวของตนเอง, Thai Definition: ภาษาที่มนุษย์ใช้ในการสื่อสาร |
ภาษาประจำชาติ | (n) national language, Example: คนไทยทุกคนควรจะภาคภูมิใจในการที่ประเทศไทยใช้ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติมาถึง 700 ปี, Thai Definition: ภาษาที่คนในชาติใดชาติหนึ่งใช้สื่อสารกันในประเทศ |
ภาษาแม่ | (n) mother language, See also: mother tongue, Example: แนวโน้มภาษาแขกในมาเลเซียเปลี่ยนแปลงไป แขกยุคใหม่เริ่มหันหลังให้กับภาษาแม่ของตน และหันมาพูดภาษาที่ใช้ในการศึกษาธุรกิจและระหว่างประเทศแทน, Thai Definition: ภาษาที่เรียนเป็นภาษาแรก และสามารถใช้ภาษานี้ได้ดีกว่าภาษาอื่นๆ |
ภาษาสัญลักษณ์ | (n) sign language, Example: การใช้ภาษาสัญลักษณ์เขียนโปรแกรมแทนภาษาเครื่องจะทำให้งานเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น, Thai Definition: ภาษาที่มีแนวความคิดการบอกข้อมูลและการทำงาน ที่มีลักษณะเป็นสัญลักษณ์ และเป็นคำพูด |
ภาษาสูง | (n) high language, Example: ถ้าต่างชาติหรือเด็กเกิดเมืองนอกที่คิดจะเรียนศัพท์แสงภาษาไทยมาอ่านโคลงกลอนเมื่อใด เมื่อนั้นเป็นต้องเปลี่ยนใจเลิกเรียนภาษานี้ทันที นี่แหละภาษาสวย ภาษาสูง ประสาภาษาไทย, Thai Definition: ระดับหนึ่งของภาษา ซึ่งเป็นการใช้ภาษาในระดับยาก ที่ต้องการความสละสลวย เช่นภาษาที่ใช้ในวรรณกรรมชั้นสูง หรือทางวรรณศิลป์ เป็นต้น |
ภาษาสูง | (n) high level language, Syn. ภาษาในระดับสูง, Ant. ภาษาต่ำ, ภาษาในระดับต่ำ, Example: งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักจะเขียนด้วยภาษาสูง เช่นภาษาซี หรือภาษาโคบอล, Thai Definition: ภาษาคอมพิวเตอร์ทั่วไป |
ภาษาระดับสูง | (n) high level language, Example: หน้าที่หลักของคอมพายเลอร์นั้นคือการแปลภาษาระดับสูง |
ภาษาเครื่อง | (n) machine language, Example: ข้อเสียของภาษาเครื่องคือ ภาษาของแต่ละเครื่องจะไม่เหมือนกัน ทั้งนี้แล้วแต่การออกแบบระบบเครื่องว่าจะเป็นแบบใด, Thai Definition: ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านและขึ้นบนจอภาพได้โดยตรง |
วรรณศิลป์ | (n) art created language, Example: นราเป็นนักเขียนเรื่องสั้นที่มีฝีมือทางวรรณศิลป์, Thai Definition: ศิลปะในการแต่งหนังสือ, ศิลปะทางวรรณกรรม |
ภาษากลาง | (n) interlingua, See also: interlanguage, common language, Example: ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางที่นานาประเทศใช้ติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน, Count Unit: ภาษา |
ภาษาคน | (n) human speech, See also: human tongue, human language, Syn. ภาษามนุษย์, Ant. ภาษาสัตว์, Example: สัตว์ที่ถูกฝึกดีมักจะฟังภาษาคนรู้เรื่อง, Count Unit: ภาษา |
ภาษาคอมพิวเตอร์ | (n) computer language, Example: ภาษาคอมพิวเตอร์นั้น มีหลายภาษา ซึ่งแต่ละภาษาก็จะมีเอกลักษณ์เป็นของตัวเองแตกต่างกันไปตามการใช้งาน, Count Unit: ภาษา |
ภาษาแบบแผน | (n) official language, See also: standard language, formal language, Syn. ภาษาทางการ, ภาษามาตรฐาน, Example: เด็กๆ มักจะบ่นเรื่องการฝึกใช้ภาษาแบบแผน เพราะเป็นเรื่องยากสำหรับพวกเขาที่ใช้แต่ภาษาพูด, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่มีระเบียบแบบแผนที่วางไว้เป็นแนวทางในการใช้ให้เป็นมาตราฐานเดียวกัน |
ภาษาต่างประเทศ | (n) foreign language, Example: ในบางประเทศจะพบว่า คนที่ได้รับการศึกษาสูงนิยมใช้ภาษาต่างประเทศ, Count Unit: ภาษา |
สำนวนโวหาร | (n) literary style, See also: flowery language, Syn. โวหาร, Example: หนังสือเล่มนี้ได้รับความนิยม เพราะผู้เขียนใช้สำนวนโวหารที่เข้าใจง่าย, Count Unit: สำนวน, Thai Definition: ถ้อยคำที่เรียบเรียง |
คำหยาบ | (n) vulgar language, Syn. คำหยาบคาย, Example: แม่ตำหนิลูกชายที่พูดคำหยาบต่อหน้าผู้ใหญ่, Count Unit: คำ, Thai Definition: คำพูดที่ไม่สุภาพ |
ภาษาเขียน | (n) written language, Syn. ภาษาทางการ, ภาษาสุภาพ, Example: เขาใช้ภาษาเขียนมากเกินกว่าเหตุไปหลายครั้งทำให้เรื่องไม่มีสีสันเท่าไหร่, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่ใช้ในงานเขียนซึ่งเป็นทางการมากกว่าภาษาพูด |
ค่าง | (n) langur, See also: leaf monkey, Example: เขามองเข้าไปที่ห้องสตัฟฟ์เห็นค่างโหนกิ่งไม้แห้งเหยี่ยวกำลังกระพือปีกกว้าง ยกขาหน้าอยู่, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ชื่อลิงในวงศ์ Cercopithecidae ตัวสีเทาหรือดำ ลำตัว แขน ขา และหางยาวกว่าลิงทั่วๆ ไป กินใบไม้และผลไม้ |
คำราชาศัพท์ | (n) royal word, See also: royal language, terms of reverence, Syn. ราชาศัพท์, Example: สตรีที่มีบรรดาศักดิ์เป็นท่านผู้หญิงมิได้มีระเบียบให้ใช้คำราชาศัพท์, Count Unit: คำ, Thai Definition: คำเฉพาะใช้สำหรับเพ็ดทูลพระเจ้าแผ่นดินและเจ้านาย, ต่อมาหมายรวมถึงคำที่ใช้กับพระภิกษุสงฆ์ ข้าราชการและสุภาพชนด้วย |
พาณี | (n) speech, See also: language, sound, Syn. เสียง, ถ้อยคำ, ภาษา |
ภารดี | (n) speech, See also: words, eloquence, language, utterance, Syn. ถ้อยคำ, คำพูด, ภาษา, Thai Definition: คำที่กล่าวออกมา |
ภาษา | (n) language, See also: speech, words, Syn. คำพูด, Example: ปัญหาชายแดนภาคใต้มีสาเหตุมาจากความไม่เข้าใจซึ่งกันและกันในเรื่องของภาษา ระหว่างไทยพุทธ และคนมุสลิม, Thai Definition: เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน |
ภาษาซี | (n) C programming language, Example: งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักจะเขียนด้วยภาษาสูง เช่น ภาษาซี หรือภาษาโคบอล |
ภาษาต้นฉบับ | (n) source language, Example: นักแปลที่ดีจำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องที่จะแปล และมีความรู้ทั้งภาษาต้นฉบับ และภาษาเป้าหมายเป็นอย่างดี, Thai Definition: ภาษาที่ใช้ในฉบับจริงหรือฉบับต้นเรื่อง |
ภาษาตลาด | (n) informal language, See also: slang, Syn. ภาษาปาก, Example: ในงานเขียนที่ค่อนข้างเป็นทางการมักจะไม่ค่อยพบภาษาตลาดหรือภาษาปากให้เห็น, Thai Definition: ภาษาที่ใช้พูดจากันอย่างไม่เป็นทางการในระดับที่ต่ำกว่าภาษาพูด |
ภาษาติดต่อคำ | (n) agglutinative language, Syn. ภาษาคำติดต่อ, Example: วิชาภาษาศาสตร์แบ่งรูปภาษาต่างๆ เป็น 4 ประเภท คือ ภาษามีวิภัตติปัจจัย, ภาษาติดต่อคำ, ภาษาคำโดด และภาษาควบมากคำ |
ภาษาท่าทาง | (n) body language, Example: ฉันพยายามใช้ภาษาท่าทางช่วยแล้วแต่เขาก็ยังไม่เข้าใจที่ฉันพูดอยู่ดี, Thai Definition: การใช้ท่าทางต่างๆ สื่อสารแทนคำพูด |
ภาษาไทย | (n) Thai, See also: Siamese, Thai language, Example: บุหรี่นำเข้าจะต้องมีการพิมพ์คำเตือนเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่เป็นภาษาไทยด้วย, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่คนไทยใช้พูดจาติดต่อสื่อสารกัน, ภาษาประจำชาติหรือประเทศไทย |
ภาษาโบราณ | (n) ancient language, Example: อาจารย์สามารถอ่านและแปลภาษาโบราณของชนชาติกรีกได้เป็นบางคำ, Thai Definition: ภาษาเก่าก่อนที่มีมานานซึ่งคนในสมัยโบราณใช้ติดต่อสื่อสาร และในปัจจุบันไม่ได้ใช้แล้ว |
ภาษาใบ้ | (n) sign language, Example: การแก้ไขการพูดสำหรับคนที่ใช้เครื่องช่วยฟังจะใช้ภาษาใบ้เป็นหลัก, Thai Definition: กริยาอาการที่ทำให้เข้าใจแทนการพูด |
ภาษาปาก | (n) colloquialism, See also: colloquial expression, spoken language, Syn. ภาษาพูด, Example: ภาษาที่เราใช้พูดในชีวิตประจำวันเป็นภาษาปากที่ไม่ต้องพิถีพิถันเลือกใช้คำมากนัก, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาหรือระเบียบคำที่พูดกันธรรมดาโดยไม่ได้เคร่งครัดกับไวยากรณ์อย่างภาษาหนังสือ |
มิจฉาวาจา | (n) wrong saying or language, See also: wrong utterance or speech, Ant. สัมมาวาจา, Example: เขาอาศัยมิจฉาวาจาในการหาเสียง, Thai Definition: การเจรจาถ้อยคำผิด, ประพฤติวจีทุจริต, Notes: (บาลี) |
มิจฉาวาจา | (n) wrong saying or language, See also: wrong utterance or speech, Ant. สัมมาวาจา, Example: เขาอาศัยมิจฉาวาจาในการหาเสียง, Thai Definition: การเจรจาถ้อยคำผิด, ประพฤติวจีทุจริต, Notes: (บาลี) |
ละเหี่ย | (v) feel weary, See also: feel tired, feel weak, feel exhausted, languish, Syn. อ่อนใจ, ละเหี่ยใจ, Example: คนกรุงแสนจะละเหี่ยกับสภาพรถติดทุกวัน, Thai Definition: รู้สึกเบื่อหน่ายท้อแท้ใจ |
วาณี | (n) language, Syn. ภาษา, ถ้อยคำ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
เอกภาพของภาษา | (n) language autonomy |
ตันติภาษา | (n) classical language, See also: systematizied language, Example: ครูกำลังอธิบายความหมายของตันติภาษา, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่มีแบบแผน |
นิรุกติ | (n) language, See also: speech, words, Syn. ภาษา, คำพูด, Notes: (สันสกฤต) |
ระทวย | (adv) languidly, See also: weakly, Example: โรคร้ายทำให้เขานอนระทวยอยู่กับเตียงตลอดเวลา |
ประเทียด | (v) be sarcastic, See also: speak sarcastically, ridicule, ridicule with sarcasm, use insulting language, use sarcasm, Syn. ประชด, ประชดชัน, แดกดัน, Example: ตะละแม่กุสุมาประทดประเทียดต่อบุเรงนองว่ามิได้มีใจเสน่หาต่อนาง |
มธุรพจน์ | (n) honeyed words, See also: sweet language, sweet words, Syn. ถ้อยคำไพเราะ, คำหวาน, วาจาไพเราะ, Example: มธุรพจน์ย่อมทำให้ผู้ฟังชื่นบาน |
ซี | (n) C language, See also: C, Syn. ภาษาซี, Example: ผู้ที่รู้ภาษาเครื่องมาก่อน มักทำความเข้าใจกับภาษาซีได้เร็ว, Count Unit: ตัว |
การันต์ | (n) the mark placed over the final consonant of the a word in Thai language to indicate that it is mute, Syn. ทัณฑฆาต, เครื่องหมายการันต์, ตัวการันต์, Example: ชื่อของฉันและชื่อของเพื่อนมีตัวการันต์อยู่, Thai Definition: ตัวอักษรที่ไม่ออกเสียง ซึ่งมีไม้ทัณฑฆาตกำกับไว้ |
กำเสาะ | (adj) weak, See also: languid, feeble, feckless, sickly, debilitated, Syn. เสาะ, กระเสาะ, กระแสะ, กระเสาะกระแสะ, เพลีย, อ่อนเพลีย, Example: น้องเป็นคนกำเสาะอ่อนแอ |
อวัจนะภาษา | [awatjanaphāsā] (n) EN: non verbal language |
บาลี | [Bālī] (n, prop) EN: Pali ; Pali language FR: pali [ m ] ; langue pali [ f ] |
เบื่อโลก | [beūa lōk] (v, exp) FR: languir (vx - litt.) |
ชื่อภาษาอีสาน | [cheū phāsā Isān] (n, exp) EN: Isan name FR: nom en langue Isan [ m ] |
ชิวหา | [chiuhā] (n) EN: tongue FR: langue [ f ] |
เอกภาพของภาษา | [ēkkaphāp khøng phāsā] (n, exp) EN: language autonomy |
เหี่ยว | [hīo] (v) EN: wilt ; wither ; wrinkle ; droop ; shrivel ; dry out ; languish ; deteriorate FR: se faner ; se dessècher ; se flétrir ; se ratatiner ; se languir ; s'affaiblir |
เหี่ยวเฉา | [hīochao] (v) EN: wither ; wilt ; droop ; shrivel ; dry out ; languish ; deteriorate FR: se faner ; se dessècher ; se flétrir |
ห่อลิ้น | [hø lin] (v, exp) FR: rouler la langue |
อิทธิพล(ของ)ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย | [itthiphon (khøng) phāsā tāngprathēt nai phāsā Thai] (xp) EN: influence of foreign languages on Thai |
จัตวา (–๋) | [jattawā] (n) EN: jattawa (fourth tonal accent in the Thai language) FR: jattawa [ m ] (quatrième accent tonal du thaï) |
การใช้ภาษาไทย | [kān chai phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai language usage |
การพัฒนาภาษา | [kān phatthanā phāsā] (n, exp) EN: language development |
การเรียนภาษา | [kān rīen phāsā] (n, exp) EN: language learning |
การสอนภาษา | [kān søn phāsā] (n, exp) EN: language teachning FR: enseignement des langues [ m ] |
การันต์ (–์) | [kāran] (x) EN: [ mark placed over the final consonant of the a word in Thai language to indicate that it is mute ] FR: [ symbole de consonne muette ] |
คำพูดสัปดน | [khamphūt sappadon] (n, exp) EN: obscene language ; dirty language ; foul language ; indecent language FR: langage obscène [ m ] |
คำทับศัพท์ | [kham thapsap] (n, exp) EN: word borrowed (into the thai language) FR: mot d'emprunt (de la langue thaïe) |
ค่าง | [khāng] (n) EN: langur ; leaf monkey ; long-tailed monkey |
ค่างดำ | [khāng dam] (n, exp) EN: Banded Langur |
ค่างหงอก | [khāng ngøk] (n, exp) EN: Silvered Langur |
ค่างแว่นถิ่นเหนือ | [khāng waen thin neūa] (n, exp) EN: Phayre's Langur |
ค่างแว่นถิ่นใต้ | [khāng waen thin tāi] (n, exp) EN: Dusky Langur |
โคนลิ้น | [khōn lin] (n, exp) EN: root of the tongue FR: base de la langue [ f ] |
ความเบื่อโลก | [khwām beūa lōk] (n, exp) FR: langueur [ f ] |
เกล้ากระหม่อม | [klāo kramǿm] (pr) EN: I (Royal language) FR: je (langage royal) |
กระบวนการเรียนรู้ภาษา | [krabūankān rīenrū phāsā] (n, exp) EN: language learning process FR: processus d'apprentissage de la langue [ m ] |
กระหม่อม | [kramǿm] (pr) EN: I (m.) (Royal language) FR: je (m.) (langage royal) |
แลบลิ้น | [laēp lin] (v, exp) EN: put on one's tongue ; stick out one's tongue FR: tirer la langue |
ละเหี่ย | [lahīa] (v) EN: feel weary ; feel tired ; feel weak ; feel exhausted ; languish ; lose heart ; be despondent |
หลักภาษาไทย | [lak phāsā Thai] (n, exp) EN: fundamentals of teh Thai language FR: bases de la langue thaïe [ fpl ] |
เลีย | [līa] (v) EN: lick ; lap FR: lécher ; laper ; passer la langue sur |
ลิ้น | [lin] (n) EN: tongue FR: langue [ f ] |
ลิ้นสองแฉก | [lin søng chaēk] (n, exp) FR: langue fourchue [ f ] |
มลายู | [Malāyū] (n) EN: Malay language FR: malais [ m ] ; langue malaise [ f ] |
มิจฉาวาจา | [mitchāwājā] (n) EN: wrong saying/language ; wrong utterance/speech |
มอญ | [Møn] (n, prop) EN: Mon Language |
ในภาษาไทย | [nai phāsā Thai] (n, exp) EN: in Thai FR: en thaï ; en langue thaïe |
เหนื่อยอ่อน | [neūay øn] (adj) FR: alangui |
ปากเบา | [pāk bao] (xp) EN: be able to learn language at a very tender age |
ปากคม | [pāk khom] (adj) EN: sharp-tongued FR: qui a la langue fourchue |
ปากร้าย | [pāk rāi] (v) EN: be sharp-tongued ; be foul-mouthed ; be given to abuses ; be bitter of speech FR: être mauvaise langue |
ภาษา | [phāsā] (n) EN: language ; speech ; tongue ; lingo FR: langue [ f ] ; langage [ m ] ; idiome [ m ] ; jargon [ m ] ; parler [ m ] ; ramage [ m ] (fig.) |
ภาษาอัลกอล | [phāsā Alkøl] (n, prop) EN: Algol language FR: Langage Algol [ m ] |
ภาษาอังกฤษ | [phāsā Angkrit] (n) EN: English ; English language FR: anglais [ m ] ; langue anglaise [ f ] |
ภาษาอาหรับ | [phāsāĀrap] (n) EN: Arabic ; Arabic language FR: arabe [ m ] ; langue arabe [ f ] |
ภาษาแบบแผน | [phāsā baēpphaēn] (n, exp) EN: official language ; standard language ; formal language FR: langage conventionnel [ m ] |
ภาษาใบ้ | [phāsā bai] (n, exp) EN: sign language ; finger alphabet ; finger language FR: langage gestuel [ m ] |
ภาษาบาลี | [phāsā Bālī] (n, exp) EN: Pali ; Pali language FR: pali [ m ] |
ภาษาเบสิก | [phāsā Bēsik] (n, exp) EN: Basic language FR: langage Basic [ m ] |
languid | |
language | |
language | |
languish | |
languages | |
languages | |
languished | |
languishes | |
languishing |
langur | |
languid | |
languor | |
langurs | |
language | |
languish | |
languages | |
languidly | |
languished | |
languishes | |
languorous | |
languishing | |
languorously |
algebraic language | (n) an algorithmic language having statements that resemble algebraic expressions |
algorithmic language | (n) an artificial language designed to express algorithms |
application-oriented language | (n) a language whose statements resemble terminology of the user, Syn. problem-oriented language |
artificial language | (n) a language that is deliberately created for a specific purpose, Ant. natural language |
assembly language | (n) a low-level programing language; close approximation to machine language |
authoring language | (n) software that can be used to develop interactive computer programs without the technically demanding task of computer programming |
body language | (n) communication via the movements or attitudes of the body |
clangula | (n) a genus of ducks, Syn. genus Clangula |
command language | (n) a source language consisting of procedural operators that invoke functions to be executed, Syn. search language, query language |
computer language | (n) a programming language designed for use on a specific class of computers, Syn. computer-oriented language, machine language, machine-oriented language |
contour language | (n) a tone language that uses pitch changes |
dead language | (n) a language that is no longer learned as a native language |
high-level language | (n) a problem-oriented language requiring little knowledge of the computer on which it will be run |
hypertext markup language | (n) a set of tags and rules (conforming to SGML) for using them in developing hypertext documents, Syn. hypertext mark-up language, HTML |
indigenous language | (n) a language that originated in a specified place and was not brought to that place from elsewhere |
job-control language | (n) a problem-oriented language used to describe job requirements to an operating system |
language | (n) a systematic means of communicating by the use of sounds or conventional symbols, Syn. linguistic communication |
language | (n) the mental faculty or power of vocal communication, Syn. speech |
language area | (n) a large cortical area (in the left hemisphere in most people) containing all the centers associated with language, Syn. language zone |
language barrier | (n) barrier to communication resulting from speaking different languages |
language learning | (n) learning to use a language |
language lesson | (n) a period of instruction learning a language |
language requirement | (n) a requirement that a student know certain languages |
language school | (n) a school for teaching foreign languages |
language system | (n) a system of linguistic units or elements used in a particular language |
language teaching | (n) teaching people to speak and understand a foreign language |
language unit | (n) one of the natural units into which linguistic messages can be analyzed, Syn. linguistic unit |
langue d'oc | (n) medieval provincial dialects of French formerly spoken in the south of France, Syn. Langue d'oc French |
languedoc-roussillon | (n) a region in south central France; named after the medieval dialect of French that was spoken there |
langue d'oil | (n) medieval provincial dialects of French spoken in central and northern France, Syn. Langue d'oil French |
languidly | (adv) in a languid and lethargic manner |
languish | (v) become feeble, Syn. fade |
languisher | (n) a person who languishes |
languor | (n) a relaxed comfortable feeling, Syn. dreaminess |
languor | (n) a feeling of lack of interest or energy, Syn. lassitude, listlessness |
languor | (n) inactivity; showing an unusual lack of energy, Syn. phlegm, sluggishness, lethargy, flatness |
languorously | (adv) in a languorous manner |
langur | (n) slender long-tailed monkey of Asia |
markup language | (n) a set of symbols and rules for their use when doing a markup of a document |
merlangus | (n) whitings, Syn. genus Merlangus |
metalanguage | (n) a language that can be used to describe languages |
multidimensional language | (n) a programming language whose expressions are assembled in more than one dimension, Ant. one-dimensional language |
native language | (n) the language that a person has spoken from earliest childhood |
natural language | (n) a human written or spoken language used by a community; opposed to e.g. a computer language, Syn. tongue, Ant. artificial language |
natural language processing | (n) the branch of information science that deals with natural language information, Syn. human language technology, NLP |
natural language processor | (n) an application program that deals with natural language text, Syn. natural language processing application |
object language | (n) a computer language into which something written in another computer language is to be translated, Syn. target language |
object language | (n) the language into which a text written in another language is to be translated, Syn. target language |
object-oriented programming language | (n) (computer science) a programming language that enables the programmer to associate a set of procedures with each type of data structure, Syn. object-oriented programing language |
one-dimensional language | (n) a programming language whose expressions are represented by strings of characters, Ant. multidimensional language |
American sign language | n. a sign language, used in the United States mostly by the deaf or for communication with the deaf, in which gestures made with the hands symbolize words, alphabetical letters, or ideas, permitting rapid communication in the absence of speech. |
assembly language | n. |
higher programming language | n. (Computers) A computer programming language with an instruction set allowing one instruction to code for several assembly language instructions. The aggregation of several assembly-language instructions into one instruction allows much greater efficiency in writing computer programs. Most programs are now written in some higher programming language, such as |
Indo-do-Chinese languages | . A family of languages, mostly of the isolating type, although some are agglutinative, spoken in the great area extending from northern India in the west to Formosa in the east and from Central Asia in the north to the Malay Peninsula in the south. [ Webster 1913 Suppl. ] |
job control language | (Computers) A programming language used to specify the manner, timing, and other requirements of execution of a task or set of tasks submitted for execution, especially in background, on a multitasking computer; a programming language for controlling job{ 7 } execution. Abbreviated JCL. [ PJC ] |
Language | n. [ OE. langage, F. langage, fr. L. lingua the tongue, hence speech, language; akin to E. tongue. See Tongue, cf. Lingual. ] [ 1913 Webster ] ☞ Language consists in the oral utterance of sounds which usage has made the representatives of ideas. When two or more persons customarily annex the same sounds to the same ideas, the expression of these sounds by one person communicates his ideas to another. This is the primary sense of language, the use of which is to communicate the thoughts of one person to another through the organs of hearing. Articulate sounds are represented to the eye by letters, marks, or characters, which form words. [ 1913 Webster ] Others for language all their care express. Pope. [ 1913 Webster ] There was . . . language in their very gesture. Shak. [ 1913 Webster ] All the people, the nations, and the languages, fell down and worshiped the golden image. Dan. iii. 7. [ 1913 Webster ] ☞ Computer
|
Language | v. t. Others were languaged in such doubtful expressions that they have a double sense. Fuller. [ 1913 Webster ] |
Languaged | a. Having a language; skilled in language; -- chiefly used in composition. “ Many-languaged nations.” Pope. [ 1913 Webster ] |
Languageless | a. Lacking or wanting language; speechless; silent. Shak. [ 1913 Webster ] |
Langued | a. [ F. langue tongue. See Language. ] (Her.) Tongued; having the tongue visible. [ 1913 Webster ] Lions . . . represented as armed and langued gules. Cussans. [ 1913 Webster ] |
Langue d'oc | ‖pos>n. [ F., language of oc yes. ] The dialect, closely akin to French, formerly spoken south of the Loire (in which the word for “yes” was |
Langue d'oil | ‖ [ F., language of oïl yes. ] The dialect formerly spoken north of the Loire (in which the word for “yes” was |
Languente | ‖adv. [ It., p. pr. of languire. See Languish. ] (Mus.) In a languishing manner; pathetically. [ 1913 Webster ] |
Languet | n. [ F. languette, dim. of langue tongue, L. lingua. ] |
Languid | a. [ L. languidus, fr. languere to be faint or languid: cf. F. languide. See Languish. ] [ 1913 Webster ] Fire their languid souls with Cato's virtue. Addison. [ 1913 Webster ] Feebly she laugheth in the languid moon. Keats. [ 1913 Webster ] Their idleness, aimless flirtations and languid airs. W. Black. -- |
Languish | v. i. We . . . do languish of such diseases. 2 Esdras viii. 31. [ 1913 Webster ] Cease, fond nature, cease thy strife, For the fields of Heshbon languish. Is. xvi. 8. [ 1913 Webster ] |
Languish | v. i. To cause to droop or pine. [ Obs. ] Shak. Dryden. [ 1913 Webster ] |
Languish | n. See Languishment. [ Obs. or Poetic ] [ 1913 Webster ] What, of death, too, And the blue languish of soft Allia's eye. Pope. [ 1913 Webster ] |
Languisher | n. One who languishes. [ 1913 Webster ] |
Languishing | a. |
Languishingly | adv. In a languishing manner. [ 1913 Webster ] |
Languishment | n. |
Languishness | n. Languishment. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] |
Languor | n. [ OE. langour, OF. langour, F. langueur, L. languor. See Languish. ] Sick men with divers languors. Wyclif (Luke iv. 40). [ 1913 Webster ] |
Languorous | a. [ From Languor: cf. F. langoureux. ] Producing, or tending to produce, languor; characterized by languor. [ Obs. or Poetic ] [ 1913 Webster ] Whom late I left in languorous constraint. Spenser. [ 1913 Webster ] To wile the length from languorous hours, and draw |
Langure | v. i. To languish. [ Obs. ] Chaucer. [ 1913 Webster ] |
machine language | n. (Computers) a set of instructions{ 3 } in a binary form that can be executed directly by the CPU of a computer without translation by a computer program. |
machine-oriented language | n. A programming language designed for use on a specific class of computers. |
metalanguage | n. Any language that can be used to describe another language or system of symbols. [ WordNet 1.5 ] |
Overlanguaged | a. Employing too many words; diffuse. Lowell. [ 1913 Webster ] |
Sea language | The peculiar language or phraseology of seamen; sailor's cant. [ 1913 Webster ] |
sign language | n. A form of language for communicating by use of gestures made by the hands, rather than by speech. It includes alphabets made by hand gestures, as well as proper languages formed from signs. Among the latter is the |
Target language | n. the language into which a text is to be translated; -- correlative of [ 1913 Webster ] |
种 | [种 / 種] seed; breed; species; race; strain; kind; type; sort; classifier meaning kind, type, sort; classifier for languages #113 [Add to Longdo] |
话 | [话 / 話] dialect; language; spoken words; speech; talk; words; conversation; what sb said #204 [Add to Longdo] |
场 | [场 / 場] threshing floor; classifier for events and happenings; classifier for number of some languages and actions (cannot be followed by a noun) #247 [Add to Longdo] |
文 | [文] language; culture; writing; formal; literary; gentle; surname Wen #534 [Add to Longdo] |
语 | [语 / 語] dialect; language; speech #1,563 [Add to Longdo] |
语言 | [语 言 / 語 言] (spoken) language #1,658 [Add to Longdo] |
英语 | [英 语 / 英 語] English (language) #1,967 [Add to Longdo] |
噶 | [噶] phonetic ga (used in rendering Tibetan and Mongolian sounds); Tibetan Ge: language of Buddha; dialect final particle (esp. in Yunnan) similar to 了 le #2,150 [Add to Longdo] |
操 | [操] to grasp; to hold; to operate; to manage; to control; to steer; to exercise; to drill (practice); to play; to speak (a language) #2,633 [Add to Longdo] |
文字 | [文 字] character; script; writing; written language; writing style; phraseology #2,744 [Add to Longdo] |
中文 | [中 文] Chinese language #3,482 [Add to Longdo] |
语文 | [语 文 / 語 文] literature and language #4,723 [Add to Longdo] |
汉语 | [汉 语 / 漢 語] Chinese language #5,366 [Add to Longdo] |
辞 | [辞 / 辭] refined language; wording; poetic genre (so far, interchangeable with 詞|词); to take leave; to resign; to dismiss; to decline #5,667 [Add to Longdo] |
外语 | [外 语 / 外 語] foreign language #6,933 [Add to Longdo] |
普通话 | [普 通 话 / 普 通 話] Mandarin (common language); Putonghua (common speech of the Chinese language); ordinary speech #8,288 [Add to Longdo] |
英文 | [英 文] English (language) #8,478 [Add to Longdo] |
切口 | [切 口] slang; argot; private language used as secret code #9,368 [Add to Longdo] |
词汇 | [词 汇 / 詞 彙] vocabulary; list of words (e.g. for language teaching purposes) #9,757 [Add to Longdo] |
粤语 | [粤 语 / 粵 語] Cantonese language #10,713 [Add to Longdo] |
日语 | [日 语 / 日 語] Japanese language #12,022 [Add to Longdo] |
口语 | [口 语 / 口 語] colloquial speech; spoken language; vernacular language; slander; gossip #12,174 [Add to Longdo] |
中国日报 | [中 国 日 报 / 中 國 日 報] China Daily (an English language newspaper) #12,520 [Add to Longdo] |
华语 | [华 语 / 華 語] Chinese language #13,381 [Add to Longdo] |
半岛 | [半 岛 / 半 島] peninsula; Al Jazeera (Arabic-language news network) #13,594 [Add to Longdo] |
法语 | [法 语 / 法 語] French (language) #15,980 [Add to Longdo] |
国语 | [国 语 / 國 語] Chinese language (Mandarin), emphasizing its national nature; Chinese as a primary or secondary school subject; Chinese in the context of the Nationalist Government; Guoyu, book of historical narrative c. 10th-5th century BC #16,307 [Add to Longdo] |
外国语 | [外 国 语 / 外 國 語] a foreign language #17,249 [Add to Longdo] |
中文版 | [中 文 版] Chinese (language) version #18,177 [Add to Longdo] |
脏话 | [脏 话 / 髒 話] profanity; obscene language; speaking rudely #19,523 [Add to Longdo] |
日文 | [日 文] Japanese (language) #19,660 [Add to Longdo] |
粗口 | [粗 口] swear words; obscene language #21,238 [Add to Longdo] |
雅思 | [雅 思] IELTS (International English Language Testing System) #23,049 [Add to Longdo] |
母语 | [母 语 / 母 語] native language; mother language #24,027 [Add to Longdo] |
德语 | [德 语 / 德 語] German (language) #24,448 [Add to Longdo] |
外文 | [外 文] foreign language (written) #24,851 [Add to Longdo] |
语声 | [语 声 / 語 聲] spoken language; sound of speaking #25,105 [Add to Longdo] |
古文 | [古 文] old language; the Classics; classical Chinese as a literary model, esp. in Tang and Song prose; classical Chinese as a school subject #25,290 [Add to Longdo] |
比划 | [比 划 / 比 劃] to gesture; to use sign language; to gesticulate; to engage in body combat or martial art; to come to blows #25,531 [Add to Longdo] |
俄语 | [俄 语 / 俄 語] Russian (language) #25,771 [Add to Longdo] |
托福 | [托 福] TOEFL; Test of English as a Foreign Language #27,011 [Add to Longdo] |
语种 | [语 种 / 語 種] language type (in a classification) #27,591 [Add to Longdo] |
白话 | [白 话 / 白 話] spoken language; vernacular #28,808 [Add to Longdo] |
华文 | [华 文 / 華 文] Chinese language; Chinese script #29,060 [Add to Longdo] |
广东话 | [广 东 话 / 廣 東 話] Cantonese language #30,468 [Add to Longdo] |
手语 | [手 语 / 手 語] sign language #31,020 [Add to Longdo] |
西班牙语 | [西 班 牙 语 / 西 班 牙 語] Spanish language #31,775 [Add to Longdo] |
凋谢 | [凋 谢 / 凋 謝] languish #35,462 [Add to Longdo] |
阿拉伯语 | [阿 拉 伯 语 / 阿 拉 伯 語] Arabic (language) #37,701 [Add to Longdo] |
藏语 | [藏 语 / 藏 語] Tibetan language #37,761 [Add to Longdo] |
言語 | [げんご, gengo] TH: ภาษา EN: language |
日本語 | [にほんご, nihongo] TH: ภาษาญี่ปุ่น EN: Japanese language |
文語 | [ぶんご, bungo] TH: ภาษาเขียน EN: written language |
文語 | [ぶんご, bungo] TH: ภาษาในวรรณกรรม EN: literary language |
中国語 | [ちゅうごくご, chuugokugo] TH: ภาษาจีน EN: Chinese language |
日本語 | [にほんご(P);にっぽんご, nihongo (P); nippongo] (n, adj-no) Japanese (language); (P) #114 [Add to Longdo] |
語 | [ご, go] (n, n-suf) (1) language; (2) word; (P) #238 [Add to Longdo] |
英語 | [えいご, eigo] (n, adj-no) English (language); (P) #399 [Add to Longdo] |
言語 | [げんご(P);ごんご, gengo (P); gongo] (n) { ling } language; (P) #708 [Add to Longdo] |
言葉(P);詞;辞 | [ことば(P);けとば(言葉)(ok), kotoba (P); ketoba ( kotoba )(ok)] (n) (1) language; dialect; (2) word; words; phrase; term; expression; remark; (3) speech; (manner of) speaking; (P) #894 [Add to Longdo] |
段 | [だん, dan] (n) (1) step; stair; (flight of) steps; (row of) stitches; columns (of print); (2) grade; rank; level; (ctr) (3) counter for breaks in written language (or speech, etc.); (P) #965 [Add to Longdo] |
使う(P);遣う | [つかう, tsukau] (v5u, vt) (1) to use (a thing, method, etc.); to make use of; to put to use; (2) (See 人使い) to use (a person, animal, puppet, etc.); to employ; to handle; to manage; to manipulate; (3) to use (time, money, etc.); to spend; to consume; (4) (See 言葉遣い) to use (language); to speak; (5) (id) to take (one's lunch); to circulate (bad money); (P) #1,049 [Add to Longdo] |
区域 | [くいき, kuiki] (n) (1) limits; boundary; domain; zone; sphere; territory; (2) area (e.g. in programming languages); (P) #1,620 [Add to Longdo] |
原語 | [げんご, gengo] (n) original word; original language #2,410 [Add to Longdo] |
フランス語 | [フランスご, furansu go] (n) French (language); (P) #3,430 [Add to Longdo] |
国語 | [こくご, kokugo] (n) (1) national language; (2) (See 国語科) Japanese language (often as a school subject); (3) native Japanese words (as opposed to loanwords); (P) #5,373 [Add to Longdo] |
話す(P);咄す | [はなす, hanasu] (v5s, vt) (1) to talk; to speak; to converse; to chat; (2) to tell; to explain; to narrate; to mention; to describe; to discuss; (3) to speak (a language); (P) #5,623 [Add to Longdo] |
中国語 | [ちゅうごくご, chuugokugo] (n) Chinese (language) #5,924 [Add to Longdo] |
辞令 | [じれい, jirei] (n) (1) notice of personnel change (appointment, dismissal, etc.); (2) wording; choice of language; phraseology; (P) #6,371 [Add to Longdo] |
読本 | [よみほん, yomihon] (n) (1) (See 入門書) reading-book; reader; guidebook; manual; (2) (original meaning) textbook (esp. a pre-war elementary school Japanese language textbook); (P) #6,978 [Add to Longdo] |
和解 | [わかい(P);わげ, wakai (P); wage] (n, vs, adj-no) (1) reconciliation; settlement; accommodation; compromise; mediation; rapprochement; (2) (わかい only) (legal) settlement; (3) (arch) translation of a foreign language into Japanese; (P) #7,237 [Add to Longdo] |
ラボ | [rabo] (n) (1) (abbr) laboratory; (2) language laboratory; (P) #7,871 [Add to Longdo] |
操る | [あやつる, ayatsuru] (v5r, vt) (1) to manipulate; to operate; to handle; to operate (e.g. a machine); to steer (a ship); (2) to have a good command of (a language); to be fluent in; (3) to operate a puppet; to pull the strings of a puppet; (4) to mastermind; to pull the strings; to control from the shadows; (5) (arch) to play (a musical instrument); (P) #8,677 [Add to Longdo] |
駆使 | [くし, kushi] (n) (1) free use; (vs) (2) to use freely; to make free use of; to have good command (e.g. of a language); (3) to drive someone on; (P) #10,246 [Add to Longdo] |
語族 | [ごぞく, gozoku] (n) family of languages #10,515 [Add to Longdo] |
アクセント | [akusento] (n) (1) accent (in language); (2) stress; highlight; accent; (P) #10,593 [Add to Longdo] |
訳語 | [やくご, yakugo] (n) translational equivalent; term(s) used in translation; gloss; equivalent term in another language #10,687 [Add to Longdo] |
蝦夷 | [えぞ;えみし(ok), ezo ; emishi (ok)] (n) (1) peoples formerly of northern Japan with distinct language and culture (i.e. the Ainu); (2) (えぞ only) (See 蝦夷地) Yezo (northern part of Meiji-era Japan, esp. Hokkaido, but also Sakhalin and the Kuril Islands) #11,941 [Add to Longdo] |
ルビー(P);ルビ(P) | [rubi-(P); rubi (P)] (n) (1) (esp. ルビー) ruby; (2) (esp. ルビ) ruby character; small hiragana or katakana readings of kanji usually above or to the side of the kanji (esp. used by printers and in ref. to printed material); (3) { comp } Ruby (programming language); (P) #12,192 [Add to Longdo] |
語学 | [ごがく, gogaku] (n) language study; (P) #12,252 [Add to Longdo] |
夷;戎 | [えびす, ebisu] (n) (1) (arch) (See 蝦夷) peoples formerly of northern Japan with distinct language and culture (i.e. the Ainu); (2) provincial (i.e. a person who lives far from the city); (3) brutish, unsophisticated warrior (esp. used by Kyoto samurai to refer to samurai from eastern Japan); (4) (derog) foreigner; barbarian #13,165 [Add to Longdo] |
口語 | [こうご, kougo] (n, adj-no) (1) (See 文語) spoken language; (2) literary style based on (modern) spoken language; (P) #16,043 [Add to Longdo] |
母語 | [ぼご, bogo] (n) mother tongue; native language #16,286 [Add to Longdo] |
手話 | [しゅわ, shuwa] (n) sign language; (P) #16,483 [Add to Longdo] |
2か国語;2ヶ国語;二ヶ国語;二か国語;二カ国語;二ヵ国語;二箇国語 | [にかこくご, nikakokugo] (adj-no) bilingual; in two languages [Add to Longdo] |
ALT | [エイエルティー, eierutei-] (exp) assistant language teacher (technical term used in Japan); ALT [Add to Longdo] |
C言語 | [シーげんご, shi-gengo] (n) { comp } C programming language [Add to Longdo] |
HTML | [エッチティーエムエル, ecchitei-emueru] (n) { comp } hypertext markup language; HTML [Add to Longdo] |
LL | [エルエル, erueru] (n) language laboratory; LL [Add to Longdo] |
NULLPO | [ぬるぽ;ヌルポ;なるぽ;ナルポ, nurupo ; nurupo ; narupo ; narupo] (n) (uk) (sl) null pointer exception (in the Java programming language) [Add to Longdo] |
TOEFL | [トーフル;トフル;トッフル, to-furu ; tofuru ; toffuru] (n) Test of English as a Foreign Language; TOEFL [Add to Longdo] |
XML | [エックスエムエル, ekkusuemueru] (n) { comp } (See HTML) extensible markup language; XML [Add to Longdo] |
ありんすことば | [arinsukotoba] (n) language used by the harlots of the Yoshiwara red light district during the Edo period [Add to Longdo] |
お国言葉;御国言葉 | [おくにことば, okunikotoba] (n) (pol) (See 国言葉) national language; local dialect [Add to Longdo] |
だらける | [darakeru] (v1, vi) to be lazy; to be slack; to feel dull; to feel languid; to feel listless [Add to Longdo] |
だらり;だらん | [darari ; daran] (adv-to) (on-mim) languidly; loosely [Add to Longdo] |
ちゃんぽん語 | [ちゃんぽんご, chanpongo] (n) words from another language [Add to Longdo] |
アイスランド語 | [アイスランドご, aisurando go] (n) Icelandic (language) [Add to Longdo] |
アイヌ語 | [アイヌご, ainu go] (n) Ainu (language) [Add to Longdo] |
アイルランド語 | [アイルランドご, airurando go] (n) Irish (language); Erse [Add to Longdo] |
アセンブラ言語 | [アセンブラげんご, asenbura gengo] (n) { comp } assembly language [Add to Longdo] |
アセンブリー言語 | [アセンブリーげんご, asenburi-gengo] (n) assembly language [Add to Longdo] |
アセンブリー言葉 | [アセンブリーことば, asenburi-kotoba] (n) assembly language [Add to Longdo] |
アセンブリ言語 | [アセンブリげんご, asenburi gengo] (n) { comp } assembly language [Add to Longdo] |
アゼルバイジャン語 | [アゼルバイジャンご, azerubaijan go] (n) Azerbaijani (language) [Add to Longdo] |
アセンブラ言語 | [アセンブラげんご, asenbura gengo] assembly language [Add to Longdo] |
アセンブリ言語 | [アセンブリげんご, asenburi gengo] assembly language [Add to Longdo] |
インタプリータ型言語 | [インタプリータかたげんご, intapuri-ta katagengo] interpretive language [Add to Longdo] |
インタプリタ型言語 | [インタプリタかたげんご, intapurita katagengo] interpretive language [Add to Longdo] |
オブジェクト指向言語 | [オブジェクトしこうげんご, obujiekuto shikougengo] object- oriented language [Add to Longdo] |
コボル | [こぼる, koboru] COBOL, Common Business Oriented Language [Add to Longdo] |
コンパイラー言葉 | [コンパイラーことば, konpaira-kotoba] compiler language [Add to Longdo] |
コンピュータ依存言語 | [コンピュータいぞんげんご, konpyu-ta izongengo] computer-dependent language [Add to Longdo] |
ジョブ制御言語 | [ジョブせいぎょげんご, jobu seigyogengo] Job Control Language, JCL [Add to Longdo] |
データ記述言語 | [データきじゅつげんごう, de-ta kijutsugengou] Data Description Language (DDL) [Add to Longdo] |
データ記述言語 | [データきじゅつげんごう, de-ta kijutsugengou] DDL, Data Description Language [Add to Longdo] |
データ操作言語 | [データそうさげんごう, de-ta sousagengou] Data Manipulation Language, DML [Add to Longdo] |
データ操作言語 | [データそうさげんごう, de-ta sousagengou] DML, Data Manipulation Language [Add to Longdo] |
データ定義言語 | [データていぎげんご, de-ta teigigengo] Data Definition Language, DDL [Add to Longdo] |
ドキュメンテーション言語 | [ドキュメンテーションげんご, dokyumente-shon gengo] documentary language [Add to Longdo] |
ハイパメディア及び時間依存情報の構造化言語 | [ハイパメディアおよびじかんいぞんじょうほうのこうぞうかげんご, haipamedeia oyobijikan'izonjouhounokouzoukagengo] Hypermedia, Time-based Structuring Language, HyTime [Add to Longdo] |
ピクチャ | [ぴくちゃ, pikucha] picture (e.g. in programming languages) [Add to Longdo] |
プログラミング言語 | [プログラミングげんご, puroguramingu gengo] programming language [Add to Longdo] |
プログラム言語 | [プログラムげんご, puroguramu gengo] programming language [Add to Longdo] |
ページ記述言語 | [ページきじゅつげんご, pe-ji kijutsugengo] Page Description Language, PDL [Add to Longdo] |
マシン語 | [マシンご, mashin go] machine language [Add to Longdo] |
ランゲージラボラトリー | [らんげーじらぼらとりー, range-jiraboratori-] language laboratory, LL [Add to Longdo] |
会話型言語 | [かいわけいげんごう, kaiwakeigengou] conversational language [Add to Longdo] |
解釈型言語 | [かいしゃくかたげんご, kaishakukatagengo] interpretive language [Add to Longdo] |
開発言語 | [かいはつげんご, kaihatsugengo] development language [Add to Longdo] |
関数型言語 | [かんすうがたげんご, kansuugatagengo] functional language [Add to Longdo] |
関数形言語 | [かんすうがたげんご, kansuugatagengo] functional language [Add to Longdo] |
機械語 | [きかいご, kikaigo] machine language, machine word, computer word [Add to Longdo] |
記号型言語 | [きごうかたげんご, kigoukatagengo] symbolic language [Add to Longdo] |
区域 | [くいき, kuiki] area (e.g. in programming languages) [Add to Longdo] |
計算機依存言語 | [けいさんきいぞんげんごう, keisankiizongengou] computer-dependent language [Add to Longdo] |
計算機設計言語 | [けいさんきせっけいげんごう, keisankisekkeigengou] CDL, Computer Design Language [Add to Longdo] |
決定性言語 | [けっていせいげんごう, ketteiseigengou] deterministic language [Add to Longdo] |
原始言語 | [げんしげんご, genshigengo] source language [Add to Longdo] |
言語 | [げんご, gengo] language [Add to Longdo] |
言語トランスレータ | [げんごトランスレータ, gengo toransure-ta] language translator [Add to Longdo] |
言語プロセッサ | [げんごぷろせっさ, gengopurosessa] language processor [Add to Longdo] |
言語結合 | [げんごけつごう, gengoketsugou] language binding [Add to Longdo] |
言語構成要素 | [げんごこうせいようそ, gengokouseiyouso] language construct [Add to Longdo] |
言語処理系 | [げんごしょりけい, gengoshorikei] language processor [Add to Longdo] |
言語対象 | [げんごたいしょう, gengotaishou] language object [Add to Longdo] |
言語表示 | [げんごひょうじ, gengohyouji] language indication [Add to Longdo] |
言語名 | [げんごめい, gengomei] language-name [Add to Longdo] |
言語要素 | [げんごようそ, gengoyouso] language construct, entity [Add to Longdo] |
公開文言語 | [こうかいぶんげんご, koukaibungengo] public text language [Add to Longdo] |
構造化言語 | [こうぞうかげんご, kouzoukagengo] structured language [Add to Longdo] |
構造化照会言語 | [こうぞうかしょうかいげんご, kouzoukashoukaigengo] SQL, Structured Query Language [Add to Longdo] |
高級言語 | [こうきゅうげんご, koukyuugengo] high-level language [Add to Longdo] |
高水準言語 | [こうすいじゅんげんご, kousuijungengo] high-level language [Add to Longdo] |
索引言語 | [さくいんげんご, sakuingengo] indexing language [Add to Longdo] |
獲得 | [かくとく, kakutoku] Erwerbung, Erlangung [Add to Longdo] |