Libra | (n) กลุ่มดาวตราชั่ง |
Libra | (n) คนที่เกิดในราศีตุล, Syn. Libran |
Libra | (n) ราศีตุล, See also: จักรราศีตุล |
Libran | (n) คนที่เกิดในราศีตุล, Syn. Libra |
library | (n) การเก็บต้นฉบับ สิ่งพิมพ์ เทป หรือวัสดุในการค้นคว้าวิจัย |
library | (n) การเก็บรวมโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ |
library | (n) ห้องสมุด, See also: หอสมุด, หอเก็บหนังสือ |
calibrate | (vt) แสดงเครื่องหมายการวัด |
librarian | (n) บรรณารักษ์ |
equilibrate | (vt) ทำให้สมดุล, See also: ทำให้เท่ากัน, ทำให้อยู่ในสภาพที่สมดุล, Syn. stabilize |
equilibrate | (vi) สมดุลกัน, See also: เท่ากัน, Syn. stabilize |
equilibrator | (n) เครื่องมือที่ช่วยรักษาความสมดุล |
librarianship | (n) ตำแหน่งบรรณารักษ์ |
librarianship | (n) บรรณารักษ์ศาสตร์, Syn. librarian science |
mobile library | (n) ห้องสมุดเคลื่อนที่ |
library science | (n) บรรณารักษ์ศาสตร์, Syn. library science |
Library of Congress | (n) ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในรัฐวอชิงตัน |
calibrate | (แคล'ลีเบรท) { calibrated, calibrating, calibrates } vt. ตรวจตา, วัด, หาค่าแบ่งออกเป็นขีด ๆ , ทำให้เป็นมาตรฐาน, See also: calibrator, calibrater n. |
librarian | (ไลแบร'เรียน) n. บรรณารักษ์., See also: librarianship n. ดูlibrarian |
library | (ไล'บรารี) n. ห้องสมุด, หอเก็บหนังสือ, การเก็บรวมโปรแกรมมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ |
library card | n. บัตรยืมหนังสือจากห้องสมุด |
library of congress | n. ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน |
private library | คลังชุดคำสั่งส่วนตัวหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน program library |
program library | คลังโปรแกรมหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน private library |
librarian | (n) บรรณารักษ์ |
library | (n) หอสมุด, ห้องสมุด |
private library | คลัง(โปรแกรม)ส่วนตัว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
program library; library | คลัง(โปรแกรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
program library; library | คลัง(โปรแกรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pelecypod; lamellibranch | หอยกาบคู่ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
library; program library | คลัง(โปรแกรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
library; program library | คลัง(โปรแกรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
library routine | รูทีนจากคลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
library subroutine | ซับรูทีนจากคลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
library tape | แถบบันทึกจากคลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
lamellibranch; pelecypod | หอยกาบคู่ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
system library | คลังโปรแกรมระบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
subroutine library | คลังซับรูทีน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
object library | คลังจุดหมาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
occlusal equilibration | การปรับดุลการบดเคี้ยว [ ดู occlusal adjustment; occlusal correction ๒ ประกอบ ] [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mandibular equilibration | การทำให้ขากรรไกรล่างสมดุล [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
macrolibrary | คลังแมโคร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
calibrated circuit breaker | ตัวตัดวงจรปรับพิกัดแล้ว [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
calibration | การเทียบมาตรฐาน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
calibration | การเทียบมาตรฐาน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
depository library | ห้องสมุดรับฝาก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
equilibration | การรักษาสมดุล, การปรับสมดุล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
equilibration | การทำให้สมดุล [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
equilibrator | เครื่องมือทำให้สมดุล [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
tape library | คลังแถบบันทึก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
test library | คลังโปรแกรมทดสอบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Integrated Library Systems | ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ, Example: ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ เป็นระบบที่ทำงานร่วมกันระหว่างชุดโปรแกรมที่ประกอบด้วยโมดูลต่างๆ หรือระบบย่อยตามลักษณะงานพื้นฐานของห้องสมุด ได้แก่ งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (Acquisition module) งานควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serial control) งานทำรายการทรัพทยากรสารสนเทศ (Cataloging module) การสืบค้นทางออนไลน์ (Online Public Access Catalog-OPAC) และงานบริการยืม-คืน (Circulation module) <p> <p>การทำงานที่สัมพันธ์ (โดยย่อ) เริ่มจาก <p> <p>1. การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ เช่น การจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ นำรายการของทรัพยากรสารสนเทศ ข้อมูลของร้านค้าหนังสือ ข้อมูลของราคา (อัตราแลกเปลี่ยน) ข้อมูลของงบประมาณที่ได้รับสำหรับการจัดหา งานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศสามารถควบคุมงบประมาณที่ได้รับจากการที่ระบบสามารถตัดยอดงบประมาณที่ได้ดำเนินการไปแล้ว สามารถติดต่อร้านค้าตามข้อมูลที่ลงไว้ในระบบ และลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม (ตั้งต้น) ของทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมสถานะของรายการนั้นๆ ว่าอยู่ในระหว่างการจัดซื้อ การส่งไปยังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ รายการต่างๆ แม้ว่าจะลงรายการทางบรรณานุกรม ยังไม่ครบถ้วน แต่ผู้ใช้สามารถสืบค้นและเห็นรายการดังกล่าว ผ่านโมดูล OPAC แต่สถานะจะเป็นตัวบ่งบอกว่าอยู่ในกระบวนการใด <p> <p>2. งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ดึงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ทางงานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ บันทึกไว้ในระบบ เพื่อลงรายการทางบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ (MARC) อย่างครบถ้วน ถูกต้อง พร้อมเปลี่ยนสถานะของรายการนั้นๆ เป็นให้บริการที่ชั้นหนังสือ (Check shelf available) และส่งทรัพยากรสารสนเทศที่ลงรายการทางบรรณานุกรมในระบบผ่านโมดูล Cataloging เรียบร้อยไปยังงานบริการเพื่อขึ้นชั้นให้บริการ รายการทางบรรณานุกรมที่ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะสามารถสืบค้นผ่านโมดูล OPAC <p> <p>3. ผู้ใช้สามารถสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการใช้ผ่านโมดูล OPAC และนำมายืมผ่านโมดูล Circulation <p> <p>4. โมดูล Circulation อำนวยความสะดวกในการให้ยืม คืน จอง ต่ออายุ ทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมทั้งคำนวณการปรับค่าหนังสือที่ค้างการคืน และพิมพ์ใบเสร็จรับเงินค่าปรับ <p> <p>5. ในส่วนของวารสาร ซึี่่งเป็นงานที่มีความซับซ้อนมาก จะมีโมดูล Serial control ในการบันทึกรายการวารสารที่เข้ามาแล้ว ต้องติดตามทวงถาม การเย็มเล่ม <p> <p>เริ่มมีการนำระบบห้องสมุดแบบบูรณาการมาใช้ให้ห้องสมุดตั้งแต่ ค.ศ. 1981 เมื่อ University of Florida ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปโนทิส (NOTIS-Northwestern Online Total Integrated System) เป็นครั้งแรก และหลังจากนั้นก็มีระบบห้องสมุดแบบบูรณาการเกิดขึ้นอีกมากมายและจำนวนห้องสมุดที่หันมาใช้ระบบดังกล่าวก็เพิ่มขึ้นทั่วโลก นับเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างมากสำหรับห้องสมุดในการเปลี่ยนจากระบบห้องสมุดแบบเดิม มาเป็นระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ <p> <p>ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการในปัจจุบัน มีทั้งเชิงพาณิชย์ และที่เป็นโปรแกรมโอเพนซอร์ส สำหรับโปรแกรมเชิงพาณิชย์ ได้แก่ อินโนแพค (INNOPAC) วีทีแอลเอส (VTLS) เป็นต้น แล้วแต่ความละเอียดของแต่ละโมดูลที่มีให้ และมีทั้งที่พัฒนาจากต่างประเทศและในประเทศไทย ส่วนโปรแกรมที่เป็นโอเพนซอร์ส ได้แก่ Koha, OpenBiblio เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Digital library | ห้องสมุดดิจิทัล [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Academic library | ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Agricultural library | ห้องสมุดการเกษตร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
American Library Association | สมาคมห้องสมุดอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Art library | ห้องสมุดศิลปะ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Economics library | ห้องสมุดเศรษฐศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Fishery library | ห้องสมุดประมง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Hospital library | ห้องสมุดโรงพยาบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Librarian | บรรณารักษ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Reference librarian | บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า, Example: Reference librarian หมายถึง บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มีหน้าที่ให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าหาคำตอบที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องการ และช่วยให้ผู้ใช้ห้องสมุดได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากหนังสือและวัสดุต่าง ๆ ของห้องสมุด <p> คุณสมบัติของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ <p> ศาสตราจารย์คุณหญิงแม้นมาศ ชวลิต ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับคุณสมบัติที่ดีของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ ไว้ดังนี้ <p> - มีความรู้เกี่ยวกับหนังสืออ้างอิงเป็นอย่างดี มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับแหล่งความรู้ที่มีอยู่ในห้องสมุด <p> - มีมนุษยสัมพันธ์อันดี <p> - มีความสนใจในวิชาการต่างๆ หมั่นศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ <p> - มีความอดทน พากเพียร <p> - มีไหวพริบดีในการรวบรวม วิเคราะห์ปัญหาว่าอยู่ในแนวใด ควรหาคำตอบจากแหล่งใด <p> - มีความจำดี <p> - มีจินตนาการดี รู้จักการยืดหยุ่น ไม่ฝังความคิดไว้ในด้านเดียว <p> - ช่างสังเกต รอบคอบ <p> - ตัดสินใจดี รู้จักเลือกแหล่งคำตอบที่เหมาะสม <p> - รู้จักวิธีการพูดคุย ซักถามอย่างเป็นกันเองกับผู้ใช้ <p> - กระตือรือร้นที่จะช่วยเหลือผู้ใช้อยู่เสมอ <p> การให้บริการของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ นอกจากการให้บริการที่โต๊ะให้บริการตอบคำถามแล้ว ยังสามารถให้บริการโดยทางโทรศัพท์ โดยทางอี-เมล์ หรือโดยผ่านการสนทนาทางออนไลน์ อย่างไรก็ตาม บทบาทของบริการตอบคำถามในปัจจุบันกำลังเปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ห้องสมุดสามารถใช้ Google และเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทางออนไลน์ได้มากขึ้น ดังนั้น บรรณารักษ์บริการตอบคำถามอาจไม่ต้องตอบคำถามหรือเก็บข้อมูลมากเหมือนในอดีต แต่ควรเน้นที่การให้คำแนะนำผู้ใช้ให้รู้จักวิธีค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ หรือช่วยแนะนำแหล่งความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัยต่อไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
School librarian | บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Scientific library | ห้องสมุดวิทยาศาสตร์, Example: <p>หากจัดแบ่งตามประเภทห้องสมุด ซึ่งมี 5 ประเภท คือ หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดเฉพาะ <p>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ จัดอยู่ในประเภทห้องสมุดเฉพาะ ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ให้บริการแก่ผู้ใช้เฉพาะกลุ่มหรือบางกลุ่มซึ่งเป็นผู้ที่ทำงานหรือศึกษาในสาขาวิชานั้น ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานราชการ องค์กรวิจัย เป็นต้น ทำหน้าที่จัดหาหนังสือ และให้บริการความรู้ ข้อมูล และข่าวสาร เฉพาะเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ <P>ที่ตั้งและสถานภาพของห้องสมุดวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ สังกัดมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา หรือ หน่วยงาน องค์กรวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <P>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ที่โดดเด่น เช่น ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book mobile library | ห้องสมุดเคลื่อนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Branch library | ห้องสมุดสาขา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library classification | การจัดหมู่หนังสือ, Example: เดิมห้องสมุดส่วนใหญ่จัดเก็บหนังสือ ตามขนาดของหนังสือ ตามสีของปก หรือตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ ต่อมา ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือขึ้น โดยแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ โดยมีพัฒนาการ ดังนี้ <p> <p>1. สมัยโบราณ <p><p> 1.1 ชาวอัสซีเรียน เชื่อกันว่า ชาวอัสซีเรียนเป็นพวกที่เริ่มวิธีการจัดหมู่อย่างเป็นแบบแผน ในสมัยพระเจ้าอัสซูบานิปาล มีการจัดกลุ่มแท่งดินเหนียวในห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ออกเป็น 2 หมวดใหญ่แบ่งตามเนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวทางโลก และ เรื่องราวทางสวรรค์ <p><p> 1.2 ชาวโรมัน ห้องสมุดในสมัยโรมัน มีการแบ่งแยกหนังสือตามประเภทของผู้เขียน เป็น 2 หมวด คือ หนังสือของพวกนักเขียนนอกศาสนา และหนังสือของพวกนักเขียนที่นับถือศาสนาคริสต์หรือนักบวช <p><p> 1.3 ชาวอียิปต์ คัลลิมาคัส ซึ่งเป็นบรรณารักษ์ของห้องสมุดอเล็กซานเดรีย จัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่ คือ กวีนิพนธ์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา วาทศิลป์ และเบ็ดเตล็ด <p> 2 สมัยกลาง อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก คิดระบบการจัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 3 ภาคได้แก่ <p><p> - ความรู้ภาคปฏิบัติ (Practical หรือ Ethical) ประกอบด้วย วิชาเศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ และนิติศาสตร์ <p><p> - ความรู้ในทางสร้างสรรค์ (Productive หรือ Creative) ประกอบด้วย วิชากวีนิพนธ์ และศิลปะ <p><p> - ความรู้ภาคทฤษฎี (Theoretical) ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และเทววิทยา <p> 3. สมัยศตวรรษที่ 16 คอนราด เกสเนอร์ (Conrad Gesner) เขียนหนังสือชื่อ Bibliotheca Universalis ซึ่งเป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือภาษาลาติน กรีก และฮินดู จัดเรียงตามรายชื่อหนังสือตามลำดับหัวข้อวิชา โดยแบ่งออกเป็น 21 หัวข้อ <p> 4. สมัยศตวรรษที่ 17 เซอร์ ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) ได้เขียนหนังสือชื่อ The Advancement of Learning ขึ้นในปี ค.ศ. 1605 โดยเบคอนมีความคิดว่า มนุษย์มีความรู้สึกนึกคิดเป็น 3 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีผลทำให้เกิดความรู้ขึ้น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ความจำ (Memory) ทำให้เกิดวิชาประวัติศาสตร์ ส่วนที่ 2 จินตนาการ (Imagination) ทำให้เกิดวิชาร้อยกรอง และ ส่วนที่ 3 เหตุผล (Reason) ทำให้เกิดวิชาปรัชญา <p> จากแนวความคิดนี้เอง ประธานาธิบดี โธมัส เจฟเฟอสัน (Thomas Jefferson) แห่งสหรัฐอเมริกา ได้นำมาจัดทำเป็นระบบจัดหมู่หนังสือในห้องสมุดส่วนตัว ซึ่งต่อมาก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นระบบจัดหมู่หนังสือในหอสมุดรัฐสภาอเมริกันในยุคแรก <p> 5. สมัยศตวรรษที่ 18 กุสตาฟ บูรเนต์ (Gustave Brunet) ชาวฝรั่งเศส เขียนหนังสือคู่มือการจัดหมู่หนังสือและห้องสมุดชื่อ Manuel du Libraire et d l' Amateur de Livres โดยแบ่งความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่คือ เทววิทยา นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดี <p> 6. สมัยศตวรรษที่ 19-20 ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือเพื่อใช้ในห้องสมุดอย่างจริงจังหลายระบบ ได้แก่ <p><p> ค.ศ. 1876 ระบบทศนิยมดิวอี้ <p><p>ค.ศ. 1891 ระบบเอ็กแพนซีฟ <p><p>ค.ศ. 1901 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><p>ค.ศ. 1905 ระบบทศนิยมสากล <p><p> ค.ศ. 1906 ระบบซับเจ็ค <p><p> ค.ศ. 1933 ระบบโคลอน <p><p> ค.ศ. 1935 ระบบบิบลิโอกราฟิค <p> ระบบการจัดหมู่ในระยะแรกมีแนวคิดในการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่อย่างมีเหตุผลตามแนวทฤษฎี จึงเรียกว่า ระบบทฤษฎี (Theoretical system) ต่อมาในศตวรรษที่ 20 แนวความคิดเปลี่ยนเป็นการคำนึงถึงหนังสือที่มีอยู่จริงในห้องสมุด จึงเรียกว่า ระบบปฏิบัติ (Practical system) <p> บรรณานุกรม <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์. 2520. ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ. เอกสารบรรณารักษศาสตร์ เล่ม 19. กรุงเทพฯ : แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. <p> Wynar, Bohdan S. 1985. Introduction to Cataloging and Classification. 7th ed. Littletob, Colo. : Libraries Unlimited. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
College librarian | บรรณารักษ์หัองสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Comparative librarianship | บรรณารักษศาสตร์เปรียบเทียบ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Congress of Southeast Asian Librarians | การประชุมบรรณารักษ์เอเชียอาคเนย์, Example: <html> <head> <title>HTML Online Editor Sample</title> </head> <body> <p> <strong>CONSAL</strong> : <span style="color:#0000cd;">Congress of Southeast Asian Librarians</span></p> <p> การประชุมสภาบรรณารักษ์เอชียอาคเนย์ หรือ การประชุมสภาบรรณารักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัตถุประสงค์หลักเพื่อความร่วมมือในระหว่างประเทศสมาชิกเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ในการพัฒนาห้องสมุดของแต่ละประเทศ</p> <p> สมาชิก CONSAL คือ หอสมุดแห่งชาติ ของประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน จำนวน 10 ประเทศ คือ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม และไทย</p> <p> การประชุมสภาบรรณรักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กำหนดจัดทุก 3 ปี โดยสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ หมุนเวียนการเป็นเจ้าภาพ โดยที่ผ่านมาครั้งล่าสุด เป็นการประชุมครั้งที่ 15 วันที่ 28-31 พฤษภาคม 2555 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเชีย ในหัวข้อเรื่อง Preserving and Disseminating National Heritage และการประชุมครั้งต่อไป ครั้งที่ 16 ปี 2558 ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมอีกครั้ง ซึ่งประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุม CONSAL แล้ว จำนวน 2 ครั้ง ในปี 2521 และ 2536</p> <p> ประวัติของการรวมกลุ่มสภาบรรณารักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการประชุมครั้งแรกในปี 2513 ที่ประเทศสิงคโปร์ รายละเอียดหัวข้อการประชุม วันเวลา และประเทศเจ้าภาพการประชุม CONSAL ทั้งหมดที่ผ่านมา รวม 15 ครั้ง ดังนี้</p> <ol> <li> New prospects for Southeast Asians Cooperation วันที่ 14-16 สิงหาคม 2513 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Education and Training for Librarianship วันที่ 10-14 ธันวาคม 2516 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> Integrated Library and Documentation Services within the Framework or NATIS วันที่ 1-5 ธันวาคม 2518 ประเทศอินโดนีเซีย</li> <li> Regional Cooperation for the Development of National Information Services วันที่ 5-9 มิถุนายน 2521 ประเทศไทย</li> <li> Access to Information วันที่ 25-29 พฤษภาคม 2524 ประเทศมาเลเซีย</li> <li> The Library in the Information Revolution วันที่ 30 พฤษภาคม - 3 มิถุนายน 2526 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Libraries for Countryside Development in Southeast Asia วันที่ 12-21 กุมภาพันธ์ 2530 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> New Challenges in Library Services in the Developing World วันที่ 11-14 มิถุนายน 2533 ประเทศอินโดนีเซีย</li> <li> Future Dimensions and Library Development วันที่ 2-7 พฤษภาคม 2536 ประเทศไทย</li> <li> Libraries in National Development วันที่ 21-25 พฤษภาคม 2539 ประเทศมาเลเซีย</li> <li> Stepping into the New Millennium: Challenges for Library and Information Professionals วันที่ 26-28 เมษายน 2543 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Information Empowerment: Enhancing Knowledge Heritage วันที่ 20-23 ตุลาคม 2546 ประเทศบรูไน</li> <li> CONSAL at the Crossroads: Challenges for greater regional cooperation วันที่ 25-30 มีนาคม 2549 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> Towards Dynamic Libraries and Information Services in Southeast Asian Countries วันที่ 20-23 เวียดนาม 2552 ประเทศเวียดนาม</li> <li> Preserving and Disseminating National Heritage วันที่ 28-31 พฤษภาคม 2555 ประเทศอินโดนีเชีย</li> </ol> <p> สนใจกิจกรรมการประชุม CONSAL เข้าถึงได้ที่เว็บไซต์ <a href="http://www.consal.org">www.consal.org</a></p> <p> <img alt="consal " height="305" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120925-consal.png" width="699" /></p> </body> </html> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Demographic library | ห้องสมุดประชากรศาสตร์, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Dental library | ห้องสมุดทันตแพทย์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Digital library | ห้องสมุดดิจิทัล, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Interlibrary loan | การยืมระหว่างห้องสมุด, Example: การยืมระหว่างห้องสมุด คือ เป็นบริการที่ห้องสมุดจัดให้เพื่อให้มีการยืม ทำสำเนาเอกสาร จากห้องสมุดแห่งอื่น เป็นการขยายการให้บริการเพื่อให้ผู้ใช้สามารถได้รับเอกสาร หนังสือ หรือทรัพยากรสารสนเทศรูปแบบอื่นๆ ที่ต้องการใช้ได้ แม้ว่าจะไม่มีรายการนั้นๆ อยู่ในห้องสมุดที่ผู้ใช้นั้นสังกัดอยู่ โดยต้องมีการกรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืมลงในแบบฟอร์ม การใ้ห้บริการยืมระหว่างห้องสมุดส่วนใหญ่มีในห้องสมุดมหาวิทยาลัย <p> <p>การใช้บริการยืมระหว่างห้องสมุด อาจทำได้ 2 วิธี คือ <p>1. ผู้ใช้บริการไปติดต่อขอยืมด้วยตนเอง <p> ผู้ใช้กรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืม ผ่านให้บรรณารักษ์ของห้องสมุดที่ผู้ใช้สังกัดอยู่ และนำไปแบบฟอร์มนี้ไปติดต่อยืมด้วยตนเอง <p>2. ให้ห้องสมุดดำเนินการให้ <p>ผู้ใช้กรอกรายละเอียดลงในแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้องสมุด ส่งให้บรรณารักษ์ที่รับผิดชอบดำเนินการให้ ขอใช้บริการไปยังห้องสมุดที่มีข้อมูล/ เอกสารสิ่งพิมพ์ที่ต้องการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
International Federation of Library Asso | สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด, Example: <p>International Federation of Library Associations and Institutions (IFLA) สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) มีวัตถุประสงค์ในการประสานสามัคคีระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ประสบการณ์ และร่วมมือกันสร้างความพัฒนาถาวรให้แก่ห้องสมุด และสถาบันบริการสารนิเทศ รวมทั้งการพัฒนาทางมาตรฐานงานเทคนิคของห้องสมุด ปัจจุบันมีสมาชิกทั่วโลกจำนวน 1, 600 คน / หน่วยงาน จาก 150 ประเทศ <p>IFLA มีสถานภาพเป็นองค์กรอิสระระดับสากล ไม่แสวงหากำไร ให้คำแนะนำปรึกษาด้านห้องสมุด บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ แก่องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมของสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน สภาระหว่างประเทศว่าด้วยการจดหมายเหตุ และองค์การอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสารนิเทศ การศึกษา และวัฒนธรรม IFLA ก่อตั้งขึ้นที่เมือง Edinburgh, Scotland และได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ให้ตั้งสำนักงานที่กรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ <p>IFLA จัดการประชุมวิชาการทุกปีโดยหมุนเวียนเปลี่ยนสถานที่ไปตามประเทศสมาชิกต่าง ๆ เพื่อให้บรรณารักษ์นานาชาติจากทั่วโลกได้มาพบ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์วิชาการ วิชาชีพ และสร้างมิตรภาพ ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างห้องสมุด โดยประเทศไทยได้มีโอกาสเป็นเจ้าภาพจัดประชุม IFLA ครั้งที่ 65 ในปี พ.ศ. 2542 (วันที่ 19 - 27 สิงหาคม 2542) โดยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์การประชุม หัวข้อการประชุมในครั้งนั้น เรื่อง On the Threshold of the 21st Century : Libraries as Gateways to an Enlightened World หรือ ห้องสมุดเป็นประตูไปสู่โลกอันสดใสในรุ่งอรุณแห่งศตวรรษใหม่ สนใจกิจกรรมการจัดประชุมของ IFLA ติดตามข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ www.ifla.org [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Libraries-Professional ethic | จรรยาบรรณบรรณารักษ์, Example: <strong>จรรยาบรรณบรรณารักษ์และนักสารสนเทศ พ.ศ.2550</strong> <p>จรรยาบรรณบรรณารักษ์และนักสารสนเทศของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ ประกาศใช้เมื่อพ.ศ.2521 ปรับปรุง ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2529 การปรับปรุงครั้งนี้เป็นการปรับปรุงครั้งที่สอง พ.ศ.2550 เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง ในวิชาชีพและสังคม จรรยาบรรณนี้ใช้เป็นแนวทางสำหรับบรรณารักษ์และนักสารสนเทศในการประกอบวิชาชีพ มีสาระสำคัญครอบคลุมจรรยาบรรณ ต่อผู้รับบริการ วิชาชีพ ผู้ร่วมงาน สถาบัน และสังคม ดังนี้ <br> 1. พึงให้บริการอย่างเต็มความสามารถ ด้วยบริการที่มีคุณภาพและด้วยความเสมอภาคแก่ผู้รับบริการ<br> 2. พึงรักษาความลับ เคารพและปกป้องสิทธิส่วนบุคคลและสิทธิในการรับรู้ของผู้รับบริการ<br> 3. พึงมีความศรัทธาในวิชาชีพและใช้วิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ อดทน และมุ่งประโยชน์ ส่วนรวม โดยปราศจากการถูกครอบงำด้วยอิทธิพลหรือผลประโยชน์อันมิชอบทุกประการ <br> 4. พึงแสวงหาความรู้และพัฒนาคนทางวิชาการ วิชาชีพ อย่างต่อเนื่องให้ทันความเปลี่ยนแปลงและได้มาตรฐาน ทางวิชาการวิชาชีพระดับสากล <br> 5. พึงเป็นกัลยาณมิตรของผู้ร่วมงาน ร่วมมือ สนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน เปิดโอกาสให้แก่กันและกัน และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ เพื่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ <br> 6. พึงพัฒนาสัมพันธภาพและความร่วมมือระหว่างบุคคลและสถาบัน และธำรงไว้ซึ่งชื่อเสียงและเกียรติภูมิของสถาบัน <br> 7. ไม่พึงใช้ตำแหน่งหน้าที่ ชื่อสถาบันและทรัพยากรของสถาบันเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตนหรือหมู่คณะโดยมิชอบ <br> 8. พึงยืนหยัดในหลักการแห่งเสรีภาพทางปัญญา เคารพและปฏิบัติตามกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา และธำรงไว้ซึ่ง เสรีภาพของห้องสมุดและเกียรติภูมิของวิชาชีพ <br> 9. พึงมีความรับผิดชอบต่อสังคม อุทิศตนเพื่อประโยชน์และความมั่นคงของสังคม และมีบทบาทในการพัฒนาสังคมไทย สู่สังคมภูมิปัญญาและการเรียนรู้ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประชาชนและประเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library | ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library administration | การบริหารงานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library administrator | ผู้บริหารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library automation | ห้องสมุดอัตโนมัติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library building | อาคารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library cooperation | ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library edition | ฉบับห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library employee | บุคลากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library hour | เวลาเปิดทำการของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library instruction service | บริการสอนวิธีใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library material | ทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library orientation | การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด, Example: <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด (Library orientation) เป็นกิจกรรมและบริการเชิงรุกในการส่งเสริมความรู้ ความสามารถ ในการใช้บริการพื้นฐานต่าง ๆ ของห้องสมุด เช่น การสืบค้น การยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด และเป็นการสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามระเบียบและมารยาทของการเข้าใช้ห้องสมุดได้อย่างถูกต้อง ก่อให้เกิดความคุ้นเคยด้านสถานที่ การบริการ และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอำนวยประโยชน์ในด้านการเรียน การสอน และการค้นคว้าวิจัย <p> กลุ่มเป้าหมายในการจัดปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ได้แก่ นิสิต นักศึกษาใหม่ ของสถาบันการศึกษา หรือ พนักงานใหม่ ในกรณีหน่วยงานนั้นมีห้องสมุดในการให้บริการแก่ผู้ใช้ <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ประกอบด้วยเนื้อหาและขอบเขต ดังนี้ <p>1. ข้อมูลทั่วไปของห้องสมุด กฎ กติกา มารยาท วันเวลาเปิด - ปิด บริการ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ รวมทั้งข่าวและกิจกรรมที่น่าสนใจ <p>2. นำชมห้องสมุด เพื่อสร้างความคุ้นเคยด้านสถานที่ และพาเยี่ยมชมพื้นที่ให้บริการ <p>3. แนะนำบริการของห้องสมุด เช่น บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า บริการยืม-คืน บริการสืบค้นสารสนเทศ บริการวิทยานิพนธ์ บริการวารสาร บริการอินเทอร์เน็ต เป็นต้น <p>4. ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ <p>5. การสืบค้นสารสนเทศ เรียนรู้เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล ที่ห้องสมุดบอกรับ <p>6. บริการเอกสารฉบับเต็ม แนะนำวิธีการค้นหาเอกสาร หากไม่สามารถค้นหาเอกสารที่ต้องการได้ในเมืองไทย <p>7. บรรณานุกรมและอ้างอิง แนะนำวิธีการเขียนรายการบรรณานุกรมและอ้างอิง ที่ถูกต้องของสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ รวมถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการประกอบการทำรายงาน งานวิจัย และวิทยานิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library patron | ผู้ใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library personnel | เจ้าหน้าที่ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library profession | วิชาชีพห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library public relations | การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library science | บรรณารักษศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library stamp | ตราห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library standard | มาตรฐานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library's page | หน้าลับเฉพาะ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Military library | ห้องสมุดทหาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
National library | หอสมุดแห่งชาติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Online library catalog | รายการบรรณานุกรมออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Private library | ห้องสมุดส่วนตัว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
interlibrary loan | ระบบการบริการให้ยืม, หนังสือระหว่างห้องสมุดสำหรับผู้ใช้ห้องสมุด |
Library and information science (LIS) | (n) บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ |
Library of Congress | (n) ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในเขตที่ตั้งรัฐบาลวอชิงตัน ดี.ซี. |
recalibrate | [riːˈkæl.ɪ.breɪt] (vt) เปลี่ยนการกระทำ, เปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับบางสิ่ง |
บัตรรายการ | (n) catalogue card, See also: card index (library), Example: นักศึกษาสามารถค้นหนังสือได้จากบัตรรายการในห้องสมุด |
ห้องสมุดประชาชน | (n) public library, Example: กรุงเทพมหานครให้งบประมาณสร้างห้องสมุดประชาชนขึ้นทั่วกรุงเทพ 20 แห่ง, Thai Definition: ห้องสมุดสำหรับประชาชน |
คลังสมอง | (n) knowledge source, See also: library, Syn. ห้องสมุด, Example: ห้องสมุดเป็นคลังสมองที่รวบรวมความรู้ในทุกสาขาวิชา, Count Unit: แห่ง, ที่ |
ผู้ใช้บริการห้องสมุด | (n) library user |
บัตรห้องสมุด | (n) library ticket, See also: borrower's ticket |
หอสมุด | (n) library, Example: การจัดสรรงบประมาณให้หอสมุดได้ซื้อหนังสือ จำต้องได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษในแต่ละปี, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่างๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้ |
ตุล | (n) Libra, See also: seventh sign of the zodiac represented by a pair of scales, Syn. ราศีตุล, ราศีตุลย์, Example: ชาวราศีธนูกับชาวราศีกุมภ์ หรือราศีตุลย์นั้นก็ดี ต่างเป็นเพื่อนที่ดีต่างเป็นผู้นำโชคลาภมาสู่ครอบครัว, Thai Definition: ชื่อกลุ่มดาวรูปคันชั่ง เป็นราศีหนึ่งในจักรราศี |
ดุล | (n) libra, See also: the seventh sign of zodiac, Syn. ราศีตุล |
ราศีตุล | (n) Libra, Syn. ราศีดุล, Example: สีชมพูเป็นสีแห่งโชคลาภของผู้ที่เกิดราศีตุล, Thai Definition: ชื่อกลุ่มดาวรูปคันชั่ง เป็นราศี 1 ในจักรราศี, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ห้องสมุด | (n) library, Syn. หอสมุด, Example: ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สำคัญสำหรับเยาวชน, Count Unit: ห้อง |
ห้องสมุด | (n) library, Example: ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สำคัญสำหรับเยาวชน, Count Unit: ห้อง, Thai Definition: ห้องหรืออาคารเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่างๆ ไว้เป็นระบบ |
บรรณารักษ์ | [bannārak] (n) EN: librarian FR: bibliothécaire [ m, f ] |
บัตรห้องสมุด | [bat hǿngsamut] (n, exp) EN: library ticket ; borrower's ticket FR: carte de lecteur [ m ] |
บุ๊คเซ็นเตอร์ | [buk-sentoē] (n) EN: book center FR: librairie |
ฉบับห้องสมุด | [chabap hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition |
ฉบับประจำห้องสมุด | [chabap prajam hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition |
ห้องสมุด | [hǿngsamut] (n) EN: library ; study FR: bibliothèque [ f ] |
ห้องสมุดเคลื่อนที่ | [hǿngsamut khleūoenthī] (n, exp) EN: mobile library FR: bibliothèque mobile [ f ] ; bibliothèque itinérante [ f ] |
ห้องสมุดเสมือนจริง | [hǿngsamut sameūoen jing] (n, exp) EN: virtual library FR: bibliothèque virtuelle [ f ] |
หอพระสมุด แห่งชาติ | [Hø Phra Samut Haengchāt] (org) EN: National Library (in Bangkok) FR: Bibliothèque nationale (de Thaïlande) [ f ] |
หอสมุด | [høsamut] (n) EN: library FR: bibliothèque [ f ] |
หอสมุดแห่งชาติ | [høsamut haengchāt] (n, exp) EN: National Library FR: bibliothèque nationale [ f ] |
การแบ่งหมวดหมู่หนังสือ | [kān baeng mūatmū nangseū] (n, exp) EN: classification of books ; library classification FR: classification des ouvrages [ f ] |
ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือ | [rabop kān jat mūatmū nangseū] (n, exp) EN: library classification FR: système de classification des livres [ m ] ; système de classification des documents [ m ] |
ร้านขายหนังสือ | [rān khāi nangseū] (n) EN: bookseller ; bookshop ; bookstore (Am.) FR: librairie [ f ] |
ร้านหนังสือ | [rān nangseū] (n) EN: bookstore ; bookshop FR: librairie [ f ] |
ราศีตุล | [rāsī Tun] (n, exp) EN: Libra FR: signe de la Balance [ m ] |
สำนักหอสมุดกลาง | [samnak høsamut klāng] (n, exp) EN: central library |
ศูนย์หนังสือ | [sūn nangseū] (n, exp) EN: book center ; bookstore FR: librairie [ f ] |
ยืมหนังสือจากห้องสมุด | [yeūm nangseū jāk hǿngsamut] (v, exp) EN: borrow a book from the library FR: emprunter un livre à la bibliothèque |
libra | |
library | |
alibrandi | |
calibrate | |
librarian | |
libraries | |
library's | |
libration | |
calibrated | |
librarians | |
calibration | |
stallibrass |
Libra | |
library | |
calibrate | |
librarian | |
libraries | |
calibrated | |
calibrates | |
librarians | |
calibrating | |
calibration | |
calibrations | |
librarianship | |
lending-library | |
lending-libraries |
bachelor of arts in library science | (n) a bachelor's degree in library science, Syn. ABLS |
calibrate | (v) make fine adjustments or divide into marked intervals for optimal measuring, Syn. fine-tune, graduate |
calibrate | (v) mark (the scale of a measuring instrument) so that it can be read in the desired units |
calibrate | (v) measure the caliber of |
calibration | (n) the act of checking or adjusting (by comparison with a standard) the accuracy of a measuring instrument, Syn. standardisation, standardization |
equilibrate | (v) bring to a chemical stasis or equilibrium |
equilibration | (n) stabilization by bringing into equilibrium |
lamellibranch | (adj) bivalve, Syn. pelecypodous, pelecypod |
lending library | (n) library that provides books for use outside the building, Syn. circulating library |
libra | (n) (astrology) a person who is born while the sun is in Libra, Syn. Balance |
libra | (n) a small faint zodiacal constellation in the southern hemisphere; between Virgo and Scorpius |
libra | (n) the seventh sign of the zodiac; the sun is in this sign from about September 23 to October 22, Syn. Balance, Libra the Scales, Libra the Balance |
librarian | (n) a professional person trained in library science and engaged in library services, Syn. bibliothec |
librarianship | (n) the position of librarian |
library | (n) a room where books are kept |
library | (n) a collection of literary documents or records kept for reference or borrowing |
library | (n) a depository built to contain books and other materials for reading and study, Syn. depository library |
library | (n) (computing) a collection of standard programs and subroutines that are stored and available for immediate use, Syn. program library, subroutine library |
library | (n) a building that houses a collection of books and other materials |
library card | (n) a card certifying the bearer's right to use the library, Syn. borrower's card |
library catalog | (n) an enumeration of all the resources of a library, Syn. library catalogue |
library fine | (n) fine imposed by a library on books that overdue when returned |
library program | (n) a program in a program library |
library routine | (n) a debugged routine that is maintained in a program library |
library science | (n) the study of the principles and practices of library administration |
librate | (v) vibrate before coming to a total rest |
libration | (n) (astronomy) a real or apparent slow oscillation of a moon or satellite |
master of arts in library science | (n) a master's degree in library science, Syn. MALS |
master of library science | (n) a master's degree in library science, Syn. MLS |
national library of medicine | (n) the world's largest medical library, Syn. United States National Library of Medicine, U.S. National Library of Medicine |
public library | (n) a nonprofit library maintained for public use |
balance | (v) bring into balance or equilibrium, Syn. equilibrate, equilibrise, equilibrize, Ant. unbalance |
bivalve | (n) marine or freshwater mollusks having a soft body with platelike gills enclosed within two shells hinged together, Syn. lamellibranch, pelecypod |
bivalvia | (n) oysters; clams; scallops; mussels, Syn. class Pelecypoda, class Lamellibranchia, class Bivalvia, Lamellibranchia |
nag hammadi | (n) a collection of 13 ancient papyrus codices translated from Greek into Coptic that were discovered by farmers near the town of Nag Hammadi in 1945; the codices contain 45 distinct works including the chief sources of firsthand knowledge of Gnosticism, Syn. Nag Hammadi Library |
paste | (n) an adhesive made from water and flour or starch; used on paper and paperboard, Syn. library paste |
weigh | (v) determine the weight of, Syn. librate |
Antilibration | n. A balancing; equipoise. [ R. ] De Quincey. [ 1913 Webster ] |
Calibrate | v. i. To ascertain the caliber of, as of a thermometer tube; also, more generally, to determine or rectify the graduation of, as of the various standards or graduated instruments. [ 1913 Webster ] |
Calibration | n. The process of estimating the caliber a tube, as of a thermometer tube, in order to graduate it to a scale of degrees; also, more generally, the determination of the true value of the spaces in any graduated instrument. [ 1913 Webster ] |
Delibrate | v. t. |
Delibration | n. The act of stripping off the bark. [ Obs. ] Ash. [ 1913 Webster ] |
Equilibrate | v. t. |
Equilibration | n. In . . . running, leaping, and dancing, nature's laws of equilibration are observed. J. Denham. [ 1913 Webster ] |
Lamellibranch | n. (Zool.) One of the |
Lamellibranchiata | ☞ They usually have two (rarely but one) flat, lamelliform gills on each side of the body. They have an imperfectly developed head, concealed within the shell, whence they are called |
Lamellibranchiate | a. (Zool.) Having lamellar gills; belonging to the |
Libra | ‖n.; |
Libral | a. [ L. libralis, fr. libra the Roman pound. ] Of a pound weight. [ Obs. ] Johnson. [ 1913 Webster ] |
Librarian | n. [ See Library. ] |
Librarianship | n. The office of a librarian. [ 1913 Webster ] |
Library | n.; |
Librate | v. i. Their parts all librate on too nice a beam. Clifton. [ 1913 Webster ] |
Librate | v. t. To poise; to balance. [ 1913 Webster ] |
Libration | n. [ L. libratio: cf. F. libration. ]
|
Libration point | n. any one of five points in the plane of a system of two large astronomical bodies orbiting each other, as the Earth-moon system, where the gravitational pull of the two bodies on an object are approximately equal, and in opposite directions. A solid object moving in the same velocity and direction as such a |
Libratory | a. Balancing; moving like a balance, as it tends to an equipoise or level. [ 1913 Webster ] |
Pellibranchiata | ‖n. pl. [ NL., fr. pellis garment + branchia a gill. ] (Zool.) A division of Nudibranchiata, in which the mantle itself serves as a gill. [ 1913 Webster ] |
Sublibrarian | n. An under or assistant librarian. [ 1913 Webster ] |
Tubulibranchian | n. (Zool.) One of the Tubulibranchiata. [ 1913 Webster ] |
Tubulibranchiata | ‖n. pl. [ NL., from L. tubulus a little tube + branchia a gill. ] (Zool.) A group of gastropod mollusks having a tubular shell. Vermetus is an example. [ 1913 Webster ] |
天秤座 | [天 秤 座] Libra (constellation and sign of the zodiac) #4,585 [Add to Longdo] |
图书 | [图 书 / 圖 書] books (in a library or bookstore) #4,677 [Add to Longdo] |
图书馆 | [图 书 馆 / 圖 書 館] library #4,742 [Add to Longdo] |
校准 | [校 准 / 校 準] calibrate #37,952 [Add to Longdo] |
定标 | [定 标 / 定 標] to calibrate (measure or apparatus); fixed coefficient #60,204 [Add to Longdo] |
浩如烟海 | [浩 如 烟 海 / 浩 如 煙 海] vast as the open sea (成语 saw); fig. extensive (library) #62,818 [Add to Longdo] |
书馆 | [书 馆 / 書 館] teashop with performance by 評書|评书 story tellers; (attached to name of publishing houses); (in former times) private school; library (of classic texts) #65,429 [Add to Longdo] |
借书证 | [借 书 证 / 借 書 證] library card #85,718 [Add to Longdo] |
续借 | [续 借 / 續 借] extended borrowing (e.g. library renewal) #113,653 [Add to Longdo] |
黄道十二宫 | [黄 道 十 二 宫 / 黃 道 十 二 宮] the twelve equatorial constellations or signs of the zodiac in Western astronomy and astrology, namely Aries 白羊, Taurus 金牛, Gemeni 雙子|双子, Cancer 巨蟹, Leo 狮子, Virgo 室女, Libra 天秤, Scorpio 天蝎, Sagittarius 人馬|人马, Capricorn 摩羯, Aquarius 寶瓶|宝瓶, Pisces 雙魚|双鱼 #137,126 [Add to Longdo] |
宬 | [宬] library stack; storage #207,855 [Add to Longdo] |
伯德雷恩图书馆 | [伯 德 雷 恩 图 书 馆 / 伯 德 雷 恩 圖 書 館] Bodleian Library (Oxford) [Add to Longdo] |
函式库 | [函 式 库 / 函 式 庫] library (partition on computer hard disk) [Add to Longdo] |
功能集 | [功 能 集] function library [Add to Longdo] |
十二宫 | [十 二 宫 / 十 二 宮] the twelve equatorial constellations or signs of the zodiac in Western astronomy and astrology, namely Aries 白羊, Taurus 金牛, Gemeni 雙子|双子, Cancer 巨蟹, Leo 狮子, Virgo 室女, Libra 天秤, Scorpio 天蝎, Sagittarius 人馬|人马, Capricorn 摩羯, Aquarius 寶瓶|宝瓶, Pisces 雙魚|双鱼 [Add to Longdo] |
同文馆 | [同 文 馆 / 同 文 館] the first modern Chinese library established in 1898 by William A.P. Martin 丁韙良|丁韪良, becoming the foundation for Beijing University library [Add to Longdo] |
固定点 | [固 定 点 / 固 定 點] fixed point; calibration point [Add to Longdo] |
国家图书馆 | [国 家 图 书 馆 / 國 家 圖 書 館] national library [Add to Longdo] |
图书管理员 | [图 书 管 理 员 / 圖 書 管 理 員] librarian [Add to Longdo] |
图书馆员 | [图 书 馆 员 / 圖 書 館 員] librarian [Add to Longdo] |
天枰座 | [天 枰 座] Libra (constellation and sign of the zodiac); erroneous variant of 天秤座 [Add to Longdo] |
档案馆 | [档 案 馆 / 檔 案 館] archive library [Add to Longdo] |
银点 | [银 点 / 銀 點] the silver point; the melting point of silver 962°C used as a calibration point in some temperature scales [Add to Longdo] |
文庫 | [ぶんこ, bunko] (n) (1) library; book collection; (2) (abbr. of 文庫本) paperback book; (P) #756 [Add to Longdo] |
図書館(P);圕(oK) | [としょかん(P);ずしょかん(図書館)(ok), toshokan (P); zushokan ( toshokan )(ok)] (n) library; (P) #1,098 [Add to Longdo] |
書房 | [しょぼう, shobou] (n) library; bookstore; bookshop; (P) #1,819 [Add to Longdo] |
叢書;双書;総書 | [そうしょ, sousho] (n) series (of publications); library (of literature) #2,912 [Add to Longdo] |
国会図書館 | [こっかいとしょかん, kokkaitoshokan] (n) (See 国立国会図書館) National Diet Library; Library of Congress #3,396 [Add to Longdo] |
開館 | [かいかん, kaikan] (n, vs) (1) opening a hall for that day's business (museum, library, such like buildings); (2) opening of new hall (museum, etc.); (P) #3,941 [Add to Longdo] |
ライブラリー(P);ライブラリ | [raiburari-(P); raiburari] (n) library; (P) #7,944 [Add to Longdo] |
館長 | [かんちょう, kanchou] (n) superintendent; director; curator; chief librarian; (P) #9,299 [Add to Longdo] |
蔵書 | [ぞうしょ, zousho] (n, vs) book collection; library; (P) #10,173 [Add to Longdo] |
休館 | [きゅうかん, kyuukan] (n, vs, adj-no) closure (of a library, museum, etc.); (P) #12,965 [Add to Longdo] |
来館 | [らいかん, raikan] (n, vs) coming to an embassy, theatre, library, etc. #15,066 [Add to Longdo] |
校正(P);較正 | [こうせい, kousei] (n, vs) (1) (校正 only) proofreading; correction of press; (2) calibration; (P) #18,379 [Add to Longdo] |
入館 | [にゅうかん, nyuukan] (n, vs) entry (e.g. library, school, museum); entering #19,958 [Add to Longdo] |
アーカイブライブラリ | [a-kaiburaiburari] (n) { comp } archive library [Add to Longdo] |
オブジェクトライブラリ | [obujiekutoraiburari] (n) { comp } object library [Add to Longdo] |
キャリブレーション | [kyaribure-shon] (n) calibration [Add to Longdo] |
キャリブレート | [kyaribure-to] (n, vs) { comp } calibration [Add to Longdo] |
クラスライブラリ | [kurasuraiburari] (n) { comp } class library (as in C++) [Add to Longdo] |
コンテンツライブラリ | [kontentsuraiburari] (n) { comp } content library [Add to Longdo] |
シェアードライブラリ | [shiea-doraiburari] (n) { comp } shared library [Add to Longdo] |
システムライブラリ | [shisutemuraiburari] (n) { comp } system library [Add to Longdo] |
スタンダードライブラリー;スタンダードライブラリ | [sutanda-doraiburari-; sutanda-doraiburari] (n) standard library (programming) [Add to Longdo] |
スライドライブラリ | [suraidoraiburari] (n) { comp } slide library [Add to Longdo] |
タイプライブラリ | [taipuraiburari] (n) { comp } type library [Add to Longdo] |
ダイナミックリンクライブラリ | [dainamikkurinkuraiburari] (n) { comp } dynamic linking library; DLL [Add to Longdo] |
ダイナミックリンクライブラリファイル | [dainamikkurinkuraiburarifairu] (n) { comp } dynamic-link library file [Add to Longdo] |
テープライブラリ | [te-puraiburari] (n) { comp } tape library [Add to Longdo] |
テープライブラリー | [te-puraiburari-] (n) tape library [Add to Longdo] |
ドキュメントライブラリ | [dokyumentoraiburari] (n) { comp } document library [Add to Longdo] |
ビデオライブラリ | [bideoraiburari] (n) { comp } video library [Add to Longdo] |
フィルムライブラリ | [firumuraiburari] (n) { comp } film library [Add to Longdo] |
フィルムライブラリー | [firumuraiburari-] (n) film library [Add to Longdo] |
フォトライブラリー | [fotoraiburari-] (n) photo library [Add to Longdo] |
ブックモビル | [bukkumobiru] (n) { comp } mobile library; bookmobile (USA) [Add to Longdo] |
プログラムライブラリ | [puroguramuraiburari] (n) { comp } program library [Add to Longdo] |
ライブラリー関数 | [ライブラリーかんすう, raiburari-kansuu] (n) { comp } library function [Add to Longdo] |
ライブラリアン | [raiburarian] (n) librarian [Add to Longdo] |
ライブラリケース | [raiburarike-su] (n) { comp } library case [Add to Longdo] |
ライブラリディレクトリ | [raiburarideirekutori] (n) { comp } library directory [Add to Longdo] |
ライブラリファイル | [raiburarifairu] (n) { comp } library file [Add to Longdo] |
ライブラリルーチン | [raiburariru-chin] (n) { comp } library routine [Add to Longdo] |
ランタイムライブラリ | [rantaimuraiburari] (n) { comp } run-time library [Add to Longdo] |
レコードライブラリ | [reko-doraiburari] (n) { comp } sound recordings library; record library [Add to Longdo] |
移動図書館 | [いどうとしょかん, idoutoshokan] (n) mobile library; bookmobile [Add to Longdo] |
遺伝子ライブラリー | [いでんしライブラリー, idenshi raiburari-] (n) gene library [Add to Longdo] |
飲食禁止 | [いんしょくきんし, inshokukinshi] (n) no food or drink (e.g. as a sign in a library, etc.); no eating or drinking [Add to Longdo] |
音楽図書館 | [おんがくとしょかん, ongakutoshokan] (n) music library [Add to Longdo] |
開架 | [かいか, kaika] (n, adj-no) open access (in a library); open shelves [Add to Longdo] |
開架式 | [かいかしき, kaikashiki] (n) making materials in a library available in open stacks [Add to Longdo] |
学校図書館 | [がっこうとしょかん, gakkoutoshokan] (n) school library [Add to Longdo] |
キャリブレート | [きゃりぶれーと, kyaribure-to] calibration (vs) [Add to Longdo] |
システムライブラリ | [しすてむらいぶらり, shisutemuraiburari] system library [Add to Longdo] |
テープライブラリ | [てーぷらいぶらり, te-puraiburari] tape library [Add to Longdo] |
ビデオライブラリ | [びでおらいぶらり, bideoraiburari] video library [Add to Longdo] |
フィルムライブラリ | [ふぃるむらいぶらり, firumuraiburari] film library [Add to Longdo] |
ブックモビル | [ぶっくもびる, bukkumobiru] mobile library, bookmobile (USA) [Add to Longdo] |
プログラムライブラリ | [ぷろぐらむらいぶらり, puroguramuraiburari] program library [Add to Longdo] |
ライブラリ | [らいぶらり, raiburari] library [Add to Longdo] |
ライブラリー関数 | [ライブラリーかんすう, raiburari-kansuu] library function [Add to Longdo] |
ライブラリアン | [らいぶらりあん, raiburarian] librarian [Add to Longdo] |
ライブラリケース | [らいぶらりけーす, raiburarike-su] library case [Add to Longdo] |
ライブラリディレクトリ | [らいぶらりでいれくとり, raiburarideirekutori] library directory [Add to Longdo] |
ライブラリファイル | [らいぶらりふぁいる, raiburarifairu] library file [Add to Longdo] |
ライブラリルーチン | [らいぶらりるーちん, raiburariru-chin] library routine [Add to Longdo] |
レコードライブラリ | [れこーどらいぶらり, reko-doraiburari] sound recordings library, record library [Add to Longdo] |
移動図書館 | [いどうとしょかん, idoutoshokan] mobile library, bookmobile (USA) [Add to Longdo] |
寄託図書館 | [きたくとしょかん, kitakutoshokan] deposit library [Add to Longdo] |
研究図書館 | [けんきゅうとしょかん, kenkyuutoshokan] research library [Add to Longdo] |
公共図書館 | [こうきょうとしょかん, koukyoutoshokan] public library [Add to Longdo] |
国立図書館 | [こくりつとしょかん, kokuritsutoshokan] national library [Add to Longdo] |
参考図書館 | [さんこうとしょかん, sankoutoshokan] reference library [Add to Longdo] |
実行形式ライブラリ | [じっこうけいしきライブラリ, jikkoukeishiki raiburari] execution image library [Add to Longdo] |
写真図書館 | [しゃしんとしょかん, shashintoshokan] photographic library [Add to Longdo] |
図書館 | [としょかん, toshokan] library [Add to Longdo] |
図書館システム | [としょかんシステム, toshokan shisutemu] library system [Add to Longdo] |
図書館ネットワーク | [としょかんネットワーク, toshokan nettowa-ku] library network [Add to Longdo] |
図書館学 | [としょかんがく, toshokangaku] library science [Add to Longdo] |
専門図書館 | [せんもんとしょかん, senmontoshokan] special library [Add to Longdo] |
総合図書館 | [そうごうとしょかん, sougoutoshokan] general library [Add to Longdo] |
著作権図書館 | [ちょさくけんとしょかん, chosakukentoshokan] copyright library [Add to Longdo] |
著作権登録図書館 | [ちょさくけんとうろくとしょかん, chosakukentourokutoshokan] copyright library [Add to Longdo] |
電子図書館 | [でんしとしょかん, denshitoshokan] electronic library [Add to Longdo] |
登録集原文 | [とうろくしゅうげんぶん, tourokushuugenbun] library text [Add to Longdo] |
登録集名 | [とうろくしゅうめい, tourokushuumei] library-name [Add to Longdo] |
納本図書館 | [のうほんとしょかん, nouhontoshokan] deposit library [Add to Longdo] |
標準ライブラリ | [ひょうじゅんライブラリ, hyoujun raiburari] standard library [Add to Longdo] |
文庫 | [ぶんこ, bunko] library [Add to Longdo] |