acervuloma | โรคเนื้องอกในสมองที่ประกอบด้วย psammoma bodies |
anglomania | (แอง' โกลเม' เนีย) n. โรคบ้าอังกฤษ. -Anglomaniac n., -Anglomaniacal adj. (Anglo+mania) |
corps diplomatique | (คอดิพลอยมะทิค) n., Fr. คณะทูต |
diploma | (ดิโพล'มะ) n., อนุปริญญา, ประกาศนียบัตร, ในอนุญาต, หนังสือสำคัญ vt. ให้ diploma |
diplomacy | (ดิพโพล'มะซี) n. การทูต, ศิลปะการทูต |
diplomat | (ดิพ'ละแมท) n. นักการทูต |
diplomate | (ดิพ'ละเมท) n. ผู้ได้รับประกาศนียบัตร, ผู้ได้รับอนุปริญญา |
diplomatic | (ดิพละแมท'ทิค) adj. เกี่ยวกับการทูต, Syn. adep |
diplomatic agent | n. ทูต |
diplomatic corps | n. คณะทูตานุทูต |
diploma | (n) ปริญญาบัตร, ประกาศนียบัตร, อนุปริญญา, หนังสือสำคัญ |
diplomacy | (n) การทูต, ศิลปะการทูต |
diplomat | (n) ทูต, นักการทูต, ทูตานุทูต |
diplomatic | (adj) เกี่ยวกับการทูต, ซึ่งเชี่ยวชาญด้านการทูต |
pinealoma | เนื้องอกต่อมไพเนียล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pimeloma; lipoma | เนื้องอกไขมัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
privilege, diplomatic | เอกสิทธิ์ทางทูต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lipoma; pimeloma | เนื้องอกไขมัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
shirt-sleeve diplomacy | การทูตอย่างไม่เป็นทางการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sialoma | เนื้องอกต่อมน้ำลาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
spondylomalacia | กระดูกสันหลังน่วม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
agent, diplomatic | ตัวแทนทางทูต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
aspergilloma | ก้อนราแอสเพอร์จิลลัส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
big stick diplomacy | การทูตแบบใช้แสนยานุภาพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
megalomania; grandiosity | (จิตเวช.) ภาวะหลงผิดตนเขื่อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
myeloma | เนื้องอกไขกระดูก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
maxillomandibular registration; maxillomandibular record | ๑. การบันทึกความสัมพันธ์ขากรรไกร๒. รอยบันทึกความสัมพันธ์ขากรรไกร [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
maxillomandibular relation | ความสัมพันธ์ขากรรไกร [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
maxillomandibular record; maxillomandibular registration | ๑. การบันทึกความสัมพันธ์ขากรรไกร๒. รอยบันทึกความสัมพันธ์ขากรรไกร [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
coercive diplomacy | การทูตแบบบีบบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
co rps, diplomatic; corps diplomatique (Fr.) | คณะทูตานุทูต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
conference diplomacy | การทูตแบบประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
callosity; keratosis; tyloma | หนังหนาด้าน [ มีความหมายเหมือนกับ callus ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
condyloma acuminatum; wart, venereal | หูดกามโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
corps diplomatique (Fr.); corps, diplomatic | คณะทูตานุทูต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
corps, diplomatic | คณะทูตานุทูต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diploma | ประกาศนียบัตรชั้นสูง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
diplomacy | การทูต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diplomacy, big stick | การทูตแบบใช้แสนยานุภาพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diplomacy, coercive | การทูตแบบบีบบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diplomacy, gunboat | การทูตแบบใช้นาวิกานุภาพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diplomacy, shirt-sleeve | การทูตอย่างไม่เป็นทางการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diplomatic agent | ตัวแทนทางทูต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diplomatic corps | คณะทูตานุทูต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diplomatic corps | คณะทูตานุทูต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
diplomatic immunity | ความคุ้มกันทางทูต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diplomatic immunity | ความคุ้มกันทางทูต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
diplomatic privilege | เอกสิทธิ์ทางทูต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diplomatic privilege | เอกสิทธิ์ทางทูต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
diplomatic relations | ความสัมพันธ์ทางการทูต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
gunboat diplomacy | การทูตแบบใช้นาวิกานุภาพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
grandiosity; megalomania | (จิตเวช.) ภาวะหลงผิดคิดตนเขื่อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
granuloma | แกรนูโลมา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
eccentric maxillomandibular record | ๑. รอยบันทึกความสัมพันธ์ขากรรไกรนอกศูนย์ ๒. การบันทึกความสัมพันธ์ขากรรไกรนอกศูนย์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
encephaloma | เนื้องอกในสมอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
encephalomalacia; necrencephalus | สมองน่วม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
immunity, diplomatic | ความคุ้มกันทางทูต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
venereal wart; condyloma acuminatum | หูดกามโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
tyloma; callosity; keratosis | หนังหนาด้าน [ มีความหมายเหมือนกับ callus ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
trichologia; trichomania; trichotillomania | อาการถอนผม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
trichomania; trichologia; trichotillomania | อาการถอนผม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
trichotillomania; trichologia; trichomania | อาการถอนผม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
keratosis; callosity; tyloma | หนังหนาด้าน [ มีความหมายเหมือนกับ callus ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
necrencephalus; encephalomalacia | สมองน่วม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Diplomacy | การฑูต [เศรษฐศาสตร์] |
Xanthogranuloma, Juvenile | แซ็นโตแกรนนูโลมาในเด็ก [TU Subject Heading] |
Diplomacy | การทูต [TU Subject Heading] |
Diplomatic and consular service | สถานทูตและสถานกงสุล [TU Subject Heading] |
Diplomatic and consular service, American | สถานทูตและสถานกงสุลอเมริกัน [TU Subject Heading] |
Diplomatic and consular service, Thai | สถานทูตและสถานกงสุลไทย [TU Subject Heading] |
Diplomatic etiquette | พิธีการทูต [TU Subject Heading] |
Diplomatic privileges and immunities | เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต [TU Subject Heading] |
Diplomatic protection | ความคุ้มครองทางการทูต [TU Subject Heading] |
Diplomatics | เอกสารทางการทูต [TU Subject Heading] |
Diplomats | ทูต [TU Subject Heading] |
Granuloma | แกรนูโลมา [TU Subject Heading] |
Granuloma, Giant cell | แกรนูโลมาชนิดไจแอนท์เซลล์ [TU Subject Heading] |
Granuloma, Pyogenic | แกรนูโลมาชนิดไพโอจินิก [TU Subject Heading] |
Multiple myeloma | มัลติเพิล ไมอีโลมา [TU Subject Heading] |
Papilloma | แพบฟิลโลมา [TU Subject Heading] |
Papillomavirus infections | การติดเชื้อแพปพิลโลมาไวรัส [TU Subject Heading] |
Bilomagnification | การเพิ่มขึ้นในสิ่งมีชีวิต, Example: ความเข้มข้นของสารเคมีในระบบนิเวศน์หรือลูกโซ่ อาหารที่จะสูงขึ้น ในสิ่งมีชีวิตที่มีระดับสูงกว่า (high tropic level) [สิ่งแวดล้อม] |
Act on Diplomatic Privileges and Immunities B.E. 2527 | พระราชบัญญัติว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางทูต พ.ศ. 2527 [การทูต] |
Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] |
Commencement of the Functions of the Head of Diplomatic Mission | การเริ่มต้นรับหน้าที่ของหัวหน้าคณะผู้แทนทางการ ทูต กล่าวคือ เมื่อหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตเดินทางไปถึงนครหลวงของประเทศผู้รับแล้ว ควรรีบแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ตนได้เดินทางมาถึงแล้วและขอนัดเยี่ยมคารวะ ตามปกติกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของอธิบดีกรมพิธีการทูตจะดำเนินการตระเตรียมให้หัวหน้าคณะ ผู้แทนทางการทูตได้เข้ายื่นสารตราตั้งต่อไประหว่างนั้น หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะต้องไม่ไปพบเยี่ยมผู้ใดเป็นทางการ จนกว่าจะได้ยื่นสารตราตั้งเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ดี หัวหน้าคณะผู้แทนอาจขอพบเป็นการภายในกับหัวหน้าของคณะทูตานุทูต (Dean หรือ Doyen of the Diplomatic Corps) ได้ เพื่อขอทราบพิธีการปฏิบัติในการเข้ายื่นสารตราตั้งต่อประมุขของประเทศผู้รับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนา ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 13 ว่า1. พึงถือได้ว่าหัวหน้าคณะผู้แทนได้เข้ารับภารกิจหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้งหรือเมื่อตนได้บอกกล่าวการมาถึงของตน พร้อมทั้งได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้งต่อกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกันในแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป2. ลำดับของการยื่นสารตราตั้ง หรือสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง จะได้พิจารณากำหนดตามวันและเวลาของการมาถึงของหัวหน้าคณะผู้แทน [การทูต] |
Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] |
Conference Diplomacy | กระบวนการเจรจาระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลในรูปของการ ประชุม แทนที่จะกระทำโดยวิถีทางการทูตตามปกติ คือ โดยทางเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนทางการทูตถาวร การประชุมแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า การประชุมโต๊ะกลม เพื่อทำหน้าที่ระงับปัญหาระหว่างประเทศนั้น เริ่มนิยมกระทำกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การประชุมระหว่างประเทศนี้จะประกอบด้วยคณะผู้แทน ซึ่งมีหัวหน้าคณะที่ได้รับมอบอำนาจเต็ม และรัฐบาลของประเทศที่ร่วมประชุมเป็นผู้ส่งไป ในเรื่องนี้มีความเห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างเห็นว่า ควรเป็นการประชุมทางการทูตตามประเพณีที่กระทำกันโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยอาชีพ ซึ่งเป็นไปตามวิถีทางการทูตตามปกติมากกว่า [การทูต] |
Corps Diplomatique หรือ Diplomatic Corps | คณะทูตานุทูตที่ประจำอยู่ในนครหลวง (Capital) ของประเทศ ซึ่งจะมีหัวหน้าคณะทูตพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทางการทูตใน คณะทูต เจ้าหน้าที่ทางการทูตในคณะทูตนั้นจะประกอบไปด้วย อัครราชทูต (Minister) อัครราชทูตที่ปรึกษา (Minister Counselor) และที่ปรึกษา (Counselor) ซึ่งอาจจะมีคนเดียวหรือหลายคน นอกจากนี้ มีเลขานุการทางการทูตอีกหลายคน คือ เลขานุการเอก โท ตรี และตามปกติยังมีผู้ช่วยทูต (Attaché) อีกหลายคนซึ่งมีฐานะทางการทูต (Diplomatic status) คือผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร (บก เรือ และอากาศ) ผู้ช่วยทูตฝ่ายพาณิชย์ (Commercial Attaché) ผู้ช่วยทูตฝ่ายการแถลงข่าว (Press Attaché) และผู้ช่วยฝ่ายอื่น ๆ ซึ่งกระทรวงทบวงกรมของรัฐบาล (นอกจากกระทรวงการต่างประเทศ) เป็นฝ่ายแต่งตั้งข้าราชการของตนไปประจำในคณะทูต รวมทั้งเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ซึ่งมีฐานะทางการทูตด้วยในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูต (Head หรือ Dean of the Diplomatic Corps) จะได้แก่ผู้แทนทางการทูตอาวุโสที่ได้ประจำการอยู่ในประเทศนั้นเป็นเวลานาน ที่สุด ยกเว้นแต่ในบางประเทศ จะถือเอกอัครราชทูตผู้แทนองค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncio) เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูตตลอดไป โดยไม่คำนึงถึงเรื่องอาวุโสแต่อย่างใด เช่น ฟิลิปปินส์ [การทูต] |
Cultural Diplomacy | การทูตวัฒนธรรม หมายถึง กิจกรรมด้านวัฒนธรรมในกรอบกว้าง ทั้งภาษา ความคิด อุดมการณ์ ทัศนคติ ประเพณี วิทยาการความรู้ การกีฬาและวิถีชีวิต (ไม่เพียงแต่การส่งคณะนาฏศิลป์ไปแสดงในต่างประเทศเท่านั้น) ทั้งนี้ เพื่อ ใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือสร้างความรู้สึกที่ดีต่อกัน โดยใช้แนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในลักษณะซึมลึกเพื่อให้เข้าถึงประชาชน [การทูต] |
Dean (of the Diplomatic Corps) | คณบดีคณะทูต เอกอัครราชทูตที่อาวุโสที่สุด (ยื่นสาส์นตราตั้งก่อนผู้อื่น) ในประเทศนั้น ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าหรือผู้แทนของคณะทูตานุทูต (ในกรณีที่รัฐผู้รับนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาธอลิก สมณทูตวาติกันจะดำรงตำแหน่งคณบดีทูต) [การทูต] |
Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] |
Departure of Diplomatic Agents | การออกไปจากรัฐผู้รับของเจ้าหน้าที่ทางการทูต ข้อ 44 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติได้ว่า ?แม้ในกรณีการขัดกันด้วยอากร รัฐผู้รับต้องอำนวยความสะดวก เพื่อให้บุคคลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน นอกจากคนชาติของรัฐผู้รับและคนในครอบครัวของบุคคลเช่นว่านี้ โดยไม่คำนึงถึงสัญชาติของบุคคลเหล่านั้น ออกไปในขณะที่เร็วที่สุดที่จะเป็นไปได้ ในกรณีที่จำเป็นโดยเฉพาะ รัฐผู้รับต้องจัดพาหนะเดินทางในการขนส่งสำหรับตัวบุคคลเหล่านั้น และทรัพย์สินของบุคคลเหล่านั้นให้ด้วย? [การทูต] |
Diplomacy | การทูต, Example: คำว่าการทูต มีหลายท่านได้ให้คำอธิบายความหมายแตกต่างกัน บางท่านเห็นว่าการทูตเป็นศิลปะหรือศาสตร์ หรือวิธีปฏิบัติขั้นการเจรจากันระหว่างรัฐ บ้างว่า เป็นการจัดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยวิธีการเจรจา ซึ่งจะกระทำโดยเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนการทูตเป็นส่วนใหญ่หนังสือ ?Satow?s A Guide to Diplomatic Practice? ซึ่งเรียบเรียงแก้ไขใหม่เป็นครั้งที่ 4 โดย Sir Neville Bland ได้กล่าวว่า การทูต (Diplomacy) คือการนำเอาสติปัญญา (Intelligence) และปฏิภาณ (Tact) ออกใช้ในการเจรจาเป็นทางการระหว่างรัฐบาลของรัฐเอกราชด้วยกัน หรือหากจะกล่าวโดยสรุปก็หมายถึงการที่รัฐต่อรัฐยกเอาเรื่องต่าง ๆ ขึ้นเจรจากันอย่างเอาจริงเอาจังโดยสันติวิธีนั่นเองวิธีการที่รัฐหันมาใช้ การเจรจากันเพื่อทำความตกลงในเรื่องต่าง ๆ นั้นได้เริ่มกระทำกันมานานแล้ว ตั้งแต่สมัยอาณาจักรโรมันในระยะหลัง ๆ ก่อนที่อาณาจักรจะล่มสลาย นัยว่าจักรพรรดิทั้งหลายของอาณาจักรจะล่มสลาย นัยว่าจักรพรรดิทั้งหลายของอาณาจักรไบซานเตอุม (Byzanteum) ในสมัยนั้นมีชื่อโด่งดังว่าเป็นบรมครูหรือปรมาจารย์ในการเจรจาทีเดียว แต่การทูตได้กลายเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นอาชีพอย่างหนึ่ง ก็ตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ในตอนที่รัฐต่างๆ ของอิตาลีได้เริ่มแต่งตั้งเอกอัครราชทูตไปประจำเป็นการถาวร แต่ในสมัยนั้นก็ยังไม่มีการกำหนดสถานภาพและระเบียบข้อบังคับของอาชีพการทูต แต่อย่างใด จนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 19 คือใน ค.ศ. 1815 จึงได้มีการทำความตกลงกันระหว่างประเทศกำหนดสถานภาพและกฎข้อบังคับขึ้นเป็น กิจลักษณะ คือหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน รัฐต่าง ๆ ที่เข้าร่มประชุมกัน ณ กรุงเวียนนา หรือเรียกว่าคองเกรสแห่งเวียนนา ได้ตกลงจัดจำแนกผู้แทนทางการทูตรวมทั้งจัดลำดับอาวุโสขึ้น เพื่อให้รัฐทั้งหลายได้ยึดถือเป็นหลักปฏิบัติ จะเห็นได้ว่าในทุกวันนี้ การทูตได้กลายเป็นส่วนหนึ่ง หรือสาขาหนึ่งของระบบการปกครองประเทศในทุกประเทศ ซึ่งทวีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่งยวดในโลกปัจจุบัน ดังจะเห็นได้จากการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระหว่างสงครามเย็น (Cold War) ต่างเพียรพยายามใช้การทูตทุกวิถีทางเพื่อระงับปัญหาหรือข้อพิพาท โดยมิให้เกิดสงครามเบ็ดเสร็จ (Total War) ซึ่งเป็นหนทางสุดท้ายขึ้น เป็นต้นมีข้อน่าสังเกตว่า แต่เดิมรัฐต่าง ๆ จะใช้วิธีการเจรจาระหว่างรัฐบาลตามปกติ โดยผ่านทางผู้แทนทางการทูตถาวรหรือเอกอัครราชทูต ต่อมาหลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกเกิดความนิยมใช้วิธีระงับปัญหาระหว่าง ประเทศโดยการประชุมโต๊ะกลมมากขึ้น (Round table conferences) ในการประชุมระหว่างประเทศเช่นนี้ รัฐบาลของประเทศที่ร่วมการประชุมจะส่งคนของตนไปร่วมประชุมในฐานะผู้แทนผู้ ได้รับมอบอำนาจเต็มและให้เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนในการเจรจา แทนที่จะเป็นเอกอัครราชทูตดังแต่ก่อน อย่างไรก็ดี วิธีการประชุมเช่นนี้ยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่สองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งเห็นว่าควรจะใช้วิธีการประชุมแก้ปัญหาระหว่างประเทศโดยวิถีทางการ ทูตตามปกติ โดยให้เอกอัครราชทูตเป็นหัวหน้าคณะผู้แทน เพราะถือว่าเอกอัครราชทูตเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพการทูตอยู่แล้ว ส่วนอีกฝ่ายหนึ่งสนับสนุนการประชุมโต๊ะกลม หรือที่เรียกว่า Diplomacy by Conferenceในสมัยปัจจุบัน วิธีเจรจาทางการทูตที่ใช้ปฏิบัติกันมีอยู่หลายวิธี วิธีแรกคือ การเจรจาทางการทูตตามปกติ ซึ่งปฏิบัติกันตลอดมาจนเป็นธรรมเนียม (Normal หรือ Traditional Diplomacy) ในกรณีนี้ เอกอัครราชทูตจะเป็นตัวแทนของประเทศของตนเจรจากับกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับประการที่สอง คือ การทูตด้วยวิธีการประชุม (Conference Diplomacy) ซึ่งคณะผู้แทนเจรจาจะมีบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเต็มเป็นหัวหน้าคณะ และส่งไปจากประเทศที่ร่วมการประชุมประการที่สาม ได้แก่ วิธีที่เรียกว่า การทูตส่วนบุคคล (Personal Diplomacy) ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐสองแห่งหรือมากกว่านั้น จะทำการเจรจากันโดยตรง เพื่อระงับหรือทำความตกลงในเรื่องบางเรื่องที่มีผลประโยชน์ร่วมกันประการที่ สี่ คือ การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) โดยประมุขของรัฐบาลหรือของรัฐจะไปร่วมประชุมกันเพื่อหาทางระงับปัญหาของตน ประการสุดท้าย ได้แก่ การทูตโดยทางองค์กรนิติบัญญัติหรือรัฐสภา (Parliamentary Diplomacy) คือให้นำปัญหาไปพิจารณากันในการประชุมปรึกษา เช่น การประชุมขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งนักเขียนเกี่ยวกับวิชาการทูตบางท่านเรียกว่า การทูตโดยคะแนนเสียง (Diplomacy by ballot)อย่างไรก็ตาม มีผู้ทรงคุณความรู้ด้านการทูตบางท่านเห็นว่า ยังมีวิธีการเจรจาทางการทูตอีกแบบหนึ่ง เรียกว่า การทูตสื่อมวลชน (Diplomacy by News Conference) ในกรณีนี้ ประมุขของรัฐหรือของรัฐบาลประเทศหนึ่งจะแถลงนโยบายของประเทศตนต่อที่ประชุม สื่อมวลชน เกี่ยวกับปัญหาที่กำลังจะเกิดขึ้นกับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งโดยปกติย่อมจะแถลงโดยวิถีทางการทูตตามปกติให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบได้ แต่กลับหันไปใช้วิธีแจ้งให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบโดยการแถลงต่อที่ประชุมสื่อมวล ชนเท่ากับแจ้งให้ทราบโดยทางอ้อม [การทูต] |
Diplomacy for the Peoples | การทูตเพื่อประชาชน หมายถึง การดำเนินนโยบายต่างประเทศหรือกิจกรรมทางการทูต ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประชาชน เช่น โครงการส่งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ไปช่วยรักษาพยาบาลชาวกัมพูชา [การทูต] |
diplomatic agent | ตัวแทนทางทูต คือ หัวหน้าของคณะผู้แทน หรือบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทน [การทูต] |
diplomatic clearance number | หมายเลขการอนุญาตให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งของประเทศหนึ่ง ๆ ผ่านเข้าไปในอาณาเขตของอีกประเทศหนึ่งได้โดยเหตุผลทางการทูต อาทิ อากาศยานเฉพาะกิจ เรือที่ใช้ในการสงคราม ฯลฯ [การทูต] |
diplomatic corps | คณะทูตานุทูต หมายถึง กลุ่มเอกอัครราชทูต กงสุล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศ รวมทั้งภริยาและเจ้าหน้าที่ทางการทูตที่อยู่ในประเทศนั้น ๆ [การทูต] |
diplomatic courier | ผู้ถือสารทางทูต [การทูต] |
Diplomatic Expressions | ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต] |
diplomatic identity card | บัตรประจำตัวคณะผู้แทนทางทูต [การทูต] |
Diplomatic Illness | นักการทูตแสร้งทำเป็นป่วย ใช้เป็นข้อแก้ตัวในการที่ไม่ไปร่วมพิธี ร่วมประชุม หรือร่วมงานสังคม เพื่อมิให้เป็นการแสลงน้ำใจโดยมิสมควรแก่ผู้เชิญ [การทูต] |
Diplomatic Language | ภาษาการทูต ในสมัยโบราณจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 รัฐทั้งหลายในสมัยนั้นได้นิยมใช้ภาษาละตินเป็นภาษาการทูตและก็เป็นภาษาเดียว ที่ใช้กันในยุโรปภาคกลางและภาคตะวันตก ต่อมาในราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทนภาษาละตินเป็นภาษาการทูต และใช้กันตลอดมาจนถึงสมัยสงครามโลกครั้งแรก หลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกจนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐต่างๆ เริ่มนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ แต่ก็ยังไม่มีการรับรองเป็นทางการกันว่าให้ใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการทูตใน องค์กรทั้งหมดของสหประชาชาติยกเว้นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ใช้ 5 ภาษาเป็นภาษาราชการ คือ ภาษาจีน รัสเซีย สเปน อังกฤษ และฝรั่งเศส ดังนั้น ในการประชุมใด ๆ ณ องค์การสหประชาชาติ หากมีการแถลงเป็นภาษาหนึ่ง ก็จะมีการแปลเป็นอีก 4 ภาษาเกือบพร้อมกันในทันที (Simultaneous Translation) สำหรับศาลยุติธรรมระหว่างประเทศนั้น ภาษาที่ใช้เป็นภาษาราชการคือ ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส เพียงสองภาษา [การทูต] |
diplomatic pouch | ถุงเมล์ทูต [การทูต] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Diplomatic Privilege of Accommodation | มาตรา 21 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตบัญญัติไว้ว่า ?1. รัฐผู้ต้อนรับจะต้องอำนวยความสะดวกตามบทกฎหมายของประเทศของตน ในการจัดการให้ได้มาซึ่งดินแดนของตนให้แก่รัฐผู้ส่ง ซึ่งจำเป็นแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่ของรัฐนั้น หรือช่วยเหลือให้รัฐผู้ส่งได้รับอาคารที่พำนักด้วยวิธีการหนึ่งใด 2. ในกรณีจำเป็น รัฐผู้รับจะต้องช่วยให้คณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ได้มีสถานที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม?เมื่อตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่ง ตั้งได้เดินทางไปถึงประเทศที่เขาจะเข้าดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ณ ที่นั้นมีคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลของเขาประจำทำงานอยู่แล้ว ตามปกติตัวแทนทูตดังกล่าวจะมีสำนักงานทางการทูตตั้งอยู่แล้วในสถานที่เหมาะ สม มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไม้สอยสำหรับการปฏิบัติงานโดยครบครัน และผู้ที่ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขาหรืออุปทูตชั่วคราวมักจะเตรียมการไว้ก่อน แล้วเกี่ยวกับที่พักอาศัย เรียกว่าทำเนียบ นอกจากว่าจะมีทำเนียบตั้งอยู่ภายในบริเวณตึกสถานเอกอัครราชทูตซึ่งรัฐบาลของ เขาเป็นเจ้าของเองแต่ถ้าหากตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ จะต้องตั้งคณะผู้แทนทางการทูตในประเทศที่เขาเข้าดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรก ก็จะต้องประสบกับปัญหาเรื่องหาสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ตั้งสถานเอกอัคร ราชทูตขึ้น ในกรณีเช่นนี้จึงจำเป็นจะต้องอาศัยคำแนะนำและความช่วยเหลือจากกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ กระทรวงการต่างประเทศของบางประเทศจะมีแผนกหนึ่งทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่คณะทูตต่างประเทศโดยเฉพาะ เป็นแผนกหนึ่งในกรมพิธีการทูต ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องทำนองนี้อยู่แล้ว [การทูต] |
Diplomatic Privileges and Immunities | เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตที่ได้ให้แก่เจ้า หน้าที่ทางการทูต โดยถือว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้แทนส่วนตัวของประมุขของรัฐ เหตุผลที่ให้มีการคุ้มกันทางการทูต ก็เพราะถือว่ารัฐบาลหนึ่งใดก็ตามจะถูกกีดกันขัดขวางด้วยการจับกุม หรือกีดกันมิให้ผู้แทนของรัฐบาลนั้นปฏิบัติหน้าที่ในความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศนั้นมิได้ ถ้าหากเห็นว่าผู้แทนนั้นมีพฤติกรรมหรือพฤติการณ์ที่ก้าวร้าวซึ่งรัฐผู้รับ ไม่อาจรับได้ก็ชอบที่รัฐผู้รับจะขอร้องให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวผู้แทนของตนกลับ ประเทศได้ อนึ่ง การที่สถานเอกอัครราชทูตได้รับความคุ้มกันจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ เพราะต้องการให้บรรดาผู้แทนทางการทูตเหล่านั้น รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาได้มีโอกาสมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของประเทศของเขาอนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตมีบทบัญญัตินิยามคำว่า เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตในเรื่องต่างๆ ไว้มากพอสมควร เช่น เรื่องสถานที่ของคณะผู้แทนทางการทูต รวมทั้งบรรณสารและเอกสาร เรื่องการอำนวยความสะดวกให้แก่การปฏิบัติงานของคณะผู้แทน และเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายรวมทั้งการคมนาคมติดต่อ เป็นต้น [การทูต] |
Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Duration of Diplomatic Privileges and Immunities | ระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต] |
Diplomatic Secretaries | ตำแหน่งเลขานุการทางการทูตในสถานเอกอัครราชทูต ตำแหน่งเลขานุการทางการทูตจะมีอยู่ 3 ระดับ คือ เลขานุการเอก เลขานุการโท และเลขานุการตรี ทั้งสามระดับอยู่รองลงมาจากตำแหน่งที่ปรึกษา (Counselor) ระดับทั้งหมดนี้มีฐานะทางการทูต มีเอกสิทธิ และความคุ้มกันทางการทูตทั้งมวล และชื่อจะปรากฎอยู่ในสมุดเอกสารรายชื่อบุคคลในคณะทูตตำแหน่งเลขานุการทางการ ทูตเหล่านี้ อย่าไปปนกับตำแหน่งเลขานุการส่วนตัวของเอกอัครราชทูต ซึ่งแม้จะมีฐานะสำคัญในสถานเอกอัครราชทูต แต่ไม่มีสถานภาพทางการทูตแต่อย่างใด รวมทั้งตำแหน่งเลขานุการ ซึ่งทำหน้าที่เสมียนจดชวเลขและพิมพ์ดีด [การทูต] |
diplomatic privileges and immunities | เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต [การทูต] |
Establishment of Diplomatic Relations and Missions | การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตและคณะผู้แทนถาวร ทางการทูต ข้อนี้มีบทบัญญัติไว้ในมาตรา 2 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตว่าการสถาปนาความ สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างรัฐ และคณะผู้แทนถาวรทางการทูตมีขึ้นได้ด้วยความยินยอมของกันและกันในเรื่องนี้ รัฐที่มีอธิปไตยโดยสมบูรณ์ทุกรัฐ มีสิทธที่จะส่งตัวแทนทางการทูตไปทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนยังรัฐ อื่นๆ ซึ่งถือกันว่ามี Active right of legation แต่การใช้สิทธิดังกล่าว เป็นเรื่องดุลยพินิจของแต่ละรัฐ เพราะจะบังคับให้รัฐหนึ่งส่งคณะผู้แทนทางทูตประจำ ณ ที่ใดหาได้ไม่ ถ้าหากรัฐนั้นไม่ปรารถนาจะปฏิบัติเช่นนั้น ในทำนองเดียวกันจะมีการบังคับให้รัฐผู้รับต้องรับคณะผู้แทนทางการทูตจากรัฐ ใดหาได้ไม่ ทั้งนี้เพราะเป็นเรื่องดุลยพินิจของรัฐผู้รับเช่นกัน [การทูต] |
Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] |
Exemption from Taxation of Diplomatic Agent | การยกเว้นภาษีอากรให้แก่ตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ข้อ 34 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ให้ตัวแทนทางการทูตได้รับยกเว้นจากภาระผูกพันและภาษีทั้ง ปวงของชาติท้องถิ่นหรือเทศบาล ในส่วนบุคคลหรือในทรัพย์สิน เว้นแต่ก. ภาษีทางอ้อม ชนิดที่ตามปกติรวมอยู่ในราคาของสินค้าหรือบริการแล้วข. ภาระผูกพันและภาษีจากอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับ นอกจากว่า ตัวแทนทางการทูตครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นไว้ในนามของรัฐผู้ส่ง เพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนค. อากรกองมรดก การสืบมรดก หรือการรับมรดก ซึ่งรัฐผู้รับเรียกเก็บภายในบังคับแห่งบทของวรรค 4 ข้อ 39 ง. ภาระผูกพันและภาษีจากเงินได้ส่วนตัว ซึ่งมีแหล่งกำเนิดในรัฐผู้รับ และภาษีเก็บจากเงินทุนซึ่งได้ลงทุนในการประกอบการพาณิชย์ในรัฐผู้รับจ. ค่าภาระซึ่งเรียกเก็บสำหรับบริการจำเพาะที่ได้ให้ฉ. ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมศาล หรือสำนวนความ ภาระผูกพันในการจำนอง และอากรแสตมป์ในส่วนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ภายในบังคับแห่งบทของข้อ 23?นอกจากนี้ ข้อ 35 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติไว้ด้วยว่า ?ให้รัฐผู้รับให้ตัวแทนทางการทูตได้รับการยกเว้นจากการบริการส่วนบุคคลทั้ง มวล จากบริการส่วนสาธารณะทั้งมวล และจากข้อผูกพันทางทหาร เช่น ส่วนที่เกี่ยวกับการเรียกเกณฑ์ ส่วนบำรุง หรือเรียกคืนที่พักอาศัยเพื่อปฏิบัติการทางทหาร? [การทูต] |
Exercise by Diplomatic Missions of Consular functions | การปฏิบัติหน้าที่กงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูต ตามข้อ 70 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้บัญญัติไว้ว่า1. บทของอนุสัญญานี้ใช้แก่ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูตด้วย เท่าที่บริบทจะอำนวยให้2. ชื่อของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานในแผนกกงสุล หรือมิฉะนั้นได้รับภาระให้ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลของคณะผู้แทนนั้น จะต้องแจ้งไปยังกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือแจ้งไปยังเจ้าหน้าที่กระทรวงนั้นที่แต่งตั้งไว้3. ในการปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุล คณะผู้แทนทางการทูตอาจติดต่อกับก. เจ้าหน้าที่ท้องที่ของเขตกงสุลนั้นข. เจ้าหน้าที่ส่วนกลางของรัฐผู้รับ ถ้าหากกระทำได้ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และจารีตประเพณีของรัฐผู้รับ หรือตามความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง4. เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูตที่อ้างถึงในวรรค 2 ของข้อนี้ จะยังคงอยู่ในบังคับแห่งกฎเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ทางการทูต [การทูต] |
วงการทูต | (n) diplomatic circles, Syn. แวดวงทูต, Example: แขกที่มาอวยพรคู่บ่าวสาวมีแต่ผู้ที่อยู่ในวงการทูตทั้งนั้น, Count Unit: วงการ, Thai Definition: หน่วยงานและกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการทูต |
ประกาศนียบัตรชั้นสูง | (n) diploma, Example: มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดรับสมัครนักศึกษารอบเพิ่มเติมประจำปีการศึกษา 2541 ในระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง, Count Unit: ใบ, Thai Definition: เอกสารแสดงคุณวุฒิ ในระดับอุดมศึกษา |
พระราชไมตรี | (n) friendly relations, See also: diplomatic relations, Example: เจ้าฟ้าชายชาร์ลส์มีพระราชไมตรีตอบรับคำเชิญของกระทรวงการต่างประเทศของไทย, Thai Definition: ความเป็นเพื่อน, ความหวังดีต่อกัน, Notes: (ราชา) |
อักษรสาสน์ | (n) diplomatic letter, Syn. อักษรสาสน, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: จดหมายของประธานาธิบดีหรือประมุขของประเทศ ซึ่งมีชื่อเป็นอย่างอื่นที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ |
ประกาศนียบัตร | (n) certificate, See also: diploma, testimonial, Syn. ใบสุทธิ, วุฒิบัตร, ใบรับรอง, Example: เขาเรียนจบระดับปวส. โดยมีประกาศนียบัตรรับรองความรู้, Thai Definition: เอกสารแสดงคุณวุฒิ ตามปกติต่ำกว่าระดับอุดมศึกษา |
การทูต | (n) diplomacy, See also: statecraft, statesmanship, foreign affairs, external affairs, Example: เขาชอบใช้วิธีการทูตในการเจรจาหว่านล้อมและสร้างพันธมิตรทางการค้า |
ทูต | (n) ambassador, See also: diplomat, envoy, representative, minister, Syn. นักการทูต, ราชทูต, ทูตา, Example: ประเทศไทยส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้แทนไปยังต่างประเทศ เพื่อเจรจาหรือเจริญสันถวไมตรีเป็นทางราชการ, Notes: (บาลี) |
ทูตานุทูต | (n) diplomat, See also: envoy, representative, minister, ambassador, diplomatic body, diplomatic corps, Syn. ตัวแทน, Count Unit: ท่าน, คน , กลุ่ม, คณะ, Thai Definition: ทูตใหญ่น้อย, คณะทูต, Notes: (บาลี) |
นักการทูต | (n) diplomat, See also: ambassador, emissary, envoy, consul, minister, statesman, Example: พ่อของฉวีวรรณเป็นนักการทูตที่มีความสามารถมานานมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ชำนาญการทูต |
วุฒิบัตร | (n) diploma, Example: รางวัลที่หนึ่งจะได้รับทุนการศึกษาและวุฒิบัตร, Thai Definition: เอกสารแสดงความรู้, เอกสารแสดงวุฒิ |
อนุปริญญา | (n) diploma, Example: งานตำแหน่งนี้รับผู้จบอนุปริญญาขึ้นไป, Thai Definition: ชั้นความรู้ขั้นมหาวิทยาลัยรองจากปริญญาตรี ซึ่งประสาทให้แก่ผู้ที่สอบไล่ได้ตามหลักสูตรที่กำหนดไว้ |
คณะฑูต | (n) diplomatic corps, See also: diplomatic mission, Example: นายดิเรก ชัยนาม เป็นหัวหน้าคณะทูตทหารที่เดินทางไปพบกับฝ่ายทหารอังกฤษที่ศรีลังกา |
คณะฑูต | (n) diplomatic corps, See also: diplomatic mission, Example: นายดิเรก ชัยนาม เป็นหัวหน้าคณะทูตทหารที่เดินทางไปพบกับฝ่ายทหารอังกฤษที่ศรีลังกา |
คณะฑูต | (n) diplomatic corps, See also: diplomatic mission, Example: นายดิเรก ชัยนาม เป็นหัวหน้าคณะทูตทหารที่เดินทางไปพบกับฝ่ายทหารอังกฤษที่ศรีลังกา |
อนุปริญญา | [anuparinyā] (n) EN: diploma FR: diplôme [ m ] ; certificat [ m ] |
ใบสุทธิ | [baisutthi] (n) EN: graduation certificate ; school-leaving certificate ; diploma ; testimonial ; certificate of honourable dismissal FR: attestation [ f ] ; certificat [ m ] |
ชั้นเชิง | [chanchoēng] (n) EN: artifice ; tactics ; means ; stratagem ; trick ; tact ; strategy ; trickery ; finesse ; craftiness ; diplomatic skill FR: stratagème [ m ] ; moyen [ m ] ; artifice [ m ] ; finesse [ f ] |
โดยวิถีทางการทูต | [dōi withīthāng kānthūt] (xp) EN: through the diplomatic channel FR: par voie diplomatique |
หอดูดาวปาโลมาร์ | [Hødūdāo Pālomā] (n, prop) EN: Palomar Observatory FR: observatoire du Mont Palomar [ m ] |
การปฏิบัติหน้าที่ทางการทูต | [kān patibat nāthī thāng kānthūt] (n, exp) EN: performance of diplomatic acts |
การปฏิบัติหน้าที่ทางทูต | [kān patibat nāthī thāng thūt] (n, exp) EN: performance of diplomatic acts |
การประชุมทางการทูต | [kān prachum thāng kānthūt] (n, exp) EN: diplomatic conference FR: conférence diplomatique [ f ] |
การทูต | [kānthūt] (n) EN: diplomacy ; statecraft ; statesmanship ; foreign affairs ; external affairs FR: diplomatie [ f ] |
ไข้การเมือง | [khai kān meūang] (n, exp) EN: diplomatic illness ; political illness FR: maladie diplomatique [ f ] |
คณะผู้แทนทางทูต | [khana phūthaēn thāng thūt] (n, exp) EN: diplomatic mission FR: mission diplomatique [ f ] |
คณะทูต | [khanathūt] (n) EN: diplomatic corps FR: mission diplomatique [ f ] ; légation [ f ] ; corps diplomatique [ m ] |
ข้าราชการสถานทูต | [khārātchakān sathānthūt] (n) EN: diplomat FR: diplomate [ m, f ] |
ความสัมพันธ์ทางการทูต | [khwām samphan thāng kānthūt] (n, exp) EN: diplomatic relations FR: relations diplomatiques [ fpl ] |
ลิ้นทูต | [lin thūt] (adj) EN: diplomatic |
นักการทูต | [nakkānthūt] (n) EN: diplomat ; ambassador ; emissary ; envoy ; consul ; minister ; statesman FR: diplomate [ m, f ] |
พิธีการทางการทูต | [phithīkān thāng kānthūt] (n, exp) EN: diplomatic protocol FR: protocole diplomatique [ m ] |
พิธีการทูต | [phithīkān thūt] (n) EN: diplomatic protocol FR: protocole diplomatique [ m ] |
พระราชไมตรี | [phrarātchamaitrī] (n) EN: friendly relations; diplomatic relations FR: relation amicale [ f ] |
ผู้แทนทางทูต | [phūthaēn thāng thūt] (n, exp) FR: agent diplomatique [ m ] |
ประกาศนียบัตร | [prakātsanīyabat] (n) EN: diploma ; certificate FR: diplôme [ m ] ; certificat [ m ] ; brevet [ m ] |
ประกาศนียบัตรชั้นสูง | [prakātsanīyabat chan sūng] (n, exp) EN: diploma |
ประเพณีการทูต | [praphēnī kān thūt] (n, exp) EN: diplomatic etiquette FR: règle diplomatique [ f ] |
ราชทูต | [rātchathūt] (n) EN: King's envoy ; diplomatic representative ; envoy |
สัมพันธ์ทางการทูต | [samphan thāng kānthūt] (n, exp) EN: diplomatic relations FR: relations diplomatiques [ fpl ] |
ตัดสัมพันธ์ทางการทูต | [tat samphan thāng kānthūt] (xp) EN: sever diplomatic relations FR: rompre les relations diplomatiques |
ทางการทูต | [thāng kānthūt] (adj) EN: diplomatic FR: diplomatique |
ทางทูต | [thāng thūt] (adj) EN: diplomatic FR: diplomatique |
ถุงเมล์ของสถานทูต | [thung mē khøng sathānthūt] (n, exp) EN: diplomatic bag ; diplomatic pouch (Am.) FR: valise diplomatique [ f ] |
ถุงไปรษณีย์ของสถานทูต | [thung praisanī khøng sathānthūt] (n, exp) EN: diplomatic bag ; diplomatic pouch (Am.) FR: valise diplomatique [ f ] |
ถุงทางทูต | [thung thāng thūt] (n, exp) EN: diplomatic bag ; diplomatic pouch (Am.) FR: valise diplomatique [ f ] |
ทูต | [thūt] (n) EN: diplomat ; diplomatic agent ; emissary ; envoy ; ambassador FR: diplomate [ m, f ] ; émissaire [ m ] ; envoyé [ m ] |
ทูตานุทูต | [thūtānuthūt] (n) EN: diplomatic corps FR: corps diplomatique [ m ] |
ทูตขรตรีเศียร | [thūt khoratrīsīen] (n, exp) EN: diplomat |
วิถีการทูต | [withī kānthūt] (n, exp) FR: voie diplomatique [ f ] |
โวหารการทูต | [wōhān kānthūt] (n, exp) EN: diplomatic language FR: langage diplomatique [ f ] |
วงการทูต | [wongkān thūt] (n, exp) EN: diplomatic circles ; diplomatic quarters ; diplomatic sphere FR: sphère diplomatique [ f ] |
Lomas | |
diploma | |
diplomas | |
diplomat | |
diplomacy | |
diplomats | |
Anglomania | |
diplomatic | |
diplomatist | |
megalomania | |
diplomatists | |
megalomaniac | |
undiplomatic | |
megalomaniacs | |
diplomatically | |
undiplomatically | |
Corps Diplomatique |
anglomania | (n) an excessive enthusiasm for all things English |
astroloma | (n) evergreen shrubs of Australia and Tasmania, Syn. genus Astroloma |
bureau of diplomatic security | (n) the bureau in the State Department that is responsible for the security of diplomats and embassies overseas, Syn. DS |
calymmatobacterium granulomatis | (n) the species of bacteria that causes granuloma inguinale |
chilomastix | (n) flagellates parasitic in intestines of vertebrates including humans, Syn. genus Chilomastix |
cycloloma | (n) a caryophyllaceous genus of the family Chenopodiaceae, Syn. genus Cycloloma |
diploma | (n) a document certifying the successful completion of a course of study, Syn. sheepskin |
diplomacy | (n) negotiation between nations, Syn. diplomatic negotiations |
diplomat | (n) an official engaged in international negotiations, Syn. diplomatist |
diplomat | (n) a person who deals tactfully with others |
diplomate | (n) medical specialist whose competence has been certified by a diploma granted by an appropriate professional group |
diplomatic | (adj) relating to or characteristic of diplomacy |
diplomatic | (adj) using or marked by tact in dealing with sensitive matters or people, Syn. diplomatical, Ant. undiplomatic |
diplomatically | (adv) with diplomacy; in a diplomatic manner, Ant. undiplomatically |
diplomatic building | (n) government building in which diplomats live or work |
diplomatic immunity | (n) exemption from taxation or normal processes of law that is offered to diplomatic personnel in a foreign country |
diplomatic mission | (n) a mission serving diplomatic ends |
diplomatic pouch | (n) a mail pouch that is sealed shut and that is used to carry communications between a legation and its home office |
diplomatic service | (n) the body of diplomatic personnel, Syn. corps diplomatique, diplomatic corps |
dollar diplomacy | (n) diplomacy influenced by economic considerations |
entoloma | (n) agarics with pink spores but lacking both volva and annulus (includes some that are poisonous), Syn. genus Entoloma |
entoloma aprile | (n) an agaric with a dark brown conical cap; fruits in early spring |
entoloma lividum | (n) a deadly poisonous agaric; a large cap that is first white (livid or lead-colored) and then turns yellowish or tan, Syn. Entoloma sinuatum |
entolomataceae | (n) a family of fungi belonging to the order Agaricales, Syn. family Entolomataceae |
genus lomatia | (n) small genus of low-growing evergreens of Chile and Australia; some yield dyes |
granuloma | (n) a tumor composed of granulation tissue resulting from injury or inflammation or infection |
granuloma inguinale | (n) a venereal disease caused by a bacterium of the genus Calymmatobacterium; characterized by a pimply rash of the skin in the genital and groin region, Syn. granuloma venereum |
granulomatous | (adj) relating to or characterized by granulomas |
higher national diploma | (n) a diploma given for vocational training that prepares the student for a career in a particular area; good students may progress to a course leading to a degree, Syn. HND |
human papilloma virus | (n) any of a group of papovaviruses associated with genital or oral carcinomas or a group associated with benign genital tumors |
lomariopsidaceae | (n) small family of usually scandent ferns, Syn. family Lomariopsidaceae |
lomatia | (n) any of various ornamental evergreens of the genus Lomatia having attractive fragrant flowers |
lymphogranuloma | (n) swelling of a lymph node |
lymphogranuloma venereum | (n) infectious disease caused by a species of chlamydia bacterium; transmitted by sexual contact; characterized by genital lesions and swelling of lymph nodes in the groin, Syn. LGV, lymphopathia venereum |
lysiloma | (n) small genus of tropical American trees and shrubs with pinnate leaves and flat straight pods, Syn. genus Lysiloma |
macrotyloma | (n) annual or perennial vines of Africa and India and Australia; plants often placed in genus Dolichos, Syn. genus Macrotyloma |
maxillomandibular | (adj) relating to the upper and lower jaws |
megalomania | (n) a psychological state characterized by delusions of grandeur |
megalomaniac | (n) a pathological egotist |
megalomaniacal | (adj) suffering from megalomania, Syn. megalomanic |
multiple myeloma | (n) myeloma that develops in several places at the same time |
myeloma | (n) a tumor of the bone marrow (usually malignant) composed of cells normally found in bone marrow |
papilloma | (n) a benign epithelial tumor forming a rounded mass, Syn. villoma, papillary tumour, papillary tumor |
philomachus | (n) ruffs, Syn. genus Philomachus |
philomath | (n) a lover of learning |
pinealoma | (n) tumor of the pineal gland |
shuttle diplomacy | (n) international negotiations conducted by a mediator who frequently flies back and forth between the negotiating parties |
stylomastoid vein | (n) a vein that drains the tympanic cavity and empties into the retromandibular vein, Syn. vena stylomastoidea |
tricholoma | (n) agarics with white spores and a fleshy stalk and notched gills; of various colors both edible and inedible, Syn. genus Tricholoma |
tricholoma aurantium | (n) an orange tan agaric whose gills become brown by maturity; has a strong odor and taste |
Alomancy | n. [ Gr. &unr_;, salt + -mancy: cf. F. alomancie, halomancie. ] Divination by means of salt. |
Anglomania | n. [ Anglo'cf + mania. ] A mania for, or an inordinate attachment to, English customs, institutions, etc. [ 1913 Webster ] |
Anglomaniac | n. One affected with Anglomania. [ 1913 Webster ] |
Astragalomancy | n. [ Gr. &unr_; ankle bone, die + -mancy. ] Divination by means of small bones or dice. [ 1913 Webster ] |
Belomancy | n. [ Gr. &unr_;; &unr_; arrow + &unr_; a diviner: cf. F. bélomancie. ] A kind of divination anciently practiced by means of marked arrows drawn at random from a bag or quiver, the marks on the arrows drawn being supposed to foreshow the future. Encyc. Brit. [ 1913 Webster ] |
Blomary | n. See Bloomery. [ 1913 Webster ] |
Chiloma | n. [ NL., fr. Gr. &unr_; lip, fr. &unr_; lip. See -oma. ] (Zool.) The tumid upper lip of certain mammals, as of a camel. [ 1913 Webster ] |
Condylome | ☞ There are two kinds of condylomata, the pointed and the broad, the latter being of syphilitic origin. [ 1913 Webster ] Variants: Condyloma |
Crystallomancy | n. [ Gr. |
Dactylomancy | n. Dactyliomancy. [ R. ] Am. Cyc. [ 1913 Webster ] |
Diploma | n.; |
Diplomacy | n. [ F. diplomatie. This word, like supremacy, retains the accent of its original. See Diploma. ] |
Diplomate | |
Diplomate | v. t. To invest with a title or privilege by diploma. [ R. ] Wood. [ 1913 Webster ] |
Diplomatial | a. Diplomatic. [ R. ] |
Diplomatic | n. A minister, official agent, or envoy to a foreign court; a diplomatist. [ 1913 Webster ] |
Diplomatical | |
Diplomatically | adv. According to the rules of diplomacy; in the manner of a diplomatist; artfully. [ 1913 Webster ] |
Diplomatics | n. The science of diplomas, or the art of deciphering ancient writings, and determining their age, authenticity, etc.; paleography. [ 1913 Webster ] |
Diplomatism | n. Diplomacy. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
Diplomatist | n. [ Cf. F. diplomatiste a student of diplomatics. ] A person employed in, or skilled in, diplomacy; a diplomat. [ 1913 Webster ] In ability, Avaux had no superior among the numerous able diplomatists whom his country then possessed. Macaulay. |
Gallomania | n. [ L. Galli Gauls + mania madness. ] An excessive admiration of what is French. -- |
Halomancy | n. See Alomancy. [ 1913 Webster ] |
Higher National Diploma | n. (Education) A certificate awarded for completing a course of vocational education beyond secondary school, preparing the student for a career in business or certain practical arts. It is a term used in the United Kingdom. [ United Kingdom ] [ PJC ] |
loma | ‖n.; |
lomatia | n. any of various ornamental evergreens of the genus |
lomatinous | a. [ See Loma. ] (Zool.) Furnished with lobes or flaps. [ 1913 Webster ] |
Lysiloma | n. A small genus of tropical American trees and shrubs with pinnate leaves and flat straight pods. |
Megalomania | n. [ NL., fr. megalo- + mania. ] (Pathol.) A form of mental alienation in which the patient has grandiose delusions. [ 1913 Webster ] |
megalomanic | |
Omphalomancy | n. [ Omphalo- + -mancy. ] Divination by means of a child's navel, to learn how many children the mother may have. Crabb. [ 1913 Webster ] |
Papilloma | ‖n.; |
Papillomatous | a. (Med.) Of, pertaining to, or consisting of, papillomata. [ 1913 Webster ] |
Philomath | n. [ Gr. |
Philomathematic | n. A philomath. [ 1913 Webster ] |
Philomathic | a. [ Cf. F. philomathique. ] |
Philomathy | n. [ Gr. |
Phyllomania | n. [ Phyllo- + mania. ] (Bot.) An abnormal or excessive production of leaves. [ 1913 Webster ] |
Staphyloma | ‖n. [ L., fr. Gr. |
Staphylomatous | a. (Med.) Of or pertaining to staphyloma; affected with staphyloma. [ 1913 Webster ] |
Stylomastoid | a. (Anat.) Of or pertaining to the styloid and mastoid processes of the temporal bone. [ 1913 Webster ] |
Stylomaxillary | a. (Anat.) Of or pertaining to the styloid process and the maxilla. [ 1913 Webster ] |
承认 | [承 认 / 承 認] to admit; to concede; to recognize; recognition (diplomatic, artistic etc); to acknowledge #1,783 [Add to Longdo] |
外交 | [外 交] diplomacy; diplomatic; foreign affairs #3,500 [Add to Longdo] |
使命 | [使 命] a (diplomatic or other) mission #6,681 [Add to Longdo] |
使馆 | [使 馆 / 使 館] consulate; diplomatic mission #10,947 [Add to Longdo] |
文凭 | [文 凭 / 文 憑] diploma #12,981 [Add to Longdo] |
通行证 | [通 行 证 / 通 行 證] a pass (authorization through a checkpoint); a laissez-passer or safe conduct; to authenticate; to confirm name and password on a website; fig. a condition giving access to benefits (e.g. a diploma as a pass to a career) #14,417 [Add to Longdo] |
外交官 | [外 交 官] diplomat #15,177 [Add to Longdo] |
代办 | [代 办 / 代 辦] to act for sb else; to act on sb's behalf; an agent; a diplomatic representative; a chargé d'affaires #15,952 [Add to Longdo] |
建交 | [建 交] to establish diplomatic relations #16,823 [Add to Longdo] |
潘基文 | [潘 基 文] Ban Ki Moon (1944-), Korean diplomat, UN secretary general from 2006 #20,438 [Add to Longdo] |
正常化 | [正 常 化] normalization (of diplomatic relations etc) #20,668 [Add to Longdo] |
使节 | [使 节 / 使 節] (diplomatic) envoy #21,609 [Add to Longdo] |
李鸿章 | [李 鸿 章 / 李 鴻 章] Li Hung-chang or Li Hongzhang (1823-1901), Qing dynasty general, politician and diplomat #23,260 [Add to Longdo] |
奖状 | [奖 状 / 獎 狀] certificate (of prize, degree, diploma etc) #25,120 [Add to Longdo] |
照会 | [照 会 / 照 會] a diplomatic note; letter of understanding or concern exchanged between governments #27,848 [Add to Longdo] |
参赞 | [参 赞 / 參 贊] diplomatic officer; attache #28,558 [Add to Longdo] |
邦交 | [邦 交] relations between two countries; diplomatic relations #30,118 [Add to Longdo] |
唐家璇 | [唐 家 璇] Tang Jiaxuan (1938-), politican and diplomat #30,305 [Add to Longdo] |
公使 | [公 使] minister; diplomat performing ambassadorial role in Qing times, before regular diplomatic relations #33,603 [Add to Longdo] |
出使 | [出 使] to go abroad as ambassador; to be sent on a diplomatic mission #36,767 [Add to Longdo] |
鲁肃 | [鲁 肃 / 魯 肅] Lu Su or Lu Zijing 魯子敬|鲁子敬 (172-217), statesman, diplomat and strategist of Eastern Wu 東吳|东吴 #43,947 [Add to Longdo] |
使团 | [使 团 / 使 團] diplomatic mission #45,500 [Add to Longdo] |
断交 | [断 交 / 斷 交] break off diplomatic relations #50,767 [Add to Longdo] |
外交家 | [外 交 家] a diplomat #51,183 [Add to Longdo] |
国书 | [国 书 / 國 書] credentials (of a diplomat); documents exchanged between nations; national or dynastic history book #56,631 [Add to Longdo] |
杨洁篪 | [杨 洁 篪 / 楊 潔 篪] Yang Jiechi (1950-), Chinese politician and diplomat, foreign minister of PRC from 2008 #58,464 [Add to Longdo] |
乔冠华 | [乔 冠 华 / 喬 冠 華] Qiao Guanhua (1913-1973), PRC politician and diplomat #58,548 [Add to Longdo] |
松茸 | [松 茸] matsutake (Tricholoma matsutake), edible mushroom considered a great delicacy in Japan #63,556 [Add to Longdo] |
曾纪泽 | [曾 纪 泽 / 曾 紀 澤] Cang Jize or Tseng Chi-tse (1839-1890), pioneer diplomat of late Qing, serve as imperial commissioner (ambassador) to UK, France and Russia #70,408 [Add to Longdo] |
萧万长 | [萧 万 长 / 蕭 萬 長] Vincent C. Siew (1939-), Taiwanese diplomat and Kuomintang politician, prime minister 1997-2000, vice-president from 2008 #70,624 [Add to Longdo] |
口蘑 | [口 蘑] Saint George's mushroom (Tricholoma mongplicum) #71,340 [Add to Longdo] |
复交 | [复 交 / 復 交] to reopen diplomatic relations #73,063 [Add to Longdo] |
通牒 | [通 牒] diplomatic note #75,506 [Add to Longdo] |
班超 | [班 超] Ban Chao (33-102), noted Han diplomat and military man #78,936 [Add to Longdo] |
唐绍仪 | [唐 绍 仪 / 唐 紹 儀] Tang Shaoyi (1862-1939), politician and diplomat #79,269 [Add to Longdo] |
金成 | [金 成 / 金 晟] Sung KIM, US diplomat and director of US State Department's Korea office #79,728 [Add to Longdo] |
黄遵宪 | [黄 遵 宪 / 黃 遵 憲] Huang Zunxian (1848-1905), Qing dynasty poet and diplomat, author of A record of Japan 日本國誌|日本国志, an extended analysis of Meiji Japan #86,251 [Add to Longdo] |
先礼后兵 | [先 礼 后 兵 / 先 禮 後 兵] peaceful measures before using force (成语 saw); diplomacy before violence; jaw-jaw is better than war-war #91,975 [Add to Longdo] |
自大狂 | [自 大 狂] megalomania; egomania; delusions of grandeur #98,741 [Add to Longdo] |
伍廷芳 | [伍 廷 芳] Wu Tingfang (1842-1922), diplomat and lawyer #104,679 [Add to Longdo] |
治外法权 | [治 外 法 权 / 治 外 法 權] diplomatic immunity; (hist.) extraterritoriality, the rights (under unequal treaties) of a foreigner to live in China outside Chinese jurisdiction #106,703 [Add to Longdo] |
卫奕信 | [卫 奕 信 / 衛 奕 信] David Clive Wilson, Baron Wilson of Tillyorn (1935-), British diplomat and China expert, Governor of Hong Kong 1986-1992 #135,722 [Add to Longdo] |
薄瑞光 | [薄 瑞 光] Raymond Burghard (1945-), US diplomat and ambassador to Vietnam 2001-2004, chairman of American Institute in Taiwan from 2006 #135,726 [Add to Longdo] |
刘贵今 | [刘 贵 今 / 劉 貴 今] Liu Guijin (1945-), PRC diplomat, special representative to Africa from 2007, Chinese specialist on Sudan and the Darfur issue #136,207 [Add to Longdo] |
陆征祥 | [陆 征 祥 / 陸 徵 祥] Lu Zhengxiang (1871-1949), Chinese diplomat and Catholic monk #188,279 [Add to Longdo] |
甘巴里 | [甘 巴 里 / 甘 巴 裡] Professor Ibrahim Gambari (1944-), Nigerian scholar and diplomat, ambassador to UN 1990-1999, UN envoy to Burma from 2007 #234,426 [Add to Longdo] |
松菌 | [松 菌] matsutake (Tricholoma matsutake), edible mushroom considered a great delicacy in Japan #435,843 [Add to Longdo] |
鲁子敬 | [鲁 子 敬 / 魯 子 敬] Lu Zijing or Lu Su 魯肅|鲁肃 (172-217), statesman, diplomat and strategist of Eastern Wu 東吳|东吴 #611,235 [Add to Longdo] |
使节团 | [使 节 团 / 使 節 團] a diplomatic group; a delegation [Add to Longdo] |
使领官员 | [使 领 官 员 / 使 領 官 員] ambassador and consul; diplomat [Add to Longdo] |
外交官 | [がいこうかん, gaikoukan] TH: ผู้เจรจาทางการทูต EN: diplomat |
外交 | [がいこう, gaikou] TH: การฑูตระหว่างประเทศ EN: diplomacy |
外交 | [がいこう, gaikou] (n) diplomacy; (P) #2,737 [Add to Longdo] |
国交 | [こっこう, kokkou] (n) diplomatic relations; (P) #11,592 [Add to Longdo] |
HPV | [エッチピーブイ, ecchipi-bui] (n) human papilloma virus; HPV [Add to Longdo] |
HPV検査 | [エッチピーブイけんさ, ecchipi-bui kensa] (n) HPV test; test for human papilloma virus [Add to Longdo] |
コンジローム;コンジローマ | [konjiro-mu ; konjiro-ma] (n) condyloma [Add to Longdo] |
シャトル外交 | [シャトルがいこう, shatoru gaikou] (n) shuttle diplomacy [Add to Longdo] |
ディプロマ | [deipuroma] (n) diploma [Add to Longdo] |
ディプロマット | [deipuromatto] (n) diplomat [Add to Longdo] |
ドル外交 | [ドルがいこう, doru gaikou] (n) dollar diplomacy [Add to Longdo] |
パピローマウイルス | [papiro-mauirusu] (n) papilloma virus; papillomavirus; HPV [Add to Longdo] |
ヒト乳頭腫ウイルス;人乳頭腫ウイルス | [ヒトにゅうとうしゅウイルス(ヒト乳頭腫ウイルス);ひとにゅうとうしゅウイルス(人乳頭腫ウイルス), hito nyuutoushu uirusu ( hito nyuutou shu uirusu ); hitonyuutoushu uirusu ( nin nyu] (n) human papilloma virus; HPV [Add to Longdo] |
ミエローマ | [miero-ma] (n) myeloma [Add to Longdo] |
位記 | [いき, iki] (n) court rank diploma [Add to Longdo] |
奥許し | [おくゆるし, okuyurushi] (n) secret; initiation; diploma [Add to Longdo] |
外交の才 | [がいこうのさい, gaikounosai] (n) diplomatic talent [Add to Longdo] |
外交チャンネル | [がいこうチャンネル, gaikou channeru] (n) diplomatic channel [Add to Longdo] |
外交家 | [がいこうか, gaikouka] (n) diplomat; diplomatic person [Add to Longdo] |
外交活動 | [がいこうかつどう, gaikoukatsudou] (n) diplomatic activity [Add to Longdo] |
外交官 | [がいこうかん, gaikoukan] (n) diplomat; (P) [Add to Longdo] |
外交官補 | [がいこうかんほ, gaikoukanho] (n) probationary diplomat [Add to Longdo] |
外交関係 | [がいこうかんけい, gaikoukankei] (n) diplomatic relations [Add to Longdo] |
外交機関 | [がいこうきかん, gaikoukikan] (n) diplomatic institution [Add to Longdo] |
外交交渉 | [がいこうこうしょう, gaikoukoushou] (n) diplomatic negotiations; negotiations through diplomatic channels [Add to Longdo] |
外交使節 | [がいこうしせつ, gaikoushisetsu] (n) diplomat [Add to Longdo] |
外交史 | [がいこうし, gaikoushi] (n) history of diplomacy; history of foreign policy [Add to Longdo] |
外交辞令 | [がいこうじれい, gaikoujirei] (n, adj-no) diplomatic turn of phrase; diplomatic language; tactful way of expressing something [Add to Longdo] |
外交手腕 | [がいこうしゅわん, gaikoushuwan] (n) diplomatic finesse; skill(s) in diplomacy [Add to Longdo] |
外交術 | [がいこうじゅつ, gaikoujutsu] (n) diplomacy; state-craft [Add to Longdo] |
外交体制 | [がいこうたいせい, gaikoutaisei] (n) diplomatic structure [Add to Longdo] |
外交団 | [がいこうだん, gaikoudan] (n) diplomatic corps [Add to Longdo] |
外交的 | [がいこうてき, gaikouteki] (adj-na) diplomatic [Add to Longdo] |
外交特権 | [がいこうとっけん, gaikoutokken] (n) diplomatic immunity [Add to Longdo] |
外交文書 | [がいこうぶんしょ, gaikoubunsho] (n) diplomatic papers or documents [Add to Longdo] |
外交問題 | [がいこうもんだい, gaikoumondai] (n) diplomatic issue [Add to Longdo] |
学位記 | [がくいき, gakuiki] (n) diploma; testamur; graduation certificate [Add to Longdo] |
吉日 | [きちじつ;きちにち, kichijitsu ; kichinichi] (n) (1) lucky day; (2) an unspecified day of the month, used on diplomas, proclamations, etc. [Add to Longdo] |
襟巻鷸 | [えりまきしぎ;エリマキシギ, erimakishigi ; erimakishigi] (n) (uk) ruff; reeve (species of sandpiper, Philomachus pugnax) [Add to Longdo] |
勲記 | [くんき, kunki] (n) decoration diploma; diploma [Add to Longdo] |
経済外交 | [けいざいがいこう, keizaigaikou] (n) economic diplomacy [Add to Longdo] |
誇大妄想 | [こだいもうそう, kodaimousou] (n, adj-no) megalomania [Add to Longdo] |
誇大妄想狂 | [こだいもうそうきょう, kodaimousoukyou] (n) megalomania [Add to Longdo] |
公開外交 | [こうかいがいこう, koukaigaikou] (n) open diplomacy [Add to Longdo] |
広報外交 | [こうほうがいこう, kouhougaikou] (n) public diplomacy [Add to Longdo] |
合従連衡 | [がっしょうれんこう, gasshourenkou] (n) (See 合従, 連衡) alliance (of the Six Kingdoms against the Qin dynasty, and of individual Kingdoms with the Qin dynasty); (tactic of) making & breaking alliances (to benefit oneself as the occasion demands); resorting to alliances as a diplomatic expedient [Add to Longdo] |
国交を結ぶ | [こっこうをむすぶ, kokkouwomusubu] (exp, v5b) to enter into diplomatic relations [Add to Longdo] |
骨髄腫 | [こつずいしゅ, kotsuzuishu] (n) myeloma [Add to Longdo] |
在外公館 | [ざいがいこうかん, zaigaikoukan] (n) diplomatic mission; government establishments overseas; (P) [Add to Longdo] |
三国干渉 | [さんごくかんしょう, sangokukanshou] (n) (See 下関条約) Triple Intervention (diplomatic intervention by Russia, Germany and France over the terms of the Treaty of Shimonoseki) [Add to Longdo] |
使聘 | [しへい, shihei] (n) exchange of diplomatic representatives [Add to Longdo] |
資源外交 | [しげんがいこう, shigengaikou] (n) resources diplomacy [Add to Longdo] |
国交 | [こっこう, kokkou] diplomatische_Beziehungen [Add to Longdo] |
外交 | [がいこう, gaikou] Aussenpolitik, Diplomatie [Add to Longdo] |
外交官 | [がいこうかん, gaikoukan] Diplomat [Add to Longdo] |