Average (Maritime law) | การเฉลี่ยค่าเสียหาย (ในการประกันภัยทางทะเล) [เศรษฐศาสตร์] |
Average (Maritime law) | การเฉลี่ยความเสียหาย (กฎหมายพาณิชยนาวี) [TU Subject Heading] |
Contiguous zones (Maritime law) | เขตต่อเนื่อง (กฎหมายทะเล) [TU Subject Heading] |
Contracts, Maritime | สัญญาทางพาณิชยนาวี [TU Subject Heading] |
Convention on limitation of liability for Maritime Claims (1976) | อนุสัญญาว่าด้วยการจำกัดความรับผิดสำหรับสิทธิเรียกร้องทางทะเล (ค.ศ. 1976) [TU Subject Heading] |
Maritime Labour Convention (2006) | อนุสัญญาแรงงานทางทะเล (ค.ศ. 2006) [TU Subject Heading] |
Maritime law | กฎหมายพาณิชยนาวี [TU Subject Heading] |
Maritime liens | บุริมสิทธิทางทะเล [TU Subject Heading] |
Marine or Maritime Meteorology | อุตุนิยมวิทยาภาคพื้นทะเล, Example: ก) สาขาวิชาอุตุนิยมวิทยาว่าด้วย ความสัมพันธ์ระหว่างทะเลกับบรรยากาศ (เรียกว่า อุตุนิยมวิทยาทะเล - Oceanic meteorology) ข) วิชาอุตุนิยมวิทยาที่เกี่ยวกับการเดินเรือ (เรียกโดยเฉพาะว่า วิชาอุตุนิยมวิทยาการเดินเรือ) [สิ่งแวดล้อม] |
International Maritime Organization | องค์การกิจการทางทะเลระหว่างประเทศ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเป็นเวทีระหว่างประเทศสมาชิก ในการกำหนดมาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการเดินเรือ และการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเล รวมทั้งเป็นกลไกในการสร้างความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศสมาชิก ปัจจุบัน มีสมาชิก 155 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร " [การทูต] |
Inter-Governmental Maritime Consultative Organization | องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต] |
maritime casualities | ความเสียหายอันเนื่องมาจากภัยพิบัติทางทะเล [การทูต] |
การค้าทางทะเล | [kānkhā thāng thalē] (n, exp) EN: maritime trade |
การประกันภัยทางทะเล | [kān prakanphai thāng thalē] (n, exp) EN: maritime insurance |
กฎหมายพาณิชย์นาวี | [kotmāi phānit nāwī] (n, exp) EN: maritime law ; marine law |
ประกันภัยทางทะเล | [prakanphai thāng thalē] (n, exp) EN: maritime insurance ; marine insurance |
เส้นทางเดินเรือ | [senthāng doēnreūa] (n, exp) EN: sea lanes ; shipping lanes ; shipping route FR: route maritime [ f ] ; voie maritime [ f ] |
ทางเดินเรือ | [thāng doēnreūa] (n, exp) FR: liaison maritime [ f ] ; route maritime [ f ] |
ทางทะเล | [thāng thalē] (adj) EN: maritime FR: maritime |
海上 | [hǎi shàng, ㄏㄞˇ ㄕㄤˋ, 海 上] maritime #5,196 [Add to Longdo] |
海域 | [hǎi yù, ㄏㄞˇ ㄩˋ, 海 域] sea area; territorial waters; maritime space #6,895 [Add to Longdo] |
海洋性 | [hǎi yáng xìng, ㄏㄞˇ ㄧㄤˊ ㄒㄧㄥˋ, 海 洋 性] maritime #78,382 [Add to Longdo] |
中国海事局 | [Zhōng guó hǎi shì jú, ㄓㄨㄥ ㄍㄨㄛˊ ㄏㄞˇ ㄕˋ ㄐㄩˊ, 中 国 海 事 局 / 中 國 海 事 局] PRC Maritime Safety Agency #139,723 [Add to Longdo] |
国际海事组织 | [Guó jì Hǎi shì Zǔ zhī, ㄍㄨㄛˊ ㄐㄧˋ ㄏㄞˇ ㄕˋ ㄗㄨˇ ㄓ, 国 际 海 事 组 织 / 國 際 海 事 組 織] International Maritime Organization [Add to Longdo] |
海事局 | [hǎi shì jú, ㄏㄞˇ ㄕˋ ㄐㄩˊ, 海 事 局] PRC Maritime Safety Agency [Add to Longdo] |
海洋性气候 | [hǎi yáng xìng qì hòu, ㄏㄞˇ ㄧㄤˊ ㄒㄧㄥˋ ㄑㄧˋ ㄏㄡˋ, 海 洋 性 气 候 / 海 洋 性 氣 候] maritime climate [Add to Longdo] |
海上 | [かいじょう, kaijou] (adj-no) (by, at, on) sea; maritime; marine; (P) #2,568 [Add to Longdo] |
臨海 | [りんかい, rinkai] (n, adj-no) coastal; seaside; oceanfront; maritime; (P) #7,569 [Add to Longdo] |
海運 | [かいうん, kaiun] (n, adj-no) maritime; marine transportation; (P) #11,795 [Add to Longdo] |
海上保安庁 | [かいじょうほあんちょう, kaijouhoanchou] (n) Japan Coast Guard (formerly Maritime Safety Agency); (P) #13,633 [Add to Longdo] |
海事 | [かいじ, kaiji] (n, adj-no) maritime affairs #15,393 [Add to Longdo] |
IMO | [アイエムオー, aiemuo-] (n) (1) (See 国際数学オリンピック) International Mathematical Olympiad; IMO; (2) (See 国際海事機関) International Maritime Organization; IMO; (3) International Meteorological Organization; IMO [Add to Longdo] |
P3C | [ピーさんシー, pi-san shi-] (n) Lockheed P-3 Orion (anti-submarine and maritime surveillance aircraft); P3C [Add to Longdo] |
インマルサット | [inmarusatto] (n) International Maritime Satellite Organization (Organisation); INMARSAT [Add to Longdo] |
一等海佐 | [いっとうかいさ, ittoukaisa] (n) captain (in the Maritime Self Defence Force) [Add to Longdo] |
沿海州 | [えんかいしゅう, enkaishuu] (n) (Russian) maritime provinces; (P) [Add to Longdo] |
海関 | [かいかん, kaikan] (n) maritime customs taxes [Add to Longdo] |
海国 | [かいこく, kaikoku] (n) maritime nation [Add to Longdo] |
海産業 | [かいさんぎょう, kaisangyou] (n) marine industries; maritime industry [Add to Longdo] |
海事衛星 | [かいじえいせい, kaijieisei] (n) a maritime satellite [Add to Longdo] |
海自 | [かいじ, kaiji] (n) (abbr) (See 海上自衛隊) Maritime Self-Defense Force [Add to Longdo] |
海商法 | [かいしょうほう, kaishouhou] (n) maritime law [Add to Longdo] |
海将 | [かいしょう, kaishou] (n) Vice-Admiral (Maritime Self-Defence Force of Japan) (defense) [Add to Longdo] |
海上権 | [かいじょうけん, kaijouken] (n) maritime authority [Add to Longdo] |
海上交通安全法 | [かいじょうこうつうあんぜんほう, kaijoukoutsuuanzenhou] (n) Maritime Traffic Safety Act (1973) [Add to Longdo] |
海上自衛隊 | [かいじょうじえいたい, kaijoujieitai] (n) Maritime Self Defense Forces (Defence); (P) [Add to Longdo] |
海上保険 | [かいじょうほけん, kaijouhoken] (n) maritime insurance [Add to Longdo] |
海上法 | [かいじょうほう, kaijouhou] (n) maritime law [Add to Longdo] |
海難事故 | [かいなんじこ, kainanjiko] (n) accident at sea; maritime accident [Add to Longdo] |
海洋警察 | [かいようけいさつ, kaiyoukeisatsu] (n) maritime police [Add to Longdo] |
海洋哨戒機 | [かいようしょうかいき, kaiyoushoukaiki] (n) maritime patrol aircraft; MPA [Add to Longdo] |
海洋性 | [かいようせい, kaiyousei] (adj-no) (1) marine; maritime; oceanic; (n) (2) oceanity [Add to Longdo] |
国際海事機関 | [こくさいかいじきかん, kokusaikaijikikan] (n) International Maritime Organization (Organisation); IMO [Add to Longdo] |
日本海上自衛隊 | [にほんかいじょうじえいたい, nihonkaijoujieitai] (n) Japan maritime self defense force (defence) [Add to Longdo] |