Mekong Committee | คณะกรรมการแม่น้ำโขง [TU Subject Heading] |
Mekong River | แม่น้ำโขง [TU Subject Heading] |
Mekong River Region | ภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง [TU Subject Heading] |
Mekong River Watershed | ลุ่มน้ำโขง [TU Subject Heading] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] |
Agreement on Commercial Navigation on Lancang-Mekong River | ความตกลงว่าด้วยการเดินเรือพาณิชย์ในแม่น้ำโขงตอนบน " ระหว่างไทย ลาว พม่า และจีน (มณฑลยูนนาน) ได้ลงนามเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2543 และมีผลบังคับใช้ในเดือนเมษายน 2544 " [การทูต] |
ASEAN-Mekong Basin Development Cooperation | ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาอาเซียน-ลุ่มน้ำโขง เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ และจีน เพื่อพัฒนาลุ่มน้ำโขง [การทูต] |
Agency for Coordinating Mekong Tourism Activities | ศูนย์ประสานงานโครงการด้านการท่องเที่ยวของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง [การทูต] |
Coordinated Mekong Ministerial Initiative against Trafficking | การประชุมระดับรัฐมนตรีของประเทศไทยในอนุภูมิภาค แม่น้ำโขง เพื่อต่อต้านการค้ามนุษย์ [การทูต] |
Ganga-Suwanabhumi-Mekong Cooperation | ความร่วมมือลุ่มน้ำคงคา-สุวรรณภูมิ-ลุ่มน้ำโขง ประกอบด้วย ไทย-ลาว-พม่า-เวียดนาม-กัมพูชา และอินเดีย เป็นกรอบความร่วมมือที่เสนอในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับ รัฐมนตรีต่างประเทศประเทศคู่เจรจา ครั้งที่ 33 เมื่อ 28 กรกฎาคม 2543 โดยมีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2543 [การทูต] |
Greater Mekong Subregion Economic Cooperation | กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง หรือ กรอบความร่วมมือหกเหลี่ยมเศรษฐกิจ " ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (มณฑล ยูนนาน) มีธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) เป็นกลไกประสานความร่วมมือ โดยริเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 ประกอบด้วยความร่วมมือ 8 สาขา ได้แก่ คมนาคมขนส่ง พลังงาน สื่อสาร โทรคมนาคม พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อม และการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ การค้า และการลงทุน " [การทูต] |
Mekong - Ganga Cooperation | ความร่วมมือแม่นำโขง - คงคา ริเริ่มขึ้นเมื่อกรกฎาคม พ.ศ.2543 ที่กรุงเทพฯ มีสมาชิก 6 ประเทศ คือกัมพูชา อินเดีย ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงกับประเทศในลุ่มแม่น้ำคงคาในด้านการ ท่องเที่ยว การศึกษาวัฒนธรรม และคมนาคมขนส่งโดยอาศัยปัจจัยทางเศรษฐกิจที่เกื้อกูลกันและความสัมพันธ์ที่ ดีระหว่างกัน และเป็นยุทธศาสตร์เชื่อมโยง GMS (จีน) ไปสู่อินเดีย [การทูต] |
Mekong Institute | สถาบันความร่วมมือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจลุ่มน้ำโขง [การทูต] |
Mekong River Commission | คณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง [การทูต] |
Lower Mekong Basin Development Program | โครงการพัฒนาลุ่มน้ำโขงตอนใต้ [การแพทย์] |
湄公河 | [Méi gōng hé, ㄇㄟˊ ㄍㄨㄥ ㄏㄜˊ, 湄 公 河] Mekong River #32,546 [Add to Longdo] |
澜沧江 | [Lán cāng jiāng, ㄌㄢˊ ㄘㄤ ㄐㄧㄤ, 澜 沧 江 / 瀾 滄 江] Lancang river of Tibet and Yunnan, the upper reaches of Mekong river of Vietnam 湄公河 #40,874 [Add to Longdo] |
湄公河三角洲 | [Méi gōng hé sān jiǎo zhōu, ㄇㄟˊ ㄍㄨㄥ ㄏㄜˊ ㄙㄢ ㄐㄧㄠˇ ㄓㄡ, 湄 公 河 三 角 洲] Mekong River delta #132,901 [Add to Longdo] |
三江并流 | [Sān jiāng bìng liú, ㄙㄢ ㄐㄧㄤ ㄅㄧㄥˋ ㄌㄧㄡˊ, 三 江 并 流 / 三 江 並 流] Three Parallel Rivers National Park, in mountainous northwest Yunnan World Heritage protected area: the three rivers are Nujian 怒江 or Salween, Jinsha 金沙江 or upper reaches of Changjiang and Lancang 澜沧江 or Mekong [Add to Longdo] |
大湄公河次区域 | [Dà Méi gōng hé cì qū yù, ㄉㄚˋ ㄇㄟˊ ㄍㄨㄥ ㄏㄜˊ ㄘˋ ㄑㄩ ㄩˋ, 大 湄 公 河 次 区 域 / 大 湄 公 河 次 區 域] Greater Mekong Subregion (GMS), area of economic cooperation between China and Vietnam [Add to Longdo] |
大湄公河次区域合作 | [Dà Méi gōng hé cì qū yù hé zuò, ㄉㄚˋ ㄇㄟˊ ㄍㄨㄥ ㄏㄜˊ ㄘˋ ㄑㄩ ㄩˋ ㄏㄜˊ ㄗㄨㄛˋ, 大 湄 公 河 次 区 域 合 作 / 大 湄 公 河 次 區 域 合 作] Greater Mekong Subregion (GMS), economic cooperation program between China and Vietnam [Add to Longdo] |