Neutron radiography | การถ่ายภาพด้วยนิวตรอน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Boron Neutron Capture Therapy | บีเอ็นซีที, รังสีรักษาโดยการจับยึดนิวตรอน, การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งบางชนิด โดยการฉีดสารประกอบโบรอนเสถียรให้ไปสะสมในเซลล์มะเร็ง แล้วฉายรังสีนิวตรอนไปที่บริเวณนั้น อะตอมโบรอนจะจับยึดนิวตรอนไว้กลายเป็นโบรอนกัมมันตรังสี ซึ่งจะสลายพร้อมกับปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาทำลายเซลล์มะเร็งนั้น (ดู neutron capture ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Delayed neutrons | ดีเลย์นิวตรอน, นิวตรอนที่ถูกปล่อยออกมาจากผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสในช่วงเวลาหลายวินาทีหรือหลายนาทีภายหลังการเกิดปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส ดีเลย์นิวตรอนที่เกิดขึ้นนี้มีไม่เกินร้อยละ 1 ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการออกแบบและควบคุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (ดู prompt neutrons ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Epithermal neutron | เอพิเทอร์มัลนิวตรอน, นิวตรอนที่มีพลังงานสูงกว่าเทอร์มัลนิวตรอนแต่ต่ำกว่านิวตรอนเร็ว มีพลังงานในช่วง 0.5 อิเล็กตรอนโวลต์ ถึง 1 แสนอิเล็กตรอนโวลต์ คำนี้มีความหมายเหมือนกับ intermediate neutron [นิวเคลียร์] |
Thermal neutron | เทอร์มัลนิวตรอน, นิวตรอนที่มีพลังงานในช่วงประมาณ 0.02 ถึง 0.5 อิเล็กตรอนโวลต์ มีความเร็วเฉลี่ย 2, 200 เมตรต่อวินาที ที่อุณหภูมิห้อง, Example: [นิวเคลียร์] |
Slow neutron | นิวตรอนช้า, นิวตรอนที่มีพลังงานในช่วงประมาณ 0.02 ถึง 0.5 อิเล็กตรอนโวลต์ มีความเร็วเฉลี่ย 2, 200 เมตรต่อวินาที ที่อุณหภูมิห้อง, Example: [นิวเคลียร์] |
Spallation Neutron Source | ต้นกำเนิดนิวตรอนแบบสปอลเลชัน, เครื่องผลิตนิวตรอนชนิดหนึ่ง โดยการเร่งโปรตอนพลังงานสูงกว่า 100 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ เข้าชนเป้าซึ่งเป็นธาตุหนัก เช่น แทนทาลัม ทังสเตน หรือ ยูเรเนียม ทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่มีการปลดปล่อยนิวตรอนพลังงานเฉลี่ย 1 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ต้นกำเนิดนิวตรอนแบบสปอลเลชันเครื่องแรกมีชื่อว่า KENS ตั้งอยู่ที่สถาบัน KEK (Ko Enerugi Kenkyujo) ประเทศญี่ปุ่น เริ่มใช้งานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2523 [นิวเคลียร์] |
Prompt neutrons | พรอมต์นิวตรอน, นิวตรอนที่ถูกปล่อยออกมาทันทีเมื่อเกิดการแบ่งแยกนิวเคลียส นิวตรอนที่เกิดจากปฏิกิริยานี้มากกว่าร้อยละ 99 เป็นพรอมต์นิวตรอน (ดู delayed neutrons ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Neutron generator | เครื่องกำเนิดนิวตรอน, เครื่องเร่งอนุภาคชนิดหนึ่งที่ใช้ในการผลิตนิวตรอน โดยการเร่งอนุภาคที่มีประจุ เช่น ดิวเทอรอน ให้มีพลังงานระหว่าง 150-500 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ แล้วปล่อยให้ชนกับเป้าบางๆ ที่เหมาะสม ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นจะให้นิวตรอนที่มีพลังงานได้ถึง 17.59 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์, Example: [นิวเคลียร์] |
Neutron generation | รุ่นนิวตรอน, นิวตรอนที่เกิดขึ้นจากการแบ่งแยกนิวเคลียสในแต่ละรุ่น โดยนิวตรอนที่เกิดและปล่อยออกมาในรุ่นก่อน จะเกิดการเทอร์มัลไลซ์ และถูกดูดกลืนโดยวัสดุฟิสไซล์แล้วเกิดการแบ่งแยกนิวเคลียสให้นิวตรอนรุ่นถัดมา และเกิดตามกระบวนการนี้ไปเรื่อยๆ <br>ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์กำลังทั่วไป จะมีนิวตรอนเกิดขึ้นประมาณ 40, 000 รุ่นในทุก ๆ วินาที</br> <br>(ดู thermalization ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์] |
Neutron density | ความหนาแน่นนิวตรอน, จำนวนของนิวตรอนต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรภายในแกนของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ <br>(ดู neutron flux ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Neutron capture | การจับยึดนิวตรอน, กระบวนการที่นิวเคลียสของอะตอมดูดกลืนหรือจับยึดนิวตรอนเอาไว้ โอกาสที่วัสดุจะจับยึดนิวตรอนได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับพลังงานของนิวตรอนและธรรมชาติของวัสดุนั้น <br>(ดู cross section ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Neutron bomb | ลูกระเบิดนิวตรอน, ลูกระเบิดไฮโดรเจนขนาดเล็ก ออกแบบเป็นพิเศษให้มีผลทำลายน้อยที่สุดจากแรงระเบิดและความร้อนในวงจำกัดรัศมีสองร้อยถึงสามร้อยเมตร แต่มีผลในวงกว้างทำให้สิ่งมีชีวิตถึงตายได้จากอนุภาคนิวตรอนและรังสีแกมมา ลูกระเบิดนิวตรอนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำลายรถถังและกองทหารในสนามรบโดยไม่เป็นอันตรายต่อตัวเมืองและย่านชุมชนที่อยู่ห่างออกไป <br>(ดู H-bomb ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Neutron Activation Analysis | การวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสีด้วยนิวตรอน, เอ็นเอเอ, การจำแนกชนิดและปริมาณของธาตุในสารตัวอย่างโดยใช้อนุภาคนิวตรอนเป็นตัวกระทำให้เกิดกัมมันตภาพรังสีแก่สารตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์ แล้ววัดรังสีแกมมาเฉพาะตัวที่ปลดปล่อยจากนิวไคลด์รังสีที่เกิดขึ้น <br>(ดู activation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Neutron | นิวตรอน, อนุภาคมูลฐานที่ไม่มีประจุ มีมวลมากกว่าโปรตอนเล็กน้อย และพบในนิวเคลียสของทุกอะตอมยกเว้นอะตอมไฮโดรเจนธรรมดา นิวตรอนอิสระไม่เสถียร มีครึ่งชีวิต 10.3 นาที สลายเป็นอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวทริโน [นิวเคลียร์] |
Neutron | นิวตรอน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Neutron flux | นิวตรอนฟลักซ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Intermediate neutron | อินเทอร์มีเดียตนิวตรอน, นิวตรอนที่มีพลังงานสูงกว่าเทอร์มัลนิวตรอนแต่ต่ำกว่านิวตรอนเร็ว มีพลังงานในช่วง 0.5 อิเล็กตรอนโวลต์ ถึง 1 แสนอิเล็กตรอนโวลต์ คำนี้มีความหมายเหมือนกับ intermediate neutron [นิวเคลียร์] |
Integrated neutron flux | นิวตรอนฟลักซ์รวม, จำนวนนิวตรอนทั้งหมดต่อหน่วยพื้นที่ในช่วงเวลาที่กำหนด เป็นค่าที่ได้จากการคูณนิวตรอนฟลักซ์ด้วยเวลา [นิวเคลียร์] |
Fast neutron | นิวตรอนเร็ว, นิวตรอนที่มีพลังงานสูงกว่า 1 แสนอิเล็กตรอนโวลต์ [นิวเคลียร์] |
Neutron bomb | ระเบิดนิวตรอน [TU Subject Heading] |
Neutrons | นิวตรอน [TU Subject Heading] |
neutron generato | เครื่องกำเนิดนิวตรอน, เป็นเครื่องผลิตนิวตรอนพลังงานสูง โดยการเร่งอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เช่น ดิวเทอรอน (deuteron) ให้มีพลังงานจลน์ในช่วง 150-500 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ แล้วให้ชนกับเป้าบางๆ โดยทั่วไปปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ใช้ในการผลิตนิวตรอน ได้จากการเร่งดิวเทอรอนให้ชนกับตริเตรียม(tritium) ทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ ดังสมการ [พลังงาน] |
spallation neutron source | ต้นกำเนิดนิวตรอนแบบสปอลเลชัน, เป็นต้นกำเนิดนิวตรอนรุ่นใหม่ จัดเป็นเครื่องผลิตนิวตรอนพลังงานสูงชนิดหนึ่ง มีหลักการทำงานคือ เมื่อยิงโปรตรอนพลังงานสูง (มากกว่า 100 ล้าน อิเล็กตรอนโวลต์) เข้าไปในเป้าซึ่งเป็นธาตุหนัก เช่น แทนทาลัม ทังสเตน และยูเรเนียม จะทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบสปอลเลชั่น และมีการปลดปล่อยนิวตรอน พร้อมทั้งอนุภาคชนิดอื่นๆ เช่นโปรตรอน และเกิดปฏิกิริยาต่อเนื่องหลั่นกันไป (cascade) ต้นกำเนิดนิวตรอนชนิดนี้ ให้นิวตรอนพลังงานเฉลี่ยประ มาณ 1 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ จำนวนประมาณ 10-30 เท่าของการยิงโปรตรอน 1 อนุภาค นิวตรอนที่ผลิตขึ้นนี้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในงานวิจัยด้านต่างๆ ต้นกำเนิดนิวตรอนแบบ สปอลเลชันเครื่องแรกมีชื่อว่า KENSตั้งอยู่ที่สถาบัน KEK (National Laboratory for High Energy Physics) ประเทศญี่ปุ่น เริ่มใช้งานครั้งแรกในปี พ.ศ.2523 สำหรับต้นกำเนิดนิวตรอนแบบสปอลเลชัน ที่ให้นิวตรอนเข้มข้นสูงสุดในปัจจุบันคือ ISIS ของ Rutherford Appleton Laboratory ประเทศอังกฤษ เริ่มเดินเครื่องในปี พ.ศ. 2527 และให้นิวตรอนฟลักซ์เฉลี่ยประมาณ 1015นิวตรอน/ ตร.ซม.-วินาที และมีฟลักซ์สูงสุดมากกว่า 40 เท่าของฟลักซ์เฉลี่ย [พลังงาน] |
neutron | นิวตรอน, อนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่งมีสมบัติเป็นกลางทางไฟฟ้า อยู่ในนิวเคลียสของ ทุก ๆ ธาตุ ยกเว้นไฮโดรเจน มีมวล 1.0087 µ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
中子 | [zhōng zǐ, ㄓㄨㄥ ㄗˇ, 中 子] neutron #24,293 [Add to Longdo] |
快中子 | [kuài zhōng zǐ, ㄎㄨㄞˋ ㄓㄨㄥ ㄗˇ, 快 中 子] fast neutrons #95,149 [Add to Longdo] |
中子星 | [zhōng zǐ xīng, ㄓㄨㄥ ㄗˇ ㄒㄧㄥ, 中 子 星] neutron star #98,886 [Add to Longdo] |
重子 | [zhòng zǐ, ㄓㄨㄥˋ ㄗˇ, 重 子] baryon (particle such as proton and neutron) #99,208 [Add to Longdo] |
中子源 | [zhōng zǐ yuán, ㄓㄨㄥ ㄗˇ ㄩㄢˊ, 中 子 源] neutron source #105,041 [Add to Longdo] |
中子弹 | [zhōng zǐ dàn, ㄓㄨㄥ ㄗˇ ㄉㄢˋ, 中 子 弹 / 中 子 彈] neutron bomb #116,907 [Add to Longdo] |
热中子 | [rè zhōng zǐ, ㄖㄜˋ ㄓㄨㄥ ㄗˇ, 热 中 子 / 熱 中 子] thermal neutron #139,046 [Add to Longdo] |
中子俘获 | [zhōng zǐ fú huò, ㄓㄨㄥ ㄗˇ ㄈㄨˊ ㄏㄨㄛˋ, 中 子 俘 获 / 中 子 俘 獲] neutron capture [Add to Longdo] |
中子射线摄影 | [zhōng zǐ shè xiàn shè yǐng, ㄓㄨㄥ ㄗˇ ㄕㄜˋ ㄒㄧㄢˋ ㄕㄜˋ ㄧㄥˇ, 中 子 射 线 摄 影 / 中 子 射 線 攝 影] neutron radiography [Add to Longdo] |
瞬发中子 | [shùn fā zhōng zǐ, ㄕㄨㄣˋ ㄈㄚ ㄓㄨㄥ ㄗˇ, 瞬 发 中 子 / 瞬 發 中 子] prompt neutron [Add to Longdo] |
缓发中子 | [huǎn fā zhōng zǐ, ㄏㄨㄢˇ ㄈㄚ ㄓㄨㄥ ㄗˇ, 缓 发 中 子 / 緩 發 中 子] delayed neutron [Add to Longdo] |
中性子 | [ちゅうせいし, chuuseishi] (n) neutron; (P) #17,846 [Add to Longdo] |
ニュートロン | [nyu-toron] (n) neutron [Add to Longdo] |
フォトニュートロン | [fotonyu-toron] (n) photoneutron [Add to Longdo] |
高速中性子 | [こうそくちゅうせいし, kousokuchuuseishi] (n) fast neutron [Add to Longdo] |
即発中性子 | [そくはつちゅうせいし, sokuhatsuchuuseishi] (n) prompt neutron [Add to Longdo] |
遅発中性子 | [ちはつちゅうせいし, chihatsuchuuseishi] (n) delayed neutron [Add to Longdo] |
中性子回折 | [ちゅうせいしかいせつ, chuuseishikaisetsu] (n) neutron diffraction [Add to Longdo] |
中性子星 | [ちゅうせいしせい, chuuseishisei] (n) a neutron star [Add to Longdo] |
中性子線回折 | [ちゅうせいしせんかいせつ, chuuseishisenkaisetsu] (n) neutron diffraction [Add to Longdo] |
中性子束 | [ちゅうせいしそく, chuuseishisoku] (n) neutron flux [Add to Longdo] |
中性子爆弾 | [ちゅうせいしばくだん, chuuseishibakudan] (n) neutron bomb [Add to Longdo] |
低速中性子 | [ていそくちゅうせいし, teisokuchuuseishi] (n) slow neutron [Add to Longdo] |
熱外中性子 | [ねつがいちゅうせいし, netsugaichuuseishi] (n) epithermal neutron [Add to Longdo] |
熱中性子 | [ねつちゅうせいし, netsuchuuseishi] (n) thermal neutron [Add to Longdo] |
熱中性子炉 | [ねつちゅうせいしろ, netsuchuuseishiro] (n) thermal-neutron reactor [Add to Longdo] |
反中性子 | [はんちゅうせいし, hanchuuseishi] (n) antineutron [Add to Longdo] |