Cataloging in Publication | การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ , การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์, Example: Cataloging in Publication หรือ CIP คือ การจัดทำรายการข้อมูลในสิ่งพิมพ์ เป็นโครงการหนึ่งของหอสมุดรัฐสภาอเมริกับหน่วยงานอื่นๆ ในการจัดการรายการบรรณานุกรม โครงการนี้ เริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1971 เพื่อกระจายข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันและหน่วยงานที่ร่วมโครงการ ข้อมูลที่นำมาสร้างข้อมูลรายการสิ่งพิมพ์นี้ ได้มาจากสำนักพิมพ์ผู้ร่วมโครงการ มีข้อมูลมากพอที่ให้บรรณารักษ์ใช้ในการทำบัตรรายการหรือรายการหลักได้ หรือใช้เป็นตัวช่วยในการลงรายการ โดยมีการดัดแปลงหรือแก้ไขให้ตรงกับนโยบายในการลงรายการ หรือให้มีความเหมาะสมกับการให้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ทำให้ลดเวลาในการวิเคราะห์หนังสือได้มาก สามารถส่งหนังสือออกให้บริการได้เร็วขึ้น <p> <p> การจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อย่างครบถ้วน <p> <p> หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยกรอบของวิธีการ ๒ แนวทาง กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p> <p> ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูปแบบของ Alert services จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p> <p> ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติ รับบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมให้กับสำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่ขอใช้บริการเช่นเดียวกับการให้บริการหมายเลข ISBN <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110314-CIP.jpg" width="640" height="200" alt="CIP"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาต่างประเทศ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-cip.jpg" width="640" height="200" alt="CIP2"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาไทย <p>รายการบรรณานุกรม <p>United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p> <p>Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p> <p>National Library of Australia. Cataloguing-in-publication user guide. [ ออนไลน์ ] http://www.nla.gov.au/services/user-guide.html. Accessed: 20100629 : 09.55. <p> <p>Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p> <p>Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p> <p>The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Government publication | สิ่งพิมพ์รัฐบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Date of publication | ปีที่พิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
No place of publication | ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ (มปท.) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Place of publication | สถานที่พิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Publication | สิ่งพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Year of publication | ปีที่พิมพ์, Example: <p>ปีที่พิมพ์ (Year of publication) หมายถึง ปีที่ตีพิมพ์หนังสือ เป็นส่วนที่บอกว่าหนังสือนั้นตีพิมพ์เมื่อใด ระบุเป็นปีที่พิมพ์ ทั้งไทยและสากล ขึ้นอยู่กับภาษาที่ใช้ในการเขียนหนังสือ เช่น 2555 หรือ 2012 <p>ปีที่พิมพ์ แตกต่างจากคำว่า ปีพิมพ์ (Volume : Vol. ) ที่ใช้สำหรับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสาร ซึ่งหมายถึง จำนวนปีที่ได้ตีพิมพ์วารสารนั้นออกมา เช่น ปีพิมพ์ที่ 2 (Vol. 2) หมายถึง วารสารรายชื่อนั้นตีพิมพ์เป็นปีที่ 2 <p>ปีที่พิมพ์ เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในการเขียนบรรณานุกรม ซึ่งให้รายละเอียดของหนังสือ คือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้าหรือจำนวนเล่ม ภาพประกอบ อาจมีบรรณนิทัศน์ (คำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อ) ประกอบด้วย <p>หนังสือบางเล่มอาจไม่ระบุปีที่พิมพ์ หากไม่มี ให้ใช้ว่า (ม.ป.ป.) ถ้าหนังสือไม่ปรากฏทั้งสถานที่พิมพ์และปีที่พิมพ์ ให้ใช้ว่า (ม.ป.ท., หรือ ม.ป.ป.) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Acquisition of serial publication | การจัดหาวารสาร, Example: <p>วารสาร (Journals, Serials, Periodicals) คือ ทรัพยากรสารสนเทศ ความรู้ ประเภทหนึ่งในห้องสมุดที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ในการติดตามความเคลื่อนไหวและความก้าวหน้าในเทคโนโลยีใหม่และงานวิจัย วิชาการในสาขาหนึ่ง ๆ วารสารโดยเฉพาะวารสารวิชาการนับว่ามีความสำคัญ และเป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายในการเผยแพร่บทความ ความรู้ และเพื่อประโยชน์ในการต่อยอดผลงานวิจัย วิชาการ และการเป็นเอกสารอ้างอิง วารสารวิชาการบางชื่อได้รับการเชื่อถือและยอมรับว่าเป็นทฤษฎีที่ค้นพบใหม่จริง เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคม <p>ความสำคัญและคุณค่าของวารสารวิชาการเป็นเงื่อนไขหนึ่งที่ผลักดันให้ห้องสมุดต้องจัดหามาให้บริการ นอกเหนือจากเอกสาร หนังสือ และตำรา ต่าง ๆ และด้วยศักยภาพเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ส่งผลให้กระบวนการตีพิมพ์บทความวารสารวิชาการมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยจากเดิมที่ตีพิมพ์บทความในรูปแบบวารสารฉบับพิมพ์หรือรูปเล่ม ปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Journals) หรือออนไลน์ที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึงบทความได้อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็ว ทุกที่และทุกเวลาในโลก พร้อมทั้งช่วยให้การรวบรวมและจัดการข้อมูลสามารถทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นับเป็นแนวโน้มสำคัญของห้องสมุดในปัจจุบัน ในการเรียนรู้วิธีและการบริหารจัดการในการบอกรับรูปแบบใหม่ดังกล่าว <p>อย่างไรก็ตามห้องสมุดหลายแห่งโดยเฉพาะห้องสมุดในประเทศกำลังพัฒนามักประสบปัญหาเรื่องงบประมาณที่มีจำกัดในการจัดหาวารสารวิชาการที่มีราคาสูง รวมทั้งนโยบายการจัดสรรงบประมาณของหน่วยงานที่ไม่แน่นอนในแต่ละปี สวนทางกับความต้องการของผู้ใช้บริการที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง ห้องสมุดจึงได้ดำเนินการทุกวิถีทางในการหาหนทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว เช่น การสำรวจการใช้วารสารวิชาการ เพื่อพิจารณายกเลิกชื่อที่มีการใช้น้อย จัดเรียงลำดับความต้องการจากมากที่สุดไปสู่ระดับรองลงไป เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานได้อย่างคุ้มค่ากับการลงทุน รวมทั้งวิธีการติดต่อขอยืม ถ่ายสำเนา จากห้องสมุดแหล่งอื่น ๆ กล่าวคือไม่มีห้องสมุดแห่งใดในโลกที่จัดหาวารสาร ได้ครบทุกรายชื่อที่ผลิตหรือเผยแพร่ และอีกหนึ่งบริการที่สำคัญ และกล่าวถึงกันมากในขณะนี้ คือบริการจัดหาเฉพาะบทความที่ต้องการอ่าน (Pay per view / Pay per article) นับเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ประหยัดค่าใช้จ่าย โดยบริการรูปแบบนี้มีมานานแล้ว ให้บริการผ่านบริษัทนายหน้า ผู้แทนจำหน่าย นอกเหนือจากธรรมเนียม วัฒนธรรมเดิมของการจัดหา คือ จัดหาล่วงหน้าทั้งปีเพื่อรอให้ผู้ใช้บริการได้ใช้หรืออ่าน <p>หลายทศวรรษที่ผ่านมา แนวโน้มราคาวารสารวิชาการเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องอย่างไม่สมเหตุสมผล สูงกว่าภาวะอัตราเงินเฟ้อในสัดส่วนที่ไม่สมดุล โดยเฉพาะวารสารวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์ (STM) ห้องสมุดในฐานะที่อยู่ต้นทางในการให้บริการแก่ผู้ใช้ ควรกำหนดนโยบาย และมาตรการ วิธีการรองรับต่อสถานการณ์ดังกล่าว สถานภาพห้องสมุดปัจจุบันเสมือนตกอยู่ในสถานะจำยอม และยอมรับทุกเงื่อนไขที่สำนักพิมพ์เป็นผู้กำหนดทิศทางในเรื่องราคาแต่เพียงฝ่ายเดียวมาตลอด เป็นหัวข้อที่ท้าทายความสามารถของบรรณารักษ์ นักสารสนเทศในฐานะผู้จัดการความรู้ ในการที่จะหาแนวทาง วิธีการดำเนินการเพื่อให้สถานการณ์ดีขึ้น โดยยึดผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการเป็นสำคัญที่จะต้องเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ได้อย่างเท่าทัน และประหยัดงบประมาณของประเทศชาติ ซึ่งขณะนี้กระแสวารสารที่เข้าถึงได้ฟรี (Open Access) กำลังได้รับความสนใจและมีบทบาทสำคัญมาก จากผู้ที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะวิกฤติของ วารสารวิชาการนั่นเอง <p>อย่างไรก็ตาม การจัดหาวารสารเป็นงานที่มีความต่อเนื่องยาวนาน เพราะวารสารเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกเป็นลำดับตามช่วงเวลาที่แน่นอน สม่ำเสมอโดยไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุด ดังนั้นเมื่อเริ่มกระบวนการจัดหา ผู้ปฏิบัติงานต้องรับผิดชอบงานจัดหาวารสารใน 1 ปี และ ปีต่อ ๆไปด้วย กระบวนการจัดหาวารสารเป็นงานที่มีขั้นตอนการดำเนินงานอย่างเป็นลำดับ และต่อเนื่องเชื่อมโยง ตั้งแต่การบอกรับ การจ่ายเงินค่าบอกรับเป็นสมาชิก ตลอดจนการทวงถามวารสาร เพื่อให้ได้วารสารครบตามจำนวนตามเงื่อนไขในการเป็นสมาชิก หลังจากนั้นวารสารจะถูกนำไปสู่กระบวนการทางเทคนิค และงานบริการต่อไป การจัดหาวารสาร มี 4 วิธีการ คือ การจัดซื้อ (จากผู้ผลิตวารสารโดยตรง การจัดซื้อโดยสมัครเป็นสมาชิกหน่วยงานหรือสมาคม หรือ การจัดซื้อผ่านตัวแทนบอกรับวารสาร) การขอรับบริจาคหรือการได้รับอภินันทนาการ การแลกเปลี่ยนวารสาร และการผลิตขึ้นเอง <p>ปัญหาที่พบในการจัดหาวารสารที่ห้องสมุดมักประสบ คือ <p>1. ได้รับวารสารล่าช้า ไม่ตรงตามกำหนด <p>2. ได้รับวารสารไม่ครบถ้วนตามจำนวน <p>3. อัตราค่าสมาชิกสูงมาก โดยเฉพาะวารสารต่างประเทศในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p>4. กรณีวารสารอิเล็กทรอนิกส์ อาจมีปัญหาในการเข้าถึง (Access) ว่าไม่สามารถสืบค้นข้อมูลฉบับเต็มได้ <p>โดยทั่ว ๆ ไป ขั้นตอนการจัดหาวารสาร มีดังนี้ <p>1. สำรวจความต้องการใช้วารสาร ที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความต้องการใช้ <p>2. ตัดสินใจว่าวารสารรายชื่อใด ควรบอกรับโดยตรงจากสำนักพิมพ์ หรือบอกรับผ่านตัวแทน <p>3. ตรวจสอบรายละเอียดของวารสารที่ต้องการจัดหาอย่างละเอียด ให้มีความถูกต้องมากที่สุด ข้อมูลพื้นฐานที่ควรมีคือ ชื่อวารสาร เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) สำนักพิมพ์ ราคา เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ในการจัดหาวารสาร <p>4. ติดต่อสำนักพิมพ์ หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร เพื่อให้นำเสนอราคาบอกรับวารสาร ซึ่งควรติดต่อล่วงหน้าเพื่อจัดเตรียมงบประมาณที่เหมาะสมและเพียงพอ และให้ได้รับวารสารครบถ้วนในปีนั้น <p>5. ส่งใบสั่งซื้อ (Purchase Order : PO) และดำเนินการชำระเงินแก่สำนักพิมพ์หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร ซึ่งขั้นตอนนี้ห้องสมุดควรเก็บสำเนาเอกสารต่าง ๆ และทำการบันทึกการจ่ายเงิน เพื่อตรวจสอบการดำเนินงานย้อนหลังได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Serial publication | สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110602-serial-publications.jpg" Title="Serial publication" alt="Serial publication"> <br>ภาพที่ 1 ตัวอย่างหน้าปกสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง <p>คือ สิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดการออกอย่างต่อเนื่อง ภายในชื่อเรื่องเดียวกัน ทั้งนี้ส่วนใหญ่มักมีหมายเลขแสดงลำดับที่การออกในแต่ละช่วงปีที่ดำเนินการจัดพิมพ์และเผยแพร่ เช่น วารสาร Nature Medicine ซึ่งมีกำหนดออกรายเดือน ฉบับประจำเดือน พ.ค. 2554 คือ May 2011, Volume 17 No 5 pp515-632 <p>ตัวอย่างกำหนการออก <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายปี (Annually) คือ 1 ปี : ครั้ง เช่น รายงานประจำปี <p>สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องนี้รวมถึง วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ สิ่งพิมพ์รายปี เช่น รายงานประชุมปี รายงานการสำรวจ สถิติ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cataloging of serial publications | การทำบัตรรายการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cataloging of government publications | การทำรายการสิ่งพิมพ์รัฐบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Publication Number | หมายเลขที่ตีพิมพ์โฆษณาคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Publication Date | วันที่ตีพิมพ์โฆษณาคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Publications | เอกสารต่าง ๆ รวมถึงเอกสารสิทธิบัตรที่ประเทศต่าง ๆ ส่วนใหญ่จัดพิมพ์เตรียมไว้ให้แก่สาธารณะเข้าไปดู [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Acquisition of serial publications | การจัดหาสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [TU Subject Heading] |
Cataloging of government publications | การทำรายการสิ่งพิมพ์รัฐบาล [TU Subject Heading] |
Cataloging of serial publications | การทำรายการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [TU Subject Heading] |
College publications | สิ่งพิมพ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัย [TU Subject Heading] |
Government publications | สิ่งพิมพ์รัฐบาล [TU Subject Heading] |
Publication and distribution | การจัดพิมพ์และการเผยแพร่ [TU Subject Heading] |
Publication of proceeding | รายงานการประชุม [TU Subject Heading] |
Serial publications | สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [TU Subject Heading] |
Government Publications | สิ่งพิมพ์รัฐบาล [การแพทย์] |
Publication date | ปีที่พิมพ์, Example: ในหนังสือที่พิมพ์แล้ว โดยทั่วไปปีที่พิมพ์จะอยู่ที่ด้านหลังหน้าปกใน เมื่อปีพิมพ์ของหนังสือที่ตีพิมพ์ครั้งแรกแตกต่างจากปีที่พิมพ์ของฉบับปัจจุบัน ให้แสดงปีที่พิมพ์ปีแรกและปีพิมพ์ต่อมา ๆ ไว้ตามลำดับ ในหนังสือเก่า ๆ ปีที่พิมพ์อาจแสดงไว้ในวงเล็บ ในวารสาร จะระบุวันที่และเดือนหรือมีเพียงเดือนหรือระยะเวลาของฉบับที่ตีพิมพ์ออกมา (เช่น Spring, Summer, Fall, Winter) โดยทั่วไปจะพิมพ์ไว้บนหน้าปก สำหรับภาพยนตร์ ใช้วันที่วางจำหน่าย ส่วนเว็บเพจโดยทั่วไปจะเป็นวันที่ปรับปรุงครั้งล่าสุด ในการทำบัตรรายการหรือการทำบรรณานุกรม ต้องระบุปีที่พิมพ์ไว้ในส่วนพิมพลักษณ์ (Imprint) ซึ่งเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์ ได้แก่ ชื่อสำนักพิมพ์ เมืองที่ตั้งสำนักพิมพ์ และปีที่พิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Publication | n. [ L. publicatio confiscation: cf. F. publication. See Publish. ] 1. The act of publishing or making known; notification to the people at large, either by words, writing, or printing; proclamation; divulgation; promulgation; as, the publication of the law at Mount Sinai; the publication of the gospel; the publication of statutes or edicts. [ 1913 Webster ] 2. The act of offering a book, pamphlet, engraving, etc., to the public by sale or by gratuitous distribution. [ 1913 Webster ] The publication of these papers was not owing to our folly, but that of others. Swift. [ 1913 Webster ] 3. That which is published or made known; especially, any book, pamphlet, etc., offered for sale or to public notice; as, a daily or monthly publication. [ 1913 Webster ] 4. An act done in public. [ R. & Obs. ] [ 1913 Webster ] His jealousy . . . attends the business, the recreations, the publications, and retirements of every man. Jer. Taylor. [ 1913 Webster ] Publication of a libel (Law), such an exhibition of a libel as brings it to the notice of at least one person other than the person libeled. -- Publication of a will (Law), the delivery of a will, as his own, by a testator to witnesses who attest it. [ 1913 Webster ]
|
Republication | n. A second publication, or a new publication of something before published, as of a former will, of a volume already published, or the like; specifically, the publication in one country of a work first issued in another; a reprint. [ 1913 Webster ] If there be many testaments, the last overthrows all the former; but the republication of a former will revokes one of a later date, and establishes the first. Blackstone. [ 1913 Webster ] |
转发 | [zhuǎn fā, ㄓㄨㄢˇ ㄈㄚ, 转 发 / 轉 發] to transmit; forwarding (mail, SMS, packets of data); to pass on; to reprint (an article from another publication) #881 [Add to Longdo] |
季度 | [jì dù, ㄐㄧˋ ㄉㄨˋ, 季 度] period of three month; quarter, used for financial matters, school, publications etc #2,430 [Add to Longdo] |
探索 | [tàn suǒ, ㄊㄢˋ ㄙㄨㄛˇ, 探 索] to explore; to probe; commonly used in names of publications or documentaries #2,687 [Add to Longdo] |
周刊 | [zhōu kān, ㄓㄡ ㄎㄢ, 周 刊 / 週 刊] weekly publication; weekly #7,604 [Add to Longdo] |
刊物 | [kān wù, ㄎㄢ ㄨˋ, 刊 物] publication #11,033 [Add to Longdo] |
撰文 | [zhuàn wén, ㄓㄨㄢˋ ㄨㄣˊ, 撰 文] article (in publication) #12,717 [Add to Longdo] |
出版物 | [chū bǎn wù, ㄔㄨ ㄅㄢˇ ㄨˋ, 出 版 物] publications #17,261 [Add to Longdo] |
书刊 | [shū kān, ㄕㄨ ㄎㄢ, 书 刊 / 書 刊] books and publications #22,900 [Add to Longdo] |
处女作 | [chǔ nǚ zuò, ㄔㄨˇ ㄋㄩˇ ㄗㄨㄛˋ, 处 女 作 / 處 女 作] first publication; maiden work #30,949 [Add to Longdo] |
出笼 | [chū lóng, ㄔㄨ ㄌㄨㄥˊ, 出 笼 / 出 籠] just out of the steamer basket 蒸籠|蒸笼; to appear (of products, publications, sometimes derog., "lots of shoddy material is appearing nowadays") #33,955 [Add to Longdo] |
成书 | [chéng shū, ㄔㄥˊ ㄕㄨ, 成 书 / 成 書] publication; a book's first appearance #35,394 [Add to Longdo] |
删节 | [shān jié, ㄕㄢ ㄐㄧㄝˊ, 删 节 / 刪 節] to abridge; to cut a text down to size for publication #45,267 [Add to Longdo] |
征稿 | [zhēng gǎo, ㄓㄥ ㄍㄠˇ, 征 稿 / 徵 稿] to solicit subscription (to a publication) #46,935 [Add to Longdo] |
内参 | [nèi cān, ㄋㄟˋ ㄘㄢ, 内 参 / 內 參] internal reference (within the same publication) #55,501 [Add to Longdo] |
订正 | [dìng zhèng, ㄉㄧㄥˋ ㄓㄥˋ, 订 正 / 訂 正] make corrections; errata (to a publication) #61,454 [Add to Longdo] |
季刊 | [jì kān, ㄐㄧˋ ㄎㄢ, 季 刊] quarterly publication #61,663 [Add to Longdo] |
续编 | [xù biān, ㄒㄩˋ ㄅㄧㄢ, 续 编 / 續 編] sequel; continuation (of a serial publication) #72,636 [Add to Longdo] |
日刊 | [rì kān, ㄖˋ ㄎㄢ, 日 刊] daily (publication) #74,996 [Add to Longdo] |
双月刊 | [shuāng yuè kān, ㄕㄨㄤ ㄩㄝˋ ㄎㄢ, 双 月 刊 / 雙 月 刊] bimonthly publication #81,306 [Add to Longdo] |
新闻出版总署 | [xīn wén chū bǎn zǒng shǔ, ㄒㄧㄣ ㄨㄣˊ ㄔㄨ ㄅㄢˇ ㄗㄨㄥˇ ㄕㄨˇ, 新 闻 出 版 总 署 / 新 聞 出 版 總 署] Press and publication administration; PRC state censorship organization [Add to Longdo] |
发稿时 | [fā gǎo shí, ㄈㄚ ㄍㄠˇ ㄕˊ, 发 稿 时 / 發 稿 时] time of publication; at the time of going to press [Add to Longdo] |
科学编辑 | [kē xué biān jí, ㄎㄜ ㄒㄩㄝˊ ㄅㄧㄢ ㄐㄧˊ, 科 学 编 辑 / 科 學 編 輯] science editor (of a publication) [Add to Longdo] |
出版 | [しゅっぱん, shuppan] (n, vs) publication; (P) #386 [Add to Longdo] |
発表 | [はっぴょう, happyou] (n, vs) announcement; publication; (P) #389 [Add to Longdo] |
掲載 | [けいさい, keisai] (n) (1) publication (e.g. article in paper); appearance; insertion; (vs) (2) to insert (e.g. an article); to run (e.g. in a newspaper); to carry (e.g. an article); (P) #713 [Add to Longdo] |
発行 | [はっこう, hakkou] (n, vs) (1) issue (publications); publishing; (2) raising an event (software); (P) #856 [Add to Longdo] |
書籍 | [しょせき, shoseki] (n) book; publication; (P) #1,413 [Add to Longdo] |
刊行 | [かんこう, kankou] (n, vs) publication; issue; (P) #1,767 [Add to Longdo] |
月刊 | [げっかん, gekkan] (n, adj-no) monthly publication; monthly issue; (P) #2,155 [Add to Longdo] |
叢書;双書;総書 | [そうしょ, sousho] (n) series (of publications); library (of literature) #2,912 [Add to Longdo] |
刊 | [かん, kan] (suf) publication; edition (e.g. morning, evening, special); published in (year); publication frequency (e.g. daily, monthly) #4,372 [Add to Longdo] |
所収 | [しょしゅう, shoshuu] (n) included or carried (in a publication) #7,287 [Add to Longdo] |
休刊 | [きゅうかん, kyuukan] (n, vs) suspension of publication; (P) #11,146 [Add to Longdo] |
廃刊 | [はいかん, haikan] (n, vs) ceasing to publish; discontinuance of publication #12,773 [Add to Longdo] |
発刊 | [はっかん, hakkan] (n, vs) publish; start (new) publication; (P) #12,975 [Add to Longdo] |
年刊 | [ねんかん, nenkan] (n, adj-no) annual publication; year of publication; (P) #15,984 [Add to Longdo] |
バックナンバー | [bakkunanba-] (n) back issue (of a publication); back-number [Add to Longdo] |
ムック | [mukku] (n) (from "magazine" and "book") thick illustrated publication on a single topic printed to look like a magazine (wasei [Add to Longdo] |
奥書;奥書き(io) | [おくがき, okugaki] (n) postscript (to a book); verification; publication (in a book) [Add to Longdo] |
奥付;奥附;奥付け(io) | [おくづけ, okuduke] (n) colophon; publication data; production notes; printer's mark; publisher's emblem [Add to Longdo] |
仮名文 | [かなぶみ, kanabumi] (n) publication in kana alone [Add to Longdo] |
刊行会 | [かんこうかい, kankoukai] (n) publication society [Add to Longdo] |
刊行物 | [かんこうぶつ, kankoubutsu] (n) publication; periodical [Add to Longdo] |
官庁出版物 | [かんちょうしゅっぱんぶつ, kanchoushuppanbutsu] (n) official publication; public documents [Add to Longdo] |
官版 | [かんぱん, kanpan] (n) government publication [Add to Longdo] |
記念誌 | [きねんし, kinenshi] (n) commemorative publication [Add to Longdo] |
記念出版 | [きねんしゅっぱん, kinenshuppan] (n) commemorative publication [Add to Longdo] |
旧作 | [きゅうさく, kyuusaku] (n) one's old publication [Add to Longdo] |
近刊 | [きんかん, kinkan] (n, adj-no) recent publication [Add to Longdo] |
結果発表 | [けっかはっぴょう, kekkahappyou] (n) publication of results; announcement of results [Add to Longdo] |
研究発表 | [けんきゅうはっぴょう, kenkyuuhappyou] (n) research publication; scholarly publication [Add to Longdo] |
限定出版 | [げんていしゅっぱん, genteishuppan] (n) limited publication [Add to Longdo] |
公刊 | [こうかん, koukan] (n, vs) publication [Add to Longdo] |
公式出版物 | [こうしきしゅっぱんぶつ, koushikishuppanbutsu] (n) official publication; official publications [Add to Longdo] |
合刻 | [ごうこく, goukoku] (n, vs) (obsc) publication of two or more different books together as one [Add to Longdo] |
合板 | [ごうはん(P);ごうばん(P), gouhan (P); gouban (P)] (n) veneer board; plywood; joint publication; (P) [Add to Longdo] |
再刊 | [さいかん, saikan] (n, vs) reprint; republication [Add to Longdo] |
再発表 | [さいはっぴょう, saihappyou] (n) re-release; republication [Add to Longdo] |
事前検閲 | [じぜんけんえつ, jizenken'etsu] (n) prepublication censorship [Add to Longdo] |
終刊 | [しゅうかん, shuukan] (n, vs) cessation of publication [Add to Longdo] |
終刊号 | [しゅうかんごう, shuukangou] (n) final issue; last issue of a publication [Add to Longdo] |
週刊誌 | [しゅうかんし, shuukanshi] (n) (See 週刊雑誌) weekly publication; weekly magazine; (P) [Add to Longdo] |
出版地 | [しゅっぱんち, shuppanchi] (n) place of publication [Add to Longdo] |
出版地不明 | [しゅっぱんちふめい, shuppanchifumei] (n) without a place of publication; sine loco; s.l. [Add to Longdo] |
出版物 | [しゅっぱんぶつ, shuppanbutsu] (n) publication; (P) [Add to Longdo] |
出版法 | [しゅっぱんほう, shuppanhou] (n) press law; publication law [Add to Longdo] |
出版目録 | [しゅっぱんもくろく, shuppanmokuroku] (n) catalog of publications; catalogue of publications [Add to Longdo] |
所載 | [しょさい, shosai] (n) printed; published; noted or mentioned (in a publication) [Add to Longdo] |
上梓 | [じょうし, joushi] (n, vs) publication; wood-block printing [Add to Longdo] |
新刊 | [しんかん, shinkan] (n) new book; new publication; (P) [Add to Longdo] |
新刊書 | [しんかんしょ, shinkansho] (n) new book; new publication [Add to Longdo] |
世界経済見通し | [せかいけいざいみとおし, sekaikeizaimitooshi] (n) World Economic Outlook (IMF publication) [Add to Longdo] |