Military readiness | ความพร้อมทางการทหาร [TU Subject Heading] |
Readiness for school | ความพร้อมทางการเรียน [TU Subject Heading] |
Reading readiness | ความพร้อมในการอ่าน [TU Subject Heading] |
e-Government readiness | การประเมินวัดความพร้อมของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์, Example: การประเมินวัดความพร้อมของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ โดยการสำรวจขององค์การสหประชาชาติ (United Nations : UN) ได้ริเริ่มการสำรวจทางด้านความพร้อมของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ขึ้นนับแต่ปี 2545 โดยวัตถุประสงค์ของการสำรวจเพื่อ (i)ประเมินเปรียบเทียบความสามารถของประเทศสมาชิกองค์การสหประชาชาติในการเปลี่ยนแปลงภาครัฐโดยการนำ ICT มาใช้เพื่อให้บริการผ่านสื่อออนไลน์แก่ประชาชน (ii) เพื่อเป็นเครื่องมือในการ benchmark ความก้าวหน้าในการให้บริการ e-Services ของภาครัฐอยู่เป็นระยะ e-Government readiness ประกอบด้วย ดัชนีย่อย 3 ด้าน คือ <ol> <li>Web measure index ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของ e-Government Model ที่แบ่งขั้นตอนของวิวัฒนาการของการให้บริการทางออนไลน์ของ e-Government เป็น 5 ขั้นตอน</li> <li>Telecommunication infrastructure index ประกอบด้วย การแพร่กระจายโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศภายในประเทศ ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ (ประจำที่และโทรศัพท์เคลื่อนที่) การแพร่กระจายของอินเทอร์เน็ตและอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (Broadband)</li> <li>Human capital index ซึ่งเน้นที่ความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ภายในประเทศ เช่น ความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ (literacy) และจำนวนประชากรที่เข้าศึกษาต่อทั้งในระดับประถม มัธยมและอุดมศึกษา</li> </ol><p> นอกจากนี้ ในการสำรวจระยะหลัง องค์การสหประชาชาตืเริ่มปรับแนวคิดจาก e-Government เป็น e-Governance โดยได้ขยายมิติให้ครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครอง/บริหารบ้านเมืองของประชาชน หรือ e-Praticipation ด้วย<p> [ ที่มา: UN E-Government Survey 2008: from e-Government to Connected Governance ] [เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ] |
e-Readiness ranking | รายงานการจัดอันดับขีดความสามารถในการใช้ประโยชน์ของ ICT เพื่อการดำเนินธุรกิจ (e-Business) ของประเทศต่างๆ ทั่วโลก, Example: e-Readiness ranking เป็นรายงานการจัดอันดับขีดความสามารถในการใช้ประโยชน์ของ ICT เพื่อการดำเนินธุรกิจ (e-Business) ของประเทศต่างๆ ทั่วโลก รายงานนี้จัดทำขึ้นเป็นประจำทุกปี โดย Economist Intelligence Unit การจัดอันดับชึ้นอยู่กับคะแนนเฉลี่ยโดยรวมที่คำนวณจากตัวชี้วัดเชิงคุณภาพและปริมาณเกือบ 100 ตัว ภายใต้หลักเกณฑ์การพิจารณาซึ่งแบ่งได้เป็น 6 กลุ่ม แต่ละกลุ่มจะมีการให้น้ำหนักคะแนนต่างกันตามความสำคัญ ดังนี้<p> <ol> <li>การเชื่อมต่อเครือข่ายและโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี</li> <li>สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ</li> <li>สภาพแวดล้อมด้านสังคมและวัฒนธรรม</li> <li>นโยบายและวิสัยทัศน์ของรัฐบาล</li> <li>การยอมรับและนำเทคโนโลยีมาใช้ของธุรกิจและผู้บริโภค</li> </ol> <p> [ ที่มา: Economist Intelligence Unit ] [เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ] |
Networked Readiness Index | ดัชนีบ่งชี้ระดับความพร้อมของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, Example: ดัชนีบ่งชี้ระดับความพร้อมของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และโอกาสในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการพัฒนาประเทศ ที่ครอบคลุมทั้งภาคประชาชน ภาคธุรกิจและภาครัฐ ซึ่งจัดทำขึ้นโดย World economic forum และมีการรายงานใน Global information technology report เป็นประจำทุกปี ดัชนี NRI ประกอบด้วยดัชนีย่อย (sub-index) 3 กลุ่ม กล่าวคือ <ul> <li>สภาพแวดล้อม/ปัจจัยพื้นฐานที่ส่งผลต่อการพัฒนา ICT ประกอบด้วย (i) สภาพแวดล้อมทางด้านการทำธุรกิจ/ตลาดของ เช่น การมีนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรที่เพียงพอ กฏระเบียบของภาครัฐและผลของมาตรการทางภาษาต่างๆ เป็นต้น (ii) สภาพแวดล้อมทางด้านการเมืองการปกครอง และกฎเกณฑ์การกำกับดูแลต่างๆ อาทิ การมีกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับ ICT ประสิทธิภาพของการบังคับใช้กฎหมาย การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และ (iii) สภาพแวดล้อมทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ไฟฟ้า โทรศัพท์ เป็นต้น</li> <li>ความพร้อมทางด้านเครือข่ายซึ่งรวมถึงความพร้อมของบุคลากรที่จะเป็นผู้ใช้ประโยชน์จากเครือข่าย โดยในการวัดยังแบ่งเป็นความพร้อมของประชาชนทั่วไป (individual), ภาคธุรกิจ (business) และภาครัฐ (government) โดยตัวอย่างตัวชี้วัด (indicators) ที่นำมาพิจารณาคือ (i) การเชื่อมต่อและการลงทุนในเครือข่าย เช่น การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของโรงเรียน การเชื่อมต่อคู่สายโทรศัพท์ของครัวเรือน/สถานประกอบการ การจัดซื้่อจัดหาเทคโนโลยีของภาครัฐ (ii) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เช่น คุณภาพของระบบการศึกษาในประเทศ การลงทุนด้านการฝึกอบรมของบุคลากรในสถานประกอบการ และการให้ความสำคัญกับการสร้างและพัฒนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (iii) การใช้ดัชนีย่อยอื่นๆ มาประเมินวัด เช่น e-Government readiness</li> <li>ความสามารถในการใช้ประโยชน์จาก ICT ของภาคประชาชน ภาคธุรกิจ และภาครัฐ โดยอาจจัดกลุ่มชี้วั ดที่สำคัญได้ ดังนี้ คือ (i) การแพร่กระจายโครงสร้างพื้นฐานเพื่อให้คน/องค์กรกลุ่มต่างๆ สามารถใช้ประโยชน์ เช่น การแพร่กระจายของคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ (ประจำที่และเคลื่อนที่) และอินเทอร์เน็ต ระดับการมี การใช้ ICT ของภาครัฐ (ii) ความสามารถในการใช้ประโยชน์จาก ICT เช่น ความสามารถในการดูดซับเทคโนโลยีของภาคธุรกิจ ประสิทธิผลของการใช้ ICT ในภาครัฐ (iii) ระดับของการใช้ประโยชน์จาก ICT เช่น จำนวนบริการภาครัฐออนไลน์ การใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตของภาคธุรกิจและจำนวนข้อมูลที่ไหลเวียนบนอินเทอร์เน็ต (Internet Traffic) เป็นต้น NRI มีความโดดเด่นทั้งในด้านของความสมบูรณ์ของตัวชี้วัดที่นำมาพิจารณา และจำนวนของประเทศที่นำมาศึกษา</li> </ul> [เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ] |
ความพร้อม | (n) readiness, See also: preparedness, Example: การมองสู่อนาคตจะทำให้เรามีความพร้อมต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม, Thai Definition: ลักษณะที่มีคุณสมบัติครบตามต้องการ |
การตระเตรียม | (n) preparation, See also: readiness, arrangement, equipment, Syn. การกระเกรียม, การเตรียม, การจัดเตรียม, การเตรียมการ, Example: ทหารชายแดนมีการตระเตรียมอาวุธพร้อมรบอยู่เสมอ |
การเตรียมพร้อม | (n) preparation, See also: readiness, preparing, arrangement, Example: นักเรียน นักศึกษาควรมีการเตรียมพร้อม, Thai Definition: เตรียมตัวเตรียมกำลังไว้ให้พร้อม |
การจัดเตรียม | (n) preparation, See also: arrangement, readiness, Example: ก่อนออกเดินป่าต้องมีการจัดเตรียมข้าวของสัมภาระอย่างละเอียดรอบคอบ |
ความมักง่าย | (n) rough-and-readiness, See also: carelessness, casualness, cursoriness, thoughtlessness, makeshift, Example: มลพิษของสิ่งแวดล้อมรอบๆ เมืองชายทะเลเกิดจากความมักง่ายทิ้งขยะไม่เลือกที่, Thai Definition: นิสัยชอบเอาแต่ความสะดวกเข้าว่า |
とく;どく | [toku ; doku] (v5k) (contraction of ..て or で plus 置く) to do something in readiness for; to get something (needful) done #5,860 [Add to Longdo] |
覚悟 | [かくご, kakugo] (n, vs) resolution; resignation; readiness; preparedness; (P) #10,222 [Add to Longdo] |
心がけ(P);心掛け(P);心懸け | [こころがけ, kokorogake] (n) intention; attention; dedication; care; prudence; readiness; mental attitude; (P) #15,280 [Add to Longdo] |
態勢 | [たいせい, taisei] (n) attitude; posture; preparedness; readiness; (P) #19,134 [Add to Longdo] |
レディネス | [redeinesu] (n) readiness [Add to Longdo] |
気構え | [きがまえ, kigamae] (n) (1) readiness; preparedness; attitude; (2) kanji "vapor" radical [Add to Longdo] |
協力態勢 | [きょうりょくたいせい, kyouryokutaisei] (n) readiness to cooperate; framework for cooperation [Add to Longdo] |
心構え | [こころがまえ, kokorogamae] (n) preparedness; readiness; (P) [Add to Longdo] |
当て馬;あて馬 | [あてうま, ateuma] (n) stallion brought close to a mare to test her readiness to mate; stalking horse; spoiler [Add to Longdo] |