petition of rights | คำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
littoral rights | สิทธิเหนือชายฝั่ง [ ดู riparian rights ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
riparian rights | สิทธิชายฝั่งแม่น้ำ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rights issue | สิทธิซื้อหุ้นที่ออกใหม่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rights, antecedent | บุรพสิทธิ, สิทธิที่มีอยู่ก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Rights, Bill of | บัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rights, civil | สิทธิของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rights, divine | เทวสิทธิ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rights, human | สิทธิมนุษยชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rights, natural | สิทธิโดยธรรมชาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rights, natural | สิทธิโดยธรรมชาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rights, petition of | คำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rights, States' | สิทธิของมลรัฐ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
substantive rights | สิทธิพื้นฐาน, สิทธิที่เป็นสาระสำคัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
States' rights | สิทธิของมลรัฐ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
antecedent rights | บุรพสิทธิ, สิทธิที่มีอยู่ก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Bill of Rights | บัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
maternity rights | สิทธิเนื่องด้วยการคลอด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mere rights | สิทธิแต่ในนาม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
marital rights and duties | สิทธิและหน้าที่ของคู่สมรส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
civil rights | สิทธิของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
civil rights | สิทธิของพลเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
conjugal rights | สิทธิที่คู่สมรสมีต่อกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
x.r. (ex rights) | โดยไม่มีสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fundamental rights | สิทธิพื้นฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ex rights (x.r.) | โดยไม่มีสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ex rights (x.r.) | โดยไม่มีสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
industrial property rights insurance | การประกันภัยสิทธิในอุตสาหกรรม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
vested rights | สิทธิพื้นฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
third-party rights in land | สิทธิของบุคคลภายนอกในที่ดิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
human rights | สิทธิมนุษยชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
natural rights | สิทธิโดยธรรมชาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
natural rights | สิทธิโดยธรรมชาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unpaid seller's rights | สิทธิของผู้ขายที่ไม่ได้รับชำระราคาของ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
PR, Intellectual Property Rights | การมีสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Transferable Subscription Rights | ใบสำคัญแสดงสิทธิในการซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่โอนสิทธิได้, Example: ตราสารที่บริษัทจดทะเบียนออกให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมทุกคนตามสัดส่วนหุ้นที่ผุ้ถือหุ้นแต่ละรายมีอยู่ โดยผู้ถือหุ้นเดิมสามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นเพิ่มทุนของบริษัทจดทะเบียนนั้น หรือขายตราสารดังกล่าวออกไปให้บุคคลอื่นใช้สิทธิแทน [ตลาดทุน] |
Women's rights | สิทธิสตรี [TU Subject Heading] |
Abuse of rights | สิทธิส่วนเกิน [TU Subject Heading] |
Agreement on Trade-Related Aspect of Intellectural Property Rights (1994) | ความตกลงว่าด้วยสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า (ค.ศ. 1994) [TU Subject Heading] |
Animal rights | สิทธิของสัตว์ [TU Subject Heading] |
Broadcasting rights | สิทธิในการกระจายเสียงและการแพร่ภาพออกอากาศ [TU Subject Heading] |
Children's rights | สิทธิเด็ก [TU Subject Heading] |
Civil rights | สิทธิพลเมือง [TU Subject Heading] |
Civil rights demonstrations | สิทธิพลเมืองในการเดินขบวน [TU Subject Heading] |
Convention on the Rights of Persons with Disabilities and Optional Protocol (2007) | อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการและพิธีสาร (ค.ศ. 2007) [TU Subject Heading] |
Convention on the Rights of the Child (1989) | อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (ค.ศ. 1989) [TU Subject Heading] |
Convention Relation to Registration of Rights in Respect of Vessels under Construction, 1967 | อนุสัญญาว่าด้วยการจดทะเบียนซึ่งสิทธิบางประการของเรือที่อยู่ระหว่างการต่อ (ค.ศ. 1967) [TU Subject Heading] |
Employee rights | สิทธิลูกจ้าง [TU Subject Heading] |
Gay rights | สิทธิเกย์ [TU Subject Heading] |
Human rights | สิทธิมนุษยชน [TU Subject Heading] |
Human rights advocacy | การพิทักษ์สิทธิมนุษยชน [TU Subject Heading] |
Human rights in motion pictures | สิทธิมนุษยชนในภาพยนตร์ [TU Subject Heading] |
Human rights workers | นักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน [TU Subject Heading] |
International Covenant on Civil and Political Rights (1966) | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ค.ศ. 1966) [TU Subject Heading] |
International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights (1966) | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ค.ศ. 1966) [TU Subject Heading] |
Management rights | สิทธิในการจัดการ [TU Subject Heading] |
Moral rights | สิทธิทางศีลธรรม [TU Subject Heading] |
Political rights | สิทธิทางการเมือง [TU Subject Heading] |
Social rights | สิทธิทางสังคม [TU Subject Heading] |
Special drawing rights | สิทธิถอนเงินพิเศษ [TU Subject Heading] |
Water rights | สิทธิเกี่ยวกับน้ำ [TU Subject Heading] |
Water rights (International law) | สิทธิเกี่ยวกับน้ำ (กฎหมายระหว่างประเทศ) [TU Subject Heading] |
Women human rights workers | นักต่อสู้สตรีเพื่อสิทธิมนุษยชน [TU Subject Heading] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นคณะกรรมาธิการหลัก ซึ่งรับผิดชอบในการเสาะหามาตรการในการส่งเสริมเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งตรวจสอบและสอดส่องการดำเนินการด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษย ชนในประเทศต่าง ๆ ด้วย คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 53 ประเทศ มาจากการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี คณะกรรมาธิการฯ โดยจะมีการประชุมเป็นประจำทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ณ นครเจนีวา ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการฯ สำหรับวาระ พ.ศ. 2544-2546 [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
Convention on the Rights of the Child | อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ได้รับการรับรองจากสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2532 โดยอนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2533 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อคุ้มครองสิทธิของเด็ก (บุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปี) เพื่อให้ได้รับการศึกษา การดูแล ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบหรือกระทำทารุณกรรม ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกสหประชาชาติที่เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 191 ประเทศ คงเหลือโซมาเลียและสหรัฐอเมริกาที่ยังมิได้ให้สัตยาบัน ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กด้วยการภาคยานุวัติ อนุสัญญาฯ มีผลปังคับใช้กับประเทศไทยเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2535 ขณะนี้ไทยยังคงมีข้อสงวน 2 ข้อ คือ ข้อ 7 เรื่องสัญชาติ และ ข้อ 22 เรื่องการให้สถานะเป็นผู้ลี้ภัย [การทูต] |
Human Rights Committee | คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เป็นกลไกติดตามผลการอนุวัติกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights : ICCPR) [การทูต] |
human rights | สิทธิมนุษยชน [การทูต] |
International Covenant on Civil and Political Rights | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2540 [การทูต] |
International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม " เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 6 กันยายน 2542 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 " [การทูต] |
observance of rights | การเคารพสิทธิ [การทูต] |
preferential rights | บุริมสิทธิ [การทูต] |
Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights | หมายถึง สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า เช่น เครื่องหมายการค้า (trademark) ลิขสิทธิ์ (copyrights) และสิทธิบัตร (patent) เป็นต้น [การทูต] |
Universal Declaration of Human Rights | ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เป็นเอกสารหลักด้านสิทธิมนุษยชนฉบับแรก ซึ่งที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติให้การรับรองตามข้อมติที่ 217 A (III) เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491 โดยไทยออกเสียงสนับสนุน [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
Without rights | ไม่มีสิทธิ์ [การบัญชี] |
สิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน | (n) fundamental rights and freedoms, Example: สิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน เป็นสิทธิที่ติดตัวมนุษย์มาแต่กำเนิด ไม่มีใครพรากจากตัวมนุษย์ได้ |
คุ้มครองสิทธิ์ | (v) guard the rights, Syn. รักษาสิทธิ์, ป้องกันสิทธิ์, Ant. ละเมิดสิทธิ์, รุกรานสิทธิ์, Example: กรมทรัพย์สินทางปัญญาเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการปกป้องและ คุ้มครองสิทธิ์ เพื่อสร้างวินัยทางการค้าแก่ผู้ประกอบการ |
สิทธิเสรีภาพ | (n) liberty and rights |
สิทธิมนุษยชน | (n) human rights, Example: ทุกวันนี้พม่ายังข่มเหงและละเมิดสิทธิมนุษยชนชนกลุ่มน้อยต่างๆ ในประเทศอยู่, Thai Definition: สิทธิของความเป็นมนุษย์ที่ติดตัวมาแต่เกิดของมนุษย์ทุกคน |
มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก | (n) Foundation of the protection of children's Rights, See also: CPCR, Example: ชมรมครอบครัวเป็นหนึ่งในโครงการของมูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก, Thai Definition: องค์กรที่สนับสนุนการคุ้มครองเด็ก ในด้านกฎหมายและสังคมสงเคราะห์แก่เด็กที่ถูกละเมิดสิทธิในกรณีต่างๆ |
สิทธิสตรี | (n) women's rights, See also: woman's rights, Example: นักเขียนได้เล่าถึงการเรียกร้องสิทธิสตรีตั้งแต่สมัยโบราณมาจนถึงทุกวันนี้, Thai Definition: สิ่งซึ่งผู้หญิงพึงได้รับจากสังคมตามบรรทัดฐานของสังคมนั้นๆ |
ทับสิทธิ์ | (v) abstain from voting, See also: sleep on one's rights, lose one's right, abandon one's right, neglect one's right, Syn. นอนหลับทับสิทธิ์, Example: เขาทับสิทธิ์ในการเลือกตั้งครั้งนี้, Thai Definition: ไม่ยอมใช้สิทธิ์ของตน |
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน | (n) Declaration of Human Rights, Example: ประเทศต่างๆ ให้ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน, Thai Definition: การให้คำมั่นสัญญาหรือการแสดงยืนยันถึงสิทธิหรืออำนาจอันชอบธรรมของมนุษย์ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป |
กฎหมายแพ่ง | (n) civil law, See also: law of private rights, Example: สัมปทานมีลักษณะเป็นสัญญาที่มีเงื่อนไข ข้อตกลงมากมายทั้งในแง่กฎหมายมหาชน กฎหมายแพ่ง และแนวทางปฎิบัติในวงการธุรกิจ, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างบุคคล เกี่ยวกับสถานภาพสิทธิและ หน้าที่ ของบุคคล ตามกฎหมาย เช่น กฎหมายว่าด้วยนิติกรรม ละเมิดทรัพย์สิน ครอบครัว มรดก |
นอนหลับทับสิทธิ์ | (v) be neglectful in one's rights, See also: sleep on one's rights, Example: คนกรุงเทพนอนหลับทับสิทธิ์กันมากในการเลือกตั้งครั้งนี้, Thai Definition: ไม่ใช้สิทธิ์ที่ตนมีอยู่ |
เสื่อมสิทธิ์ | (v) lose one's rights, See also: take away one's rights, Thai Definition: มีสิทธิน้อยลง, ทำให้สิทธิเสียไป |
การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค | [kān khumkhrøng sitthi phūbøriphōk] (n, exp) EN: Protection of Consumers` Rights (PCR) FR: protection du consommateur [ f ] |
คุ้มครองสิทธิ์ | [khumkhrøng sit] (v, exp) EN: guard the rights |
กฎหมายแพ่ง | [kotmāi phaeng] (n, exp) EN: civil law ; law of private rights FR: code civil [ m ] ; droit civil [ m ] |
นอนหลับทับสิทธิ์ | [nønlapthapsit] (v) EN: be neglectful in one's rights ; sleep on one's rights ; fail to excercise one's rights |
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน | [Patinyā Sākon Wā Dūay Sitthi Manutsayachon] (n, prop) EN: Declaration of Human Rights |
สงวนลิขสิทธิ์ | [sa-ngūan likkhasit] (v, exp) EN: all rights reserved FR: tous droits réservés |
สงวนลิขสิทธิ์ทั้งหมด | [sa-ngūan likkhasit thangmot] (v, exp) EN: all rights reserved |
สิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน | [sitthi lae sēriphāp khanpheūnthān] (n, exp) EN: fundamental rights and freedoms FR: droits et libertés fondamentaux [ mpl ] |
สิทธิมนุษยชน | [sitthi manutsayachon] (n, exp) EN: human rights FR: droits de l'Homme [ mpl ] |
สิทธิมนุษยชนพื้นฐาน | [sitthi manutsayachon pheūnthān] (n, exp) EN: fundamental human rights FR: droits humains fondamentaux [ mpl ] |
สิทธิพลเมือง | [sitthi phonlameūang] (n, exp) EN: civil rights |
สิทธิผูกขาด | [sitthi phūkkhāt] (n, exp) EN: sole rights |
สิทธิสตรี | [sitthi sattrī] (n, exp) EN: women's rights ; woman's rights FR: droits de la femme [ mpl ] |
สิทธิเสรีภาพ | [sitthi sēriphāp] (n, exp) EN: liberty and rights FR: droits et libertés [ mpl ] |
สิทธิเท่าเทียมกัน | [sitthi thaothīem kan] (n, exp) EN: equal rights FR: droits équivalents [ mpl ] |
สิทธิที่ได้มาตั้งแต่เกิด | [sitthi thī dāi mā tangtaē koēt] (n, exp) EN: unalienable rights |
ทับสิทธิ์ | [thapsit] (v) EN: abstain from voting ; sleep on one's rights ; lose one's right ; abandon one's right ; neglect one's right |
ตราจอง | [trājøng] (n) EN: document of possessory rights to land |
bill of rights | (n) a statement of fundamental rights and privileges (especially the first ten amendments to the United States Constitution) |
by rights | (adv) with reason or justice, Syn. properly |
civil rights leader | (n) a leader of the political movement dedicated to securing equal opportunity for members of minority groups, Syn. civil rights activist, civil rights worker |
civil rights movement | (n) movement in the United States beginning in the 1960s and led primarily by Blacks in an effort to establish the civil rights of individual Black citizens |
commission on human rights | (n) the commission of the Economic and Social Council of the United Nations that is concerned with human rights |
rights offering | (n) an offering of common stock to existing shareholders who hold subscription rights or pre-emptive rights that entitle them to buy newly issued shares at a discount from the price at which they will be offered to the public later, Syn. rights issue |
special drawing rights | (n) reserve assets in the International Monetary Fund; designed to supplement reserves of gold and convertible currencies used to maintain stability in the foreign exchange market, Syn. paper gold |
states' rights | (n) a doctrine that federal powers should be curtailed and returned to the individual states |
states' rights | (n) the rights conceded to the states by the United States constitution |
states' rights democratic party | (n) a former political party in the United States; formed in 1948 by Democrats from southern states in order to oppose to the candidacy of Harry S Truman, Syn. Dixiecrats |
accordance | (n) the act of granting rights, Syn. accordance of rights |
享受 | [xiǎng shòu, ㄒㄧㄤˇ ㄕㄡˋ, 享 受] to enjoy (rights, benefits etc) #1,228 [Add to Longdo] |
权益 | [quán yì, ㄑㄩㄢˊ ㄧˋ, 权 益 / 權 益] rights and benefits #2,830 [Add to Longdo] |
知识产权 | [zhī shi chǎn quán, ㄓ ㄕ˙ ㄔㄢˇ ㄑㄩㄢˊ, 知 识 产 权 / 知 識 產 權] intellectual property rights #3,990 [Add to Longdo] |
享有 | [xiǎng yǒu, ㄒㄧㄤˇ ㄧㄡˇ, 享 有] enjoy (rights, privileges etc) #5,423 [Add to Longdo] |
出让 | [chū ràng, ㄔㄨ ㄖㄤˋ, 出 让 / 出 讓] to transfer (one's property or rights to sb else) #6,733 [Add to Longdo] |
侵权 | [qīn quán, ㄑㄧㄣ ㄑㄩㄢˊ, 侵 权 / 侵 權] to infringe the rights of; to violate; infringement #6,862 [Add to Longdo] |
人权 | [rén quán, ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ, 人 权 / 人 權] human rights #7,277 [Add to Longdo] |
使用权 | [shǐ yòng quán, ㄕˇ ㄩㄥˋ ㄑㄩㄢˊ, 使 用 权 / 使 用 權] usage rights #7,625 [Add to Longdo] |
所有权 | [suǒ yǒu quán, ㄙㄨㄛˇ ㄧㄡˇ ㄑㄩㄢˊ, 所 有 权 / 所 有 權] ownership; possession; property rights; title (to property) #8,276 [Add to Longdo] |
财产权 | [cái chǎn quán, ㄘㄞˊ ㄔㄢˇ ㄑㄩㄢˊ, 财 产 权 / 財 產 權] property rights #27,105 [Add to Longdo] |
包销 | [bāo xiāo, ㄅㄠ ㄒㄧㄠ, 包 销 / 包 銷] have exclusive selling rights; be the sole agent for a production unit or firm #31,507 [Add to Longdo] |
公民权利 | [gōng mín quán lì, ㄍㄨㄥ ㄇㄧㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄌㄧˋ, 公 民 权 利 / 公 民 權 利] civil rights #34,748 [Add to Longdo] |
拨乱反正 | [bō luàn fǎn zhèng, ㄅㄛ ㄌㄨㄢˋ ㄈㄢˇ ㄓㄥˋ, 拨 乱 反 正 / 撥 亂 反 正] bring order out of chaos; set to rights things which have been thrown into disorder #39,899 [Add to Longdo] |
胡佳 | [Hú Jiā, ㄏㄨˊ ㄐㄧㄚ, 胡 佳] Hu Jia (1974-), PRC dissident human rights activist #41,889 [Add to Longdo] |
治外法权 | [zhì wài fǎ quán, ㄓˋ ㄨㄞˋ ㄈㄚˇ ㄑㄩㄢˊ, 治 外 法 权 / 治 外 法 權] diplomatic immunity; (hist.) extraterritoriality, the rights (under unequal treaties) of a foreigner to live in China outside Chinese jurisdiction #106,703 [Add to Longdo] |
人权法 | [rén quán fǎ, ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄈㄚˇ, 人 权 法 / 人 權 法] Human Rights law (Hong Kong) #122,239 [Add to Longdo] |
萨哈罗夫 | [Sà hǎ luó fū, ㄙㄚˋ ㄏㄚˇ ㄌㄨㄛˊ ㄈㄨ, 萨 哈 罗 夫 / 薩 哈 羅 夫] Andrei Sakharov (1921-1989), Russian nuclear scientist and dissident human rights activist #259,708 [Add to Longdo] |
世界人权宣言 | [Shì jiè Rén quán Xuān yán, ㄕˋ ㄐㄧㄝˋ ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄒㄩㄢ ㄧㄢˊ, 世 界 人 权 宣 言 / 世 界 人 權 宣 言] Universal Declaration of Human Rights [Add to Longdo] |
中俄伊犁条约 | [Zhōng É Yī lí tiáo yuē, ㄓㄨㄥ ㄜˊ ㄧ ㄌㄧˊ ㄊㄧㄠˊ ㄩㄝ, 中 俄 伊 犁 条 约 / 中 俄 伊 犁 條 約] Treaty of Saint Petersburg of 1881, whereby Russia handed back Yili province to Qing China in exchange for compensation payment and unequal treaty rights [Add to Longdo] |
中俄改订条约 | [Zhōng É gǎi dìng tiáo yuē, ㄓㄨㄥ ㄜˊ ㄍㄞˇ ㄉㄧㄥˋ ㄊㄧㄠˊ ㄩㄝ, 中 俄 改 订 条 约 / 中 俄 改 訂 條 約] Treaty of Saint Petersburg of 1881, whereby Russia handed back Yili province to Qing China in exchange for compensation payment and unequal treaty rights [Add to Longdo] |
人权观察 | [rén quán guān chá, ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄍㄨㄢ ㄔㄚˊ, 人 权 观 察 / 人 權 觀 察] Human Rights Watch (organization) [Add to Longdo] |
人权斗士 | [rén quán dòu shì, ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄉㄡˋ ㄕˋ, 人 权 斗 士 / 人 權 鬥 士] a human rights activist; a fighter for human rights [Add to Longdo] |
人民基本权利 | [rén mín jī běn quán lì, ㄖㄣˊ ㄇㄧㄣˊ ㄐㄧ ㄅㄣˇ ㄑㄩㄢˊ ㄌㄧˋ, 人 民 基 本 权 利 / 人 民 基 本 權 利] fundamental civil rights [Add to Longdo] |
人身权 | [rén shēn quán, ㄖㄣˊ ㄕㄣ ㄑㄩㄢˊ, 人 身 权 / 人 身 權] one's personal rights [Add to Longdo] |
利权 | [lì quán, ㄌㄧˋ ㄑㄩㄢˊ, 利 权 / 利 權] economic rights (e.g. of a state monopoly) [Add to Longdo] |
名称权 | [míng chēng quán, ㄇㄧㄥˊ ㄔㄥ ㄑㄩㄢˊ, 名 称 权 / 名 稱 權] copyright; rights to a trademark [Add to Longdo] |
大宪章 | [dà xiàn zhāng, ㄉㄚˋ ㄒㄧㄢˋ ㄓㄤ, 大 宪 章 / 大 憲 章] Magna Carta, contract forced on Norman king John of England in 1215 by his barons, subsequently viewed as a basis of constitutional government and human rights [Add to Longdo] |
打兑 | [dǎ duì, ㄉㄚˇ ㄉㄨㄟˋ, 打 兑 / 打 兌] to arrange (colloq.); to transfer creditor's rights (in a debt case) [Add to Longdo] |
改订伊犁条约 | [gǎi dìng Yī lí tiáo yuē, ㄍㄞˇ ㄉㄧㄥˋ ㄧ ㄌㄧˊ ㄊㄧㄠˊ ㄩㄝ, 改 订 伊 犁 条 约 / 改 订 伊 犁 條 約] Treaty of Saint Petersburg of 1881 in which Russia agreed to hand back Yili province to Qing China in exchange for compensation payment and unequal treaty rights [Add to Longdo] |
扬建利 | [yáng jiàn lì, ㄧㄤˊ ㄐㄧㄢˋ ㄌㄧˋ, 扬 建 利 / 楊 建 利] Yang JianLi, PRC human rights activist [Add to Longdo] |
维权 | [wéi quán, ㄨㄟˊ ㄑㄩㄢˊ, 维 权 / 維 權] to defend (legal) rights [Add to Longdo] |
维权人士 | [wéi quán rén shì, ㄨㄟˊ ㄑㄩㄢˊ ㄖㄣˊ ㄕˋ, 维 权 人 士 / 維 權 人 士] civil rights activist [Add to Longdo] |
萨哈罗夫人权奖 | [sà hǎ luó fū rén quán jiǎng, ㄙㄚˋ ㄏㄚˇ ㄌㄨㄛˊ ㄈㄨ ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄐㄧㄤˇ, 萨 哈 罗 夫 人 权 奖 / 薩 哈 羅 夫 人 權 獎] the EU Sakharov prize for human rights [Add to Longdo] |
萨哈诺夫人权奖 | [sà hǎ nuò fū rén quán jiǎng, ㄙㄚˋ ㄏㄚˇ ㄋㄨㄛˋ ㄈㄨ ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄐㄧㄤˇ, 萨 哈 诺 夫 人 权 奖 / 薩 哈 諾 夫 人 權 獎] the EU Sakharov prize for human rights [Add to Longdo] |
人権 | [じんけん, jinken] (n, adj-no) human rights; civil liberties; (P) #4,909 [Add to Longdo] |
同等 | [どうとう, doutou] (adj-na, n, adj-no) equality; equal; same rights; same rank; equivalence; (P) #6,426 [Add to Longdo] |
理念 | [りねん, rinen] (n) (Platonic) ideal (of how things ought to be, e.g. human rights); foundational principle; idea; conception (e.g. of the university); doctrine; ideology; (P) #6,765 [Add to Longdo] |
擁護 | [ようご, yougo] (n) (1) protection; advocacy; support; defence; championship; vindication; (vs) (2) to protect (e.g. rights, etc.); to advocate (e.g. free trade, etc.); to support; (P) #8,127 [Add to Longdo] |
時効 | [じこう, jikou] (n) (1) statute of limitations; lapse of rights after a period of time; prescription (including acquisitive and extinctive prescription); (2) ageing; aging; (P) #17,029 [Add to Longdo] |
JASRAC | [ジャスラック, jasurakku] (n) Japanese Society for Rights of Authors, Composers and Publishers; JASRAC [Add to Longdo] |
お婆はる | [おばはる, obaharu] (v5r) (sl) to shamelessly demand one's rights [Add to Longdo] |
アニマルライツ;アニマルライト | [animaruraitsu ; animaruraito] (n) animal rights [Add to Longdo] |
カナダ人権憲章 | [カナダじんけんけんしょう, kanada jinkenkenshou] (n) Canadian Charter of Rights and Freedoms [Add to Longdo] |
コンシューマリズム | [konshu-marizumu] (n) (See 消費者主権) advocacy of consumer rights (product safety, accurate labelling, etc.); consumer activism; consumer advocacy; consumerism (in the original sense) [Add to Longdo] |
タラ戦争;鱈戦争 | [タラせんそう(タラ戦争);たらせんそう(鱈戦争), tara sensou ( tara sensou ); tarasensou ( tara sensou )] (n) Cod Wars (conflicts between the United Kingdom and Iceland regarding fishing rights (1958, 1971, 1975)) [Add to Longdo] |
ペンクラブ | [penkurabu] (n) PEN club; club for poets, play-wrights, essayists, editors, novelists; (P) [Add to Longdo] |
ライトサイジング | [raitosaijingu] (n) { comp } rightsizing [Add to Longdo] |
リプロダクティブライツ | [ripurodakuteiburaitsu] (n) reproductive rights [Add to Longdo] |
委付 | [いふ, ifu] (n, vs) abandonment (rights, property) [Add to Longdo] |
運動家 | [うんどうか, undouka] (n) (1) activist (in a political movement); crusader (e.g. for women's rights); (2) athlete [Add to Longdo] |
運動者 | [うんどうしゃ, undousha] (n) activist (in a political movement); crusader (e.g. for women's rights) [Add to Longdo] |
家族法 | [かぞくほう, kazokuhou] (n) law governing rights within families [Add to Longdo] |
家付きの娘 | [いえつきのむすめ, ietsukinomusume] (n) daughter of the home; unmarried woman who owns (the future rights to) a home [Add to Longdo] |
家付き娘;家付娘 | [いえつきむすめ, ietsukimusume] (n) daughter of the home; unmarried woman who owns (the future rights to) a home [Add to Longdo] |
基本的人権 | [きほんてきじんけん, kihontekijinken] (n) fundamental human rights [Add to Longdo] |
既得権 | [きとくけん, kitokuken] (n) vested rights; (P) [Add to Longdo] |
救済機関 | [きゅうさいきかん, kyuusaikikan] (n) (See 人権救済機関) aid agency; rescue organization; organization to monitor human rights [Add to Longdo] |
漁業権 | [ぎょぎょうけん, gyogyouken] (n) fishing rights [Add to Longdo] |
享持 | [きょうじ, kyouji] (n) securing rights and profits [Add to Longdo] |
興行権 | [こうぎょうけん, kougyouken] (n) promotional or production rights [Add to Longdo] |
空中権 | [くうちゅうけん, kuuchuuken] (n) air rights [Add to Longdo] |
決議権 | [けつぎけん, ketsugiken] (n) voting rights [Add to Longdo] |
嫌煙権 | [けんえんけん, ken'enken] (n) non-smokers' rights [Add to Longdo] |
憲法上の権利 | [けんぽうじょうのけんり, kenpoujounokenri] (n) constitutional right; constitutional rights [Add to Longdo] |
権原 | [けんげん, kengen] (n) origin of rights [Add to Longdo] |
権利と自由のカナダ憲章 | [けんりとじゆうのカナダけんしょう, kenritojiyuuno kanada kenshou] (n) Canadian Charter of Rights and Freedoms [Add to Longdo] |
権利を棄てる | [けんりをすてる, kenriwosuteru] (exp, v1) to abandon one's rights [Add to Longdo] |
権利章典 | [けんりしょうてん, kenrishouten] (n) Bill of Rights [Add to Longdo] |
権利譲渡 | [けんりじょうと, kenrijouto] (n) transfer of rights; demise; quitclaim deed [Add to Longdo] |
権利付き | [けんりつき, kenritsuki] (n) cum rights [Add to Longdo] |
権利落ち | [けんりおち, kenriochi] (n) ex rights [Add to Longdo] |
戸主権 | [こしゅけん, koshuken] (n) rights accruing to the head of a household (according to laws now obsolete) [Add to Longdo] |
御家騒動;お家騒動 | [おいえそうどう, oiesoudou] (n) family trouble (quarrel); domestic squabble; internal squabble (over headship rights) in a daimyo family in the Edo period [Add to Longdo] |
公権 | [こうけん, kouken] (n) civil rights [Add to Longdo] |
公衆送信権 | [こうしゅうそうしんけん, koushuusoushinken] (n) public transmission rights (e.g. putting copyrightable material on the WWW or an FTP server) [Add to Longdo] |
公民権 | [こうみんけん, kouminken] (n) civil rights; franchise; citizenship; (P) [Add to Longdo] |
公民権運動 | [こうみんけんうんどう, kouminken'undou] (n) civil rights movement (esp. American) [Add to Longdo] |
公民権法 | [こうみんけんほう, kouminkenhou] (n) Civil Rights Act (US) [Add to Longdo] |
工業所有権 | [こうぎょうしょゆうけん, kougyoushoyuuken] (n) (rights to) industrial property [Add to Longdo] |
国権 | [こっけん, kokken] (n) power of the state; national sovereignty; sovereign rights; (P) [Add to Longdo] |
国際人権規約 | [こくさいじんけんきやく, kokusaijinkenkiyaku] (n) (1) International Covenants on Human Rights; ICCPR; (2) International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights; ICESCR [Add to Longdo] |
国際連合人権委員会 | [こくさいれんごうじんけんいいんかい, kokusairengoujinken'iinkai] (n) (obsc) (See 国連人権委員会) United Nations Commission on Human Rights [Add to Longdo] |
国政調査権 | [こくせいちょうさけん, kokuseichousaken] (n) parliamentary investigation rights [Add to Longdo] |
国連規約人権委員会 | [こくれんきやくじんけんいいんかい, kokurenkiyakujinken'iinkai] (n) United Nations Human Rights Council; UNCHR [Add to Longdo] |