judder | การสั่นกระตุก [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
resonance | การสั่นพ้อง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
resonance | การสั่นพ้อง, การกำธร [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
resonance, vocal | การสั่นพ้องเสียงพูด, การกำธรเสียงพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vocal resonance | การสั่นพ้องเสียงพูด, การกำธรเสียงพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
flutter | การสั่นระรัว, การเต้นระรัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
fremitus | การสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
shimmy | การสั่นแกว่ง [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
damped vibration | การสั่นแบบหน่วง [ มีความหมายเหมือนกับ damped oscillation ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
flicker | การสั่นไหว [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Vibration | การสั่นสะเทือน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mechanical vibration | การสั่นสะเทือนเชิงกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Ventricular fibrillation | การสั่นของหัวใจห้องล่าง [TU Subject Heading] |
Vibration | การสั่นสะเทือน [TU Subject Heading] |
Brain, Pulsation of | การสั่นสะเทือนของสมอง, การสั่นสะเทือนของสมอง [การแพทย์] |
Chill | การสั่น, หนาวสั่น, หนาวสะท้าน [การแพทย์] |
Chill, Zinc | การสั่นแบบได้รับสังกะสี [การแพทย์] |
Convulsions, Generalized | การสั่นกระตุกเห็นได้ชัดเจน [การแพทย์] |
Fluid Thrill | การสั่นสะเทือนของสารน้ำการสั่นสะเทือนของของเหลว [การแพทย์] |
resonance | การสั่นพ้อง, เรโซแนนซ์, ปรากฎการณ์เมื่อระบบถูกทำให้สั่นด้วยความถี่เท่ากับความถี่ธรรมชาติของระบบเองแล้ว การสั่นนั้นจะสั่นได้รุนแรงหรือมีช่วงกว้างของการสั่นกว้างมากที่สุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
amplify | (แอม' พลิไฟ) vt. ขยายใหญ่ขึ้น, ขยายความ, ขยายความถี่ของการสั่นสะเทือน |
concussion | (คันคัส'เชิน) n. การสั่นสะเทือน, การปะทะอย่างแรง, การกระเทือนที่เกิดจากการกระทบกระแทก, ภาวะสมองไขสันหลัง หรืออื่น ๆ ถูกกระทบอย่างแรง., See also: concussant adj. ดูconcussion concussive adj. ดูconcussion, Syn. shaking, shoc |
convulsion | (คันวัล'เชิน) n.อาการชักกระตุก, การหดเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง, การสั่นอย่างรุนแรง, การหัวเราะท้องแข็ง, Syn. fit, spasm, tremor |
delirium tremens | (-ทรี'เมนซฺ) n. อาการกระสับกระส่ายอย่างรุนแรงเนื่องจากพิษสุราเรื้อรัง, มีอาการสั่นอาการประสาทหลอน |
dither | (ดิธ'เธอะ) n. การสั่น, การสั่นสะเทือน, ความตื่นเต้น, ความกลัว. vi. สั่น, สั่นสะเทือน |
hz | ย่อมาจาก hertz เป็นหน่วยวัดการสั่นสะเทือนของกระแสไฟฟ้าที่ใช้จำนวนมาก ๆ เพื่อวัดความเร็วของการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์อีกทีหนึ่ง 1 เฮิร์ทซ์ เท่ากับ 1 รอบต่อวินาที เมื่อวัดกันในขนาดจำนวนมากจริง ๆ จึงใช้หน่วยใหญ่ที่เรียกว่า เมกะเฮิร์ทซ์ (megahertz) ใช้ตัวย่อว่า MHz ไมโครคอมพิวเตอร์ปัจจุบันจะทำงานด้วยความเร็วประมาณ 25 - 60 เมกะเฮิร์ทซ์ |
jar | (จาร์) { jarred, jarring, jars } n. กระปุก, ขวดปากกว้าง, เหยือก, โอ่ง, ไห, โถ, เสียงสั่นสะเทือนระคายหู, การสั่นสะเทือน, อาการช็อค, ความไม่เห็นด้วย v. สั่นสะเทือน, ขัดแย้ง, ชนโครม, ไม่เห็นด้วย, See also: jaringly adv. ดูjar, Syn. vibrate |
jolt | (โจลทฺ) { jolted, jolting, jolts } vt., vi., n. (การ) กระทุ้ง, กระแทก, เขย่า, ทำให้สั่นไหว, ทำให้ส่าย, ต่อยจนมึน, ทำให้งงงวย, บุกรุก, ทำให้วุ่นวาย, สิ่งที่ทำให้เกิดการสั่นไหว, ความพ่ายแพ้อย่างกะทันหัน, การปฏิเสธอย่างกะทันหัน., See also: jolter n. ดูjolt joltingl |
oscillation | (ออสซะเล'เชิน) n. การแกว่ง, การส่าย, การสั่น, การรัว, ความลังเลใจ, Syn. vibration, vacillation |
palpitation | (แพลพิเท'เชิน) n. การเต้น, การสั่น, การสั่นระรัว, การสั่นรัว |
convulsion | (n) อาการชัก, อาการสั่น, อาการหดเกร็ง, อาการบิดเบี้ยว |
damper | (n) สิ่งที่ทำให้ชื้น, เครื่องลดการสั่นสะเทือน, เครื่องบรรเทา |
jolt | (n) อาการกระตุก, การเขย่า, การกระแทก, การสั่นไหว, การส่าย |
oscillation | (n) การกวัดแกว่ง, การสั่น, การส่าย, ความลังเล |
palpitation | (n) การสั่น, การเต้นระริก, การสั่นระรัว |
pulsation | (n) การเต้น, การสั่น, ชีพจร, จังหวะ, ความสะเทือน |
quiver | (n) แล่ง, กระบอกใส่ลูกศร, การสั่น, การสั่นเทา |
reverberation | (n) เสียงก้อง, การสะท้อนกลับ, การสั่นสะเทือน |
shiver | (n) การสั่นเทา, การสั่น, ตัวสั่น |
tinkle | (n) เสียงกรุ๊งกริ๊ง, เสียงก๋องแก๋ง, การสั่น(กระดิ่ง) |