17 ผลลัพธ์ สำหรับ กุญชร
หรือค้นหา: -กุญชร-, *กุญชร*
เนื่องจากผลลัพธ์มีน้อย ระบบจึงเปลี่ยนคำค้นเป็น *กุญชร*

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กุญชร(กุนชอน) น. ช้าง.
กุญชรเกษมน. ชื่อเพลงระบำสำหรับช้าง ใช้ในการแสดงโขนตอนพระคเณศเสียงา.
มุนิกุญชรน. นามพระพุทธเจ้า.
เศวตกุญชร(สะเหฺวดกุนชอน) น. ช้างเผือก.
จัตุลังคบาท(จัดตุลังคะบาด) น. จตุลังคบาท เช่น จัตุลังคบาทบริรักษ พิทักษ์เท้ากุญชร (ตะเลงพ่าย).
ดั้น ๒น. ชื่อโคลงประเภทหนึ่ง เรียกว่า โคลงดั้น เช่น โคลงดั้นบาทกุญชร โคลงดั้นวิวิธมาลี และชื่อร่ายประเภทหนึ่ง เรียกว่า ร่ายดั้น.
(รอ) พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เรียกว่า รอ เรือ เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากนหรือแม่กน เช่น การ วาร, เมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่น แต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีพยางค์อื่นตาม พยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียงประสมสระ ออ และตัว ร ออกเสียง ระ เช่น จรลี (จอ-ระ-ลี) หรดี (หอ-ระ-ดี).
ละครดึกดำบรรพ์น. ละครแบบหนึ่ง ดำเนินเรื่องรวดเร็ว มีการตกแต่งฉากที่คล้ายของจริง ไม่มีบทบรรยายฉาก บรรยายกิริยาอาการของตัวละคร ตัวละครร้องและเจรจาบทของตนเอง และใช้ดนตรีที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เรียกว่า วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ เรื่องที่แสดง เช่น อิเหนา คาวี สังข์ศิลป์ชัย, ชื่อดึกดำบรรพ์มาจากชื่อโรงละครของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร).

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
มุนิกุญชร(n) name of the lord Buddha, See also: Buddha, Thai Definition: นามของพระพุทธเจ้า

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กุญชร(กุนชอน) น. ช้าง.
กุญชรเกษมน. ชื่อเพลงระบำสำหรับช้าง ใช้ในการแสดงโขนตอนพระคเณศเสียงา.
มุนิกุญชรน. นามพระพุทธเจ้า.
เศวตกุญชร(สะเหฺวดกุนชอน) น. ช้างเผือก.
จัตุลังคบาท(จัดตุลังคะบาด) น. จตุลังคบาท เช่น จัตุลังคบาทบริรักษ พิทักษ์เท้ากุญชร (ตะเลงพ่าย).
ดั้น ๒น. ชื่อโคลงประเภทหนึ่ง เรียกว่า โคลงดั้น เช่น โคลงดั้นบาทกุญชร โคลงดั้นวิวิธมาลี และชื่อร่ายประเภทหนึ่ง เรียกว่า ร่ายดั้น.
(รอ) พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เรียกว่า รอ เรือ เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากนหรือแม่กน เช่น การ วาร, เมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่น แต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีพยางค์อื่นตาม พยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียงประสมสระ ออ และตัว ร ออกเสียง ระ เช่น จรลี (จอ-ระ-ลี) หรดี (หอ-ระ-ดี).
ละครดึกดำบรรพ์น. ละครแบบหนึ่ง ดำเนินเรื่องรวดเร็ว มีการตกแต่งฉากที่คล้ายของจริง ไม่มีบทบรรยายฉาก บรรยายกิริยาอาการของตัวละคร ตัวละครร้องและเจรจาบทของตนเอง และใช้ดนตรีที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เรียกว่า วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ เรื่องที่แสดง เช่น อิเหนา คาวี สังข์ศิลป์ชัย, ชื่อดึกดำบรรพ์มาจากชื่อโรงละครของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร).

Time: 0.0226 seconds, cache age: 0 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/