คำแหง | (-แหงฺ) ว. กำแหง, แข็งแรง, กล้าแข็ง, เข้มแข็ง. |
ชำนิ ๑ | ก. ขี่ เช่น ชำนิโคคำแหงแรง. (ข. ชิะ). น. พาหนะ เช่น ย่อมอัษฎคชำนวยพงศ์ ควรเปนชำนิผจง แก่นฤบดีดีจริง (สมุทรโฆษ). |
ท่อ ๒ | ก. ตี เช่น ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดมาท่อเมืองตาก (จารึกพ่อขุนรามคำแหง). |
ทั้งกลม | ว. ทั้งปวง, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, เช่น พี่กูตายจึงได้เมืองแก่กูทั้งกลม (จารึกพ่อขุนรามคำแหง) |
พระ | อิสริยยศเจ้านาย เช่น พระรามคำแหง พระนเรศวร พระเทียรราชา |
เสียงเลื้อน | น. เสียงอ่านหรือสวดทำนองเสนาะ เช่น เสียงเลื้อนเสียงขับ (จารึกพ่อขุนรามคำแหง). |
โอย ๒ | ก. อวย, ให้, เช่น คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน (จารึกพ่อขุนรามคำแหง หลักที่ ๑ ด้านที่ ๒). |
คำแหง | (-แหงฺ) ว. กำแหง, แข็งแรง, กล้าแข็ง, เข้มแข็ง. |
ชำนิ ๑ | ก. ขี่ เช่น ชำนิโคคำแหงแรง. (ข. ชิะ). น. พาหนะ เช่น ย่อมอัษฎคชำนวยพงศ์ ควรเปนชำนิผจง แก่นฤบดีดีจริง (สมุทรโฆษ). |
ท่อ ๒ | ก. ตี เช่น ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดมาท่อเมืองตาก (จารึกพ่อขุนรามคำแหง). |
ทั้งกลม | ว. ทั้งปวง, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, เช่น พี่กูตายจึงได้เมืองแก่กูทั้งกลม (จารึกพ่อขุนรามคำแหง) |
พระ | อิสริยยศเจ้านาย เช่น พระรามคำแหง พระนเรศวร พระเทียรราชา |
เสียงเลื้อน | น. เสียงอ่านหรือสวดทำนองเสนาะ เช่น เสียงเลื้อนเสียงขับ (จารึกพ่อขุนรามคำแหง). |
โอย ๒ | ก. อวย, ให้, เช่น คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน (จารึกพ่อขุนรามคำแหง หลักที่ ๑ ด้านที่ ๒). |