ช ๒ | ในภาษาบาลีและสันสกฤต ถ้าใช้ประกอบท้ายคำบางคำ แปลว่า เกิด เช่น บงกช ว่า เกิดในเปือกตม หมายถึง บัว, วาริช ว่า เกิดในน้ำ หมายถึง ปลา, ทวิช ว่า เกิด ๒ ครั้ง หมายถึง พราหมณ์, นก. |
กัมพุช ๒ | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร, ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเถา. |
นาคราช ๒ | น. ชื่อเฟินหลายชนิดในสกุล Davallia วงศ์ Davalliaceae ลำต้นสีนํ้าตาลแซมดำเป็นเกล็ดคล้ายเกล็ดงู ใช้ทำยาได้ เช่น ชนิด D. denticulata (Burm.f.) Mett. ex Kuhn. |
บวช ๒ | ก. หลอก, ล่อลวง, ทำอุบายให้หลงเชื่อ, เช่น ถูกเขาบวชเช้าบวชเย็นรํ่าไป (อิเหนา ร. ๕). |
ภุช ๒, ภุชะ | (พุด, พุชะ) ก. กิน. |
รัช ๒, รัช- | (รัดชะ-) น. ความเป็นพระราชา, ราชสมบัติ. |
ราช ๒ | น. สมณศักดิ์พระราชาคณะ สูงกว่าชั้นสามัญตํ่ากว่าชั้นเทพ เรียกว่า ชั้นราช เช่น พระราชสุธี พระราชโมลี. |
วัช ๒, วัช-, วัชชะ ๑ | (วัดชะ-) น. สิ่งที่ควรละทิ้ง |
วัช ๒, วัช-, วัชชะ ๑ | โทษ, ความผิด. |
วิรัช ๒ | ว. ต่างประเทศ. |
กลียุคศักราช | น. ศักราชที่เริ่มตั้งก่อนพุทธศักราช ๒๕๕๘ ปี (กลียุคศักราชลบด้วย ๒๕๕๘ เท่ากับพุทธศักราช). |
นาคราช ๑ | ชื่อเพลงไทย อัตราชั้นเดียว เรียกว่า ไส้เดือนฉกจวัก, เมื่อแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา ๒ ชั้น เรียกว่า นาคราช ๒ ชั้นหรือนาคราชแผ่พังพาน เมื่อแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา ๓ ชั้น เรียกว่า นาคราชแผลงฤทธิ์หรือไส้พระจันทร์ เมื่อนำมาทำเป็นเพลงเถา เรียกว่า ไส้พระจันทร์ เถา หรือนาคราชแผลงฤทธิ์ เถา. |
รัชชูปการ | น. เงินช่วยราชการตามที่กำหนดเรียกเก็บจากชายฉกรรจ์ที่มีอายุตั้งแต่ ๑๘-๖๐ ปีที่มิได้รับราชการทหารหรือได้รับการยกเว้นเป็นรายบุคคล เริ่มในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชบัญญัติลักษณะการเก็บเงินรัชชูปการ พุทธศักราช ๒๔๖๒). |
รัชชูปการ | (-ปะ-) ดู รัช ๒, รัช-. |
รัตนโกสินทรศก | (รัดตะนะโกสินสก) น. ปีนับตั้งแต่วันตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ เริ่มตั้งภายหลังพุทธศักราช ๒๓๒๔ ปี (พุทธศักราชลบด้วย ๒๓๒๔ เท่ากับรัตนโกสินทรศก). |
สังฆนายก | น. ตำแหน่งหัวหน้าคณะสังฆมนตรีตามพระราช-บัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔. |
สังฆมนตรี | น. ตำแหน่งพระเถระผู้รับผิดชอบในองค์การปกครองของคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ เช่น สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง. |
สังฆสภา | น. สภาของคณะสงฆ์ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔. |
สังฆาณัติ | น. กฎข้อบังคับของคณะสงฆ์ ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงบัญญัติขึ้นโดยคำแนะนำของสังฆสภาตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔. |
กัมพุช ๒ | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร, ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเถา. |
ช ๒ | ในภาษาบาลีและสันสกฤต ถ้าใช้ประกอบท้ายคำบางคำ แปลว่า เกิด เช่น บงกช ว่า เกิดในเปือกตม หมายถึง บัว, วาริช ว่า เกิดในน้ำ หมายถึง ปลา, ทวิช ว่า เกิด ๒ ครั้ง หมายถึง พราหมณ์, นก. |
นาคราช ๒ | น. ชื่อเฟินหลายชนิดในสกุล Davallia วงศ์ Davalliaceae ลำต้นสีนํ้าตาลแซมดำเป็นเกล็ดคล้ายเกล็ดงู ใช้ทำยาได้ เช่น ชนิด D. denticulata (Burm.f.) Mett. ex Kuhn. |
บวช ๒ | ก. หลอก, ล่อลวง, ทำอุบายให้หลงเชื่อ, เช่น ถูกเขาบวชเช้าบวชเย็นรํ่าไป (อิเหนา ร. ๕). |
ภุช ๒, ภุชะ | (พุด, พุชะ) ก. กิน. |
รัช ๒, รัช- | (รัดชะ-) น. ความเป็นพระราชา, ราชสมบัติ. |
ราช ๒ | น. สมณศักดิ์พระราชาคณะ สูงกว่าชั้นสามัญตํ่ากว่าชั้นเทพ เรียกว่า ชั้นราช เช่น พระราชสุธี พระราชโมลี. |
วัช ๒, วัช-, วัชชะ ๑ | (วัดชะ-) น. สิ่งที่ควรละทิ้ง |
วัช ๒, วัช-, วัชชะ ๑ | โทษ, ความผิด. |
วิรัช ๒ | ว. ต่างประเทศ. |
กลียุคศักราช | น. ศักราชที่เริ่มตั้งก่อนพุทธศักราช ๒๕๕๘ ปี (กลียุคศักราชลบด้วย ๒๕๕๘ เท่ากับพุทธศักราช). |
นาคราช ๑ | ชื่อเพลงไทย อัตราชั้นเดียว เรียกว่า ไส้เดือนฉกจวัก, เมื่อแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา ๒ ชั้น เรียกว่า นาคราช ๒ ชั้นหรือนาคราชแผ่พังพาน เมื่อแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา ๓ ชั้น เรียกว่า นาคราชแผลงฤทธิ์หรือไส้พระจันทร์ เมื่อนำมาทำเป็นเพลงเถา เรียกว่า ไส้พระจันทร์ เถา หรือนาคราชแผลงฤทธิ์ เถา. |
รัชชูปการ | น. เงินช่วยราชการตามที่กำหนดเรียกเก็บจากชายฉกรรจ์ที่มีอายุตั้งแต่ ๑๘-๖๐ ปีที่มิได้รับราชการทหารหรือได้รับการยกเว้นเป็นรายบุคคล เริ่มในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชบัญญัติลักษณะการเก็บเงินรัชชูปการ พุทธศักราช ๒๔๖๒). |
รัชชูปการ | (-ปะ-) ดู รัช ๒, รัช-. |
รัตนโกสินทรศก | (รัดตะนะโกสินสก) น. ปีนับตั้งแต่วันตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ เริ่มตั้งภายหลังพุทธศักราช ๒๓๒๔ ปี (พุทธศักราชลบด้วย ๒๓๒๔ เท่ากับรัตนโกสินทรศก). |
สังฆนายก | น. ตำแหน่งหัวหน้าคณะสังฆมนตรีตามพระราช-บัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔. |
สังฆมนตรี | น. ตำแหน่งพระเถระผู้รับผิดชอบในองค์การปกครองของคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ เช่น สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง. |
สังฆสภา | น. สภาของคณะสงฆ์ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔. |
สังฆาณัติ | น. กฎข้อบังคับของคณะสงฆ์ ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงบัญญัติขึ้นโดยคำแนะนำของสังฆสภาตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔. |