ตระลาการ | (ตฺระ-) น. ตำแหน่งเจ้าพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ศาล มีหน้าที่ชำระชี้ขาดข้อเท็จจริงในคดีความ เช่น ให้ผู้เปนตระลาการไต่สวนผู้เปนสักขิญานรู้เหน (สามดวง), กระลาการ ก็เรียก. |
กฎหมาย | ออกหมายกำหนด เช่น ให้มหาดไทยกลาโหมกฎหมายบอกแก่ตระลาการ ถ้ากฎหมายมิทั่ว จะเอาตัวผู้กฎหมายลงโทษ (พระราชกำหนดเก่า) |
กระ ๔ | ใช้เป็นพยางค์หน้า (๑) ซึ่งเดิมเป็น ก กำ กุ ข ต ส เช่น กบิล-กระบิล, กำแพง-กระแพง, กุฎี-กระฎี, ขจัด-กระจัด, ตวัด-กระหวัด, สะท้อน-กระท้อน. (๒) โบราณใช้แทน ตระ เช่น ตระกูล-กระกูล, ตระลาการ-กระลาการ. (อัยการเบ็ดเสร็จ). (๓) เติมหน้าคำโดยไม่มีความหมายก็มี เช่น ซุ้ม-กระซุ้ม, โดด-กระโดด, พุ่ม-กระพุ่ม, ยาจก-กระยาจก, เติมให้มีความหมายแน่นแฟ้นขึ้นก็มี เช่น ทำ-กระทำ, ทุ้ง-กระทุ้ง, เสือกสน-กระเสือกกระสน. (๔) ยํ้าหน้าคำอันขึ้นต้นด้วย ก ในบทกลอน คือ กระกรี๊ด กระกรุ่น กระกลับกลอก กระเกริ่น กระเกรียม กระเกรียว กระเกรี้ยว กระเกริก. (๕) นอกนี้เป็น กระ มาแต่เดิม เช่น กระทรวง กระบือ. |
กระลาการ | ดู ตระลาการ. |
ลูกขุน ณ ศาลหลวง, ลูกขุนศาลหลวง | น. คณะผู้พิพากษามีหน้าที่ตัดสินคดี โดยชี้ขาดข้อกฎหมาย หลังจากที่ตระลาการพิจารณาคดีชี้ขาดข้อเท็จจริงแล้ว, บางทีเขียนเป็น ลูกขุน ณ สานหลวง หรือ ลูกขุน ณ สารหลวง ก็มี. |
ตระลาการ | (ตฺระ-) น. ตำแหน่งเจ้าพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ศาล มีหน้าที่ชำระชี้ขาดข้อเท็จจริงในคดีความ เช่น ให้ผู้เปนตระลาการไต่สวนผู้เปนสักขิญานรู้เหน (สามดวง), กระลาการ ก็เรียก. |
กฎหมาย | ออกหมายกำหนด เช่น ให้มหาดไทยกลาโหมกฎหมายบอกแก่ตระลาการ ถ้ากฎหมายมิทั่ว จะเอาตัวผู้กฎหมายลงโทษ (พระราชกำหนดเก่า) |
กระ ๔ | ใช้เป็นพยางค์หน้า (๑) ซึ่งเดิมเป็น ก กำ กุ ข ต ส เช่น กบิล-กระบิล, กำแพง-กระแพง, กุฎี-กระฎี, ขจัด-กระจัด, ตวัด-กระหวัด, สะท้อน-กระท้อน. (๒) โบราณใช้แทน ตระ เช่น ตระกูล-กระกูล, ตระลาการ-กระลาการ. (อัยการเบ็ดเสร็จ). (๓) เติมหน้าคำโดยไม่มีความหมายก็มี เช่น ซุ้ม-กระซุ้ม, โดด-กระโดด, พุ่ม-กระพุ่ม, ยาจก-กระยาจก, เติมให้มีความหมายแน่นแฟ้นขึ้นก็มี เช่น ทำ-กระทำ, ทุ้ง-กระทุ้ง, เสือกสน-กระเสือกกระสน. (๔) ยํ้าหน้าคำอันขึ้นต้นด้วย ก ในบทกลอน คือ กระกรี๊ด กระกรุ่น กระกลับกลอก กระเกริ่น กระเกรียม กระเกรียว กระเกรี้ยว กระเกริก. (๕) นอกนี้เป็น กระ มาแต่เดิม เช่น กระทรวง กระบือ. |
กระลาการ | ดู ตระลาการ. |
ลูกขุน ณ ศาลหลวง, ลูกขุนศาลหลวง | น. คณะผู้พิพากษามีหน้าที่ตัดสินคดี โดยชี้ขาดข้อกฎหมาย หลังจากที่ตระลาการพิจารณาคดีชี้ขาดข้อเท็จจริงแล้ว, บางทีเขียนเป็น ลูกขุน ณ สานหลวง หรือ ลูกขุน ณ สารหลวง ก็มี. |