Cercariae | ตัวอ่อนพยาธิใบไม้ระยะเซอร์คาเรีย [TU Subject Heading] |
Larvae | ตัวอ่อน [TU Subject Heading] |
Blastocyst | ตัวอ่อนซึ่งเป็นระยะก่อนที่จะฝังตัวกับมดลูก, Example: โดยประกอบด้วยเซลล์ประมาณ 150 เซลล์ ซึ่งเกิดจากการแบ่งตัวหลังจากการปฏิสนธิ บลาสโตซิสต์จะมีลักษณะเป็นทรงกลมและประกอบด้วยโครงสร้างสามส่วน ซึ่งได้แก่ โทรโฟบลาส (Trophoblast) เป็นโครงสร้างชั้นนอกสุดของเซลล์ บลาสโตซีล (Blastocoel) เป็นโครงสร้างชั้นในมีลักษณะเป็นช่องกลวง และมวลเซลล์ชั้นใน (Inner Cell Mass) เป็นกลุ่มเซลล์ซึ่งอยู่ที่ปลายด้านหนึ่งของบลาสโตซีล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Eggs, Embryonated | ตัวอ่อนระยะแรกซึ่งเจริญเต็มที่อยู่ภายในไข่, ไข่ซึ่งมีตัวอ่อนอยู่ภายใน, ไข่ฟัก, ไข่ฟักที่มีตัวอ่อน [การแพทย์] |
Filariform Larva | ตัวอ่อนระยะที่3 [การแพทย์] |
human embryos | human embryos, ตัวอ่อนมนุษย์ [ชีวจริยธรรม] |
larva | ตัวอ่อน, สัตว์ในระยะแรกที่ออกจากไข่ของสัตว์ซึ่งเจริญแบบมีเมทามอร์โฟซิส ตัวอ่อนจะมีรูปร่างลักษณะแตกต่างไปจากเมื่อโตเต็มวัย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
embryo | เอ็มบริโอ, ตัวอ่อนหรือต้นอ่อนของสิ่งมีชีวิตในระยะนับต่อจากไซโกตไปจนคลอด หรือออกจากไข่ หรือระยะงอกออกจากเมล็ดพืช [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Grub | ตัวอ่อนของด้วง [การแพทย์] |
Larva | ตัวอ่อน, ลูกน้ำ, พยาธิตัวอ่อน, ระยะตัวอ่อนของแมลง [การแพทย์] |
hatchling | (n) ตัวอ่อนที่พึ่งฟักออกจากไข่ เช่น นก, สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ, ปลา และสัตว์เลื้อยคลาน, ลูกเจี๊ยบ |
stonefly | (n, name) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: plecoptera |
aardwolf | (n) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ออกหากินเวลากลางคืน อาศัยอยู่ในที่ราบตอนใต้ของแอฟริกา กินปลวกและแมลงตัวอ่อนเป็นอาหาร เป็นสัตว์ตระกูลเดียวกับไฮยีน่า |
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
aphidlion | (เอฟิดไล'อัน) n. ตัวอ่อนหรือปรสิตบนตัว aphid |
arehenteron | (อาร์คเอน'เทอรอน) n. โพรงย่อยอาหารเริ่มแรกของตัวอ่อน. -archenteronic adj. (primitive enteron) |
callow | (แคล'โล) adj. ไร้ประสบการณ์, อ่อนหัด, ยังบินไม่ได้ (นกตัวอ่อน) , ต่ำและเปียกชื้น n. สนามที่ต่ำและเปียกชื้น, Syn. youthful |
celom | n. ช่องในตัวอ่อน, ช่องในร่างกายระหว่างผนังร่างกายกับลำไส้ |
chigger | n. ตัวอ่อน 6 ขาของเห็บ |
chorion | (โค'รีออน) n. เยื้อหุ้มทารก (ตัวอ่อน), See also: chorionic adj. ดูchorion chorial adj. ดูchorion |
coelom | n. ช่องในตัวอ่อน, ช่องในร่างกายระหว่างผนังร่างกายกับลำไส้ |
coelome | n. ช่องในตัวอ่อน, ช่องในร่างกายระหว่างผนังร่างกายกับลำไส้ |
ectoderm | (เอค'ทะเดิร์ม) n. เยื่อชั้นนอกของเซลล์ของตัวอ่อน (embryo), See also: ectodermal, ectodermic adj. |
ectogony | (เอค'โทโกนี) n. อิทธิพลของตัวอ่อนที่มีต่อมารดา |
embryo | (adj) อยู่ในขั้นต้น, อยู่ในระยะเริ่มแรก, ที่ยังเป็นตัวอ่อน |
embryo | (n) ทารกในครรภ์, ตัวอ่อน, ขั้นต้น, ระยะเริ่มแรก |
embryonic | (adj) ในขั้นต้น, เป็นตัวอ่อน, เพิ่งเริ่มก่อตัว, ยังไม่โต, เริ่มแรก |
larva | (n) หนอนแมลง, ดักแด้, ตัวอ่อน |
larval | (adj) เกี่ยวกับหนอนแมลง, เกี่ยวกับตัวอ่อน |
maggot | (n) ตัวหนอน, ตัวอ่อนของแมลง |