ธรรมารมณ์ | (ทำมา-) น. อารมณ์ที่ใจรู้, อารมณ์ที่เกิดทางใจ. |
ธรรมารมณ์ | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมายตนะ | (ทำมายะตะนะ) น. แดนที่ต่อคือธรรมารมณ์, แดนที่ต่อกับใจ ได้แก่อารมณ์ที่ใจรู้ หรือเรื่องที่ใจรู้. |
มนินทรีย์ | น. ใจซึ่งเป็นใหญ่ในการรับรู้ธรรมารมณ์ คือ อารมณ์ที่เกิดทางใจ. |
อายตนะ | (-ยะตะนะ) น. เครื่องรู้และสิ่งที่รู้ เช่น ตาเป็นเครื่องรู้ รูปเป็นสิ่งที่รู้, ในพระพุทธศาสนาหมายถึง จักษุ โสต ฆาน ชิวหา กาย ใจ เรียกว่า อายตนะภายใน เป็นเครื่องติดต่อกับอายตนะภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์. |
อินทรียสังวร | น. ความสำรวมอินทรีย์ ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้ยินดียินร้ายในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส ถูกต้องโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ. |
ธรรมารมณ์ | (ทำมา-) น. อารมณ์ที่ใจรู้, อารมณ์ที่เกิดทางใจ. |
ธรรมารมณ์ | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมายตนะ | (ทำมายะตะนะ) น. แดนที่ต่อคือธรรมารมณ์, แดนที่ต่อกับใจ ได้แก่อารมณ์ที่ใจรู้ หรือเรื่องที่ใจรู้. |
มนินทรีย์ | น. ใจซึ่งเป็นใหญ่ในการรับรู้ธรรมารมณ์ คือ อารมณ์ที่เกิดทางใจ. |
อายตนะ | (-ยะตะนะ) น. เครื่องรู้และสิ่งที่รู้ เช่น ตาเป็นเครื่องรู้ รูปเป็นสิ่งที่รู้, ในพระพุทธศาสนาหมายถึง จักษุ โสต ฆาน ชิวหา กาย ใจ เรียกว่า อายตนะภายใน เป็นเครื่องติดต่อกับอายตนะภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์. |
อินทรียสังวร | น. ความสำรวมอินทรีย์ ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้ยินดียินร้ายในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส ถูกต้องโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ. |