ธัมมัสสวนมัย | (ทำมัดสะวะนะไม) ว. สำเร็จด้วยการฟังธรรมศึกษาหาความรู้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. |
ธัมมัสสวนมัย | ดู ธัมม-, ธัมมะ. |
ทิฏฐุชุกรรม | น. การทำความเห็นให้ตรง คือ เห็นถูกทาง เช่น เห็นว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว (เป็นข้อหนึ่งในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย ปัตติทานมัย ปัตตานุโมทนามัย ธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย ทิฏฐุชุกรรม). |
บุญกิริยาวัตถุ | (บุนยะ-) น. ที่ตั้งแห่งการทำบุญ, เรื่องที่จัดเป็นการทำความดี, หลักการทำความดี, ทางทำความดี, มี ๑๐ ข้อ คือ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย ปัตติทานมัย ปัตตานุโมทนามัย ธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย ทิฏฐุชุ-กรรม, โดยย่อมี ๓ ข้อ ได้แก่ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย. |
ธัมมัสสวนมัย | (ทำมัดสะวะนะไม) ว. สำเร็จด้วยการฟังธรรมศึกษาหาความรู้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. |
ธัมมัสสวนมัย | ดู ธัมม-, ธัมมะ. |
ทิฏฐุชุกรรม | น. การทำความเห็นให้ตรง คือ เห็นถูกทาง เช่น เห็นว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว (เป็นข้อหนึ่งในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย ปัตติทานมัย ปัตตานุโมทนามัย ธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย ทิฏฐุชุกรรม). |
บุญกิริยาวัตถุ | (บุนยะ-) น. ที่ตั้งแห่งการทำบุญ, เรื่องที่จัดเป็นการทำความดี, หลักการทำความดี, ทางทำความดี, มี ๑๐ ข้อ คือ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย ปัตติทานมัย ปัตตานุโมทนามัย ธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย ทิฏฐุชุ-กรรม, โดยย่อมี ๓ ข้อ ได้แก่ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย. |