นันททายี | (นันทะ-) น. ชื่อโคลงโบราณอย่างหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ บาท บาทละ ๗ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๒ คำ บังคับสัมผัสคำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๔ ของบาทที่ ๒ และคำที่ ๔ ของบาทที่ ๓ คำที่ ๗ ของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ไม่บังคับตำแหน่งคำเอกคำโท เช่น พระสุริยทรงเดช เสด็จฉาย หาวหนพรายพรายเรือง รุ่งเร้า ปทุมิกรผายกลีบ รสคลี่ เฉกพระพุทธเจ้า เตือนโลก, คู่กับ มหานันททายี. |
มหานันททายี | น. ชื่อโคลงโบราณอย่างหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ บาท ๓ บาทแรก บาทละ ๗ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๒ คำ บาทที่ ๔ มี ๙ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๔ คำ บังคับสัมผัสคำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๔ ของบาทที่ ๒ และคำที่ ๔ ของบาทที่ ๓ คำที่ ๗ ของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ไม่บังคับตำแหน่งคำเอกคำโท เช่น คู่กับ นันททายี. |
นันททายี | (นันทะ-) น. ชื่อโคลงโบราณอย่างหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ บาท บาทละ ๗ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๒ คำ บังคับสัมผัสคำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๔ ของบาทที่ ๒ และคำที่ ๔ ของบาทที่ ๓ คำที่ ๗ ของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ไม่บังคับตำแหน่งคำเอกคำโท เช่น พระสุริยทรงเดช เสด็จฉาย หาวหนพรายพรายเรือง รุ่งเร้า ปทุมิกรผายกลีบ รสคลี่ เฉกพระพุทธเจ้า เตือนโลก, คู่กับ มหานันททายี. |
มหานันททายี | น. ชื่อโคลงโบราณอย่างหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ บาท ๓ บาทแรก บาทละ ๗ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๒ คำ บาทที่ ๔ มี ๙ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๔ คำ บังคับสัมผัสคำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๔ ของบาทที่ ๒ และคำที่ ๔ ของบาทที่ ๓ คำที่ ๗ ของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ไม่บังคับตำแหน่งคำเอกคำโท เช่น คู่กับ นันททายี. |