บทดอกสร้อย | น. ชื่อกลอนแบบหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ คำกลอน วรรคที่ ๑ มี ๔ คำ มี เอ๋ย เป็นคำที่ ๒ และจบบทด้วยคำว่า เอย เช่น แมวเอ๋ยแมวเหมียว...คอยดูอย่างไว้ใส่ใจเอย, ดอกสร้อย ก็ว่า. |
กลอน ๒ | (กฺลอน) น. คำประพันธ์ซึ่งแต่เดิมเรียกคำเรียงที่มีสัมผัสทั่วไป จะเป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ หรือร่าย ก็ตาม เช่นในคำว่า ชุมนุมตำรากลอน, ครั้นเรียกเฉพาะคำประพันธ์เฉพาะอย่างเป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ ร่าย แล้ว คำประพันธ์นอกนี้อีกอย่างหนึ่งจึงเรียกว่า กลอน เป็นลำนำสำหรับขับร้องบ้าง คือ บทละคร สักวา เสภา บทดอกสร้อย, เป็นเพลงสำหรับอ่านบ้าง คือ กลอนเพลงยาว หรือ กลอนตลาด. |
ดอกสร้อย ๒ | น. ชื่อกลอนแบบหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ คำกลอน วรรคที่ ๑ มี ๔ คำ มี เอ๋ย เป็นคำที่ ๒ และจบบทด้วยคำว่า เอย เช่น แมวเอ๋ยแมวเหมียว...คอยดูอย่างไว้ใส่ใจเอย, บทดอกสร้อย ก็ว่า. |
ตะบม | ว. รํ่าไป, ไม่หยุดหย่อน, เช่น ฝีพายลงเต็มลำจ้ำตะบม (บทดอกสร้อย). |
ตุ๊ดตู่ ๔ | น. ชื่อสัตว์ชนิดหนึ่ง เช่น ในบทดอกสร้อยสุภาษิตว่า “ตุ๊ดเอ๋ยตุ๊ดตู่ ในเรี่ยวในรูช่างอยู่ได้...”. |
ลำนำ | น. บทกลอนที่ใช้ขับร้อง ได้แก่ บทละคร สักวา เสภา บทดอกสร้อย. |
เอย ๒, เอ่ย ๑ | คำกล่าวประกอบหลังชื่อ เป็นเชิงปรารภเป็นต้น หรือลงท้ายคำกลอน เช่น แม่เอย แกอย่ามาห้ามข้า ตัวของลูกยาก็ไม่ฟัง (มโนห์รา), เจ้ามัทรีเจ้ามาไยเวลาปานฉะนี้ พระน้องเอ่ย ผิดเวลากาล (ม. ร่ายยาว กุมาร), ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมลฑล และทิ้งตนตัวเปลี่ยวอยู่เดียวเอย (บทดอกสร้อย). |
เอ๋ย | คำที่ใช้ในตอนขึ้นต้นคำกลอนหรือบทดอกสร้อย เช่น กาเอ๋ยกาดำ รถเอ๋ยรถทรง. |
บทดอกสร้อย | น. ชื่อกลอนแบบหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ คำกลอน วรรคที่ ๑ มี ๔ คำ มี เอ๋ย เป็นคำที่ ๒ และจบบทด้วยคำว่า เอย เช่น แมวเอ๋ยแมวเหมียว...คอยดูอย่างไว้ใส่ใจเอย, ดอกสร้อย ก็ว่า. |
กลอน ๒ | (กฺลอน) น. คำประพันธ์ซึ่งแต่เดิมเรียกคำเรียงที่มีสัมผัสทั่วไป จะเป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ หรือร่าย ก็ตาม เช่นในคำว่า ชุมนุมตำรากลอน, ครั้นเรียกเฉพาะคำประพันธ์เฉพาะอย่างเป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ ร่าย แล้ว คำประพันธ์นอกนี้อีกอย่างหนึ่งจึงเรียกว่า กลอน เป็นลำนำสำหรับขับร้องบ้าง คือ บทละคร สักวา เสภา บทดอกสร้อย, เป็นเพลงสำหรับอ่านบ้าง คือ กลอนเพลงยาว หรือ กลอนตลาด. |
ดอกสร้อย ๒ | น. ชื่อกลอนแบบหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ คำกลอน วรรคที่ ๑ มี ๔ คำ มี เอ๋ย เป็นคำที่ ๒ และจบบทด้วยคำว่า เอย เช่น แมวเอ๋ยแมวเหมียว...คอยดูอย่างไว้ใส่ใจเอย, บทดอกสร้อย ก็ว่า. |
ตะบม | ว. รํ่าไป, ไม่หยุดหย่อน, เช่น ฝีพายลงเต็มลำจ้ำตะบม (บทดอกสร้อย). |
ตุ๊ดตู่ ๔ | น. ชื่อสัตว์ชนิดหนึ่ง เช่น ในบทดอกสร้อยสุภาษิตว่า “ตุ๊ดเอ๋ยตุ๊ดตู่ ในเรี่ยวในรูช่างอยู่ได้...”. |
ลำนำ | น. บทกลอนที่ใช้ขับร้อง ได้แก่ บทละคร สักวา เสภา บทดอกสร้อย. |
เอย ๒, เอ่ย ๑ | คำกล่าวประกอบหลังชื่อ เป็นเชิงปรารภเป็นต้น หรือลงท้ายคำกลอน เช่น แม่เอย แกอย่ามาห้ามข้า ตัวของลูกยาก็ไม่ฟัง (มโนห์รา), เจ้ามัทรีเจ้ามาไยเวลาปานฉะนี้ พระน้องเอ่ย ผิดเวลากาล (ม. ร่ายยาว กุมาร), ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมลฑล และทิ้งตนตัวเปลี่ยวอยู่เดียวเอย (บทดอกสร้อย). |
เอ๋ย | คำที่ใช้ในตอนขึ้นต้นคำกลอนหรือบทดอกสร้อย เช่น กาเอ๋ยกาดำ รถเอ๋ยรถทรง. |